SI ในชีวิตประจำวันของเด็ก


บันทึกนี้เขียนขึ้นเพื่อให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและครูที่ต้องการพัฒนาศักยภาพและความสามารถทางการเรียนของเด็กปฐมวัย

ปกติระบบประสาทการรับความรู้สึกของเราทุกคน มีการทำงานอยู่ตลอดเวลาของการทำกิจกรรมการดำเนินชีวิต

บันทึกนี้ผมอยากยกตัวอย่างการทำงานปกติของระบบประสาทการประสมประสานการรับความรู้สึกในเด็กทั่วไป ได้แก่

1. เด็กทำงานบ้าน เดินไปหยิบไม้กวาดมาช่วยคุณพ่อคุณแม่กวาดใบไม้ในสวน 

  • เริ่มต้นจากการหันศรีษะเพื่อมองเห็นไม้กวาด มีสัญญาณให้เห็น รับรู้ และแปลผลว่าเป็นไม้กวาด จากนั้นสมองสั่งการกระตุ้นให้ร่างกายเคลื่อนไหวเดินไปหยิบไม้กวาดหลังจากมองเห็นและประมวลผล เกิดการประสมประสานระบบข้อต่อและระบบการทรงท่า ให้มีการเริ่มเคลื่อนไหวขาทั้งสองข้างก้าวไปหยิบไม้กวาดพร้อมระบบการมองเห็น จากนั้นการทำงานระดับสมองที่สูงขึ้นมีการรวบรวมคำสั่งจากระบบอื่นๆ เช่น ระบบการวางแผนการเคลื่อนไหว ระบบความรู้ความเข้าใจของจิตสังคม (รับผิดชอบช่วยพ่อแม่) และระบบการทำงานอย่างต่อเนื่องมากขึ้น ที่ประสานงานกับทักษะอารมณ์และการเรียนรู้ว่าจะนำไม้กวาดมาทำอย่างไร เพื่อให้ใบไม้และสวนดูเรียบร้อยขึ้น

2. จากตัวอย่างข้างต้น หากเด็กเกิดความรู้สึกเบื่อและหิวอาหาร สมองควบคุมอารมณ์และความรู้สึกหิวจากลิ้น การรับรส การมองเห็นเป้าหมายที่รับรู้ว่า อยากทำอาหารในห้องครัว มีการปรับเปลี่ยนระบบการสั่งการจากสมองให้เคลื่อนไหวไปยังสิ่งแวดล้อมและการประกอบกิจกรรมอื่นๆ เช่น การใช้ระบบการมองเห็น ระบบข้อต่อ ระบบการรับรส ระบบการทรงท่า ในการหยิบผักและเครื่องครัวต่างๆ ช่วยคุณแม่ทำอาหารในครัว

3. จากตัวอย่างข้อ 2 เมื่อเด็กกินอาหารตามที่ต้องการและพอใจแล้ว เมื่อพักจนระบบการย่อยอาหารทำงานไป มีการเผาผลาญพลังงานอย่างสมบูรณ์ จากนั้นเด็กน้อยต้องการเล่นและออกกำลังกายกลางสนามเด็กเล่น ซึ่งจะมีการสั่งการจากสมองให้รับรู้ว่าต้องการเล่นและออกกำลังกายอย่างไรบ้าง ประสบการณ์การเรียนรู้ผ่านรูปแบบการออกกำลังกายหรือการเล่นที่ผ่านมา ทำให้เกิดความทรงจำที่ส่งตรงลงมาจากสมองที่ควบคุมระบบการวางแผนการเคลื่อนไหวที่ต่อเนื่องและมีจังหวะที่เร็วขึ้นอย่างเป็นธรรมชาติ การรับความรู้สึกผ่านจังหวะของการเคลื่อนไหวที่ต่อเนื่องและการเปลี่ยนเล่นหรือออกกำลังกายด้วยความหนักเบาสลับกัน ทำให้เกิดระบบการประสมประสานการรับความรู้สึกแตกต่างกันในแต่ละช่วง มีการทำงานของระบบการมองเห็นอุปกรณ์เครื่องเล่น ระบบสัมผัสอุปกรณ์เครื่องเล่น ระบบการทรงท่าและทรงตัวบนอุปกรณ์เครื่องเล่น ระบบการได้ยินเสียงเด็กคนอื่นๆ ที่เล่นด้วยกัน ระบบการเคลื่อนไหวข้อต่อในหลายรูปแบบพร้อมๆกับการมองเห็นแบบตั้งใจ มองเห็นแบบเคยชิน มองเห็นแบบเรียนรู้จากประสบการณ์ จากนั้นการประสมประสานระบบการรับความรู้สึกเหล่านี้ส่งเสริมพัฒนาการความรู้ความเข้าใจ อารมณ์สังคม และสติปัญญา ให้เข้าใจสภาพร่างกายของตนเองขณะเล่น เรียนรู้การเล่นกับคนอื่น เกิดความเชื่อมั่นและสนุกสานในการออกกำลังกายและการเล่น

หลายคนคงสนใจว่า Sensory Integration (SI) คืออะไร ทำไมศูนย์พัฒนาการหรือคลินิกกิจกรรมบำบัดหลายแห่งนิยมนำ SI Therapy มาแก้ไขปัญหาด้านพฤติกรรม การเรียน สังคมและการรับรู้ของเด็กพิเศษ ท้ายบันทึกผมจะขอยกเนื้อหาจากหลายๆ เวปไซด์มาให้ผู้สนใจได้เรียนรู้และสืบค้นกันต่อไปครับ

Occupationalperformance and sensory integration therapy: preliminary findings ofa rating scale

Veronica Steer

This article is derived from a paper presented at the 5th State Conference of OT Australia AAOT-SA, Adelaide, SA (October, 1996)

VeronicaSteer, BAppSc(OT), has a private practice in Adelaide, SouthAustralia and is a member of the Sensory Integration Faculty(OTAustralia).

อ่านเพิ่มเติมที่ http://www.occupationalperformance.com/index.php/au/home/opm_book/occupational_performance_and_sensory_integration_therapy_preliminary_findings_of_a_rating_scale

 

What is Sensory Integration Therapy?

If children are experiencing a sensory integrative dysfunction, the next logical question is "how can we treat the problem?" Sensory integration therapy (SIT) is a treatment approach, originally developed by Jean Ayres (1972) that aims to provide the child with graded sensory experiences. These experiences are matched during therapy with a "just right" challenge, an activity that requires the child to give an adaptive response. It is typically carried out by an occupational therapist who has training and expertise in sensory integration. SIT is an active therapy. The child must be motivated by and engaged in the activities; hence, play is the medium of choice. Activities usually involve the use of large pieces of equipment such as big rolls and balls, trampolines, swinging hammocks, which provide intense proprioceptive, vestibular and tactile experiences. The child is encouraged to explore the equipment and the therapist sets up the activities and the environment to challenge the child to use his/her sensory input to organize an adaptive response. This form of SIT is now referred to as "classical" SIT (Parham & Mailloux, 2005). It typically involves one-to-one direct intervention in an environment that has a variety of specialized equipment.

 

Occupational therapists may use other forms of intervention which are based on sensory integration theory, but which differ from these classical methods. Some therapists, for example, use a sensory integration framework to help explain children's behaviour or to work with parents and school personnel to adapt the child's environment in ways that will facilitate the child's ability to participate. This approach may include modifications to the child's clothing, altering room configurations, noise or light levels, or experimenting with food textures. Other methods may be more direct, including those developed by Wilbarger (1995) that promote the use of a specific type of sensory input to reduce hypersensitivity. Williams and Shellenberger (1996) developed a program that combines a cognitive-behavioural approach with sensory integration to help children to learn to regulate their behaviour. These approaches are designed to help children function to the best of their ability given their sensory processing capabilities as opposed to trying to change their underlying neurological functioning. In this way, they are distinct from classical SIT.

อ่านเพิ่มเติมที่ http://www.canchild.ca/Default.aspx?tabid=1237

SI to schools, home, and business 

Collecting Data for the Sensory Processing Measure (SPM)

Lessons Learned
By Diana A. Henry, MS, OTR/L

Administrators in U.S. public school systems are increasingly requiring evidence-based interventions, based on the No Child Left Behind Act of 2001, as well as the 2004 re-authorization of the Individuals with Disabilities Education Act (IDEA). Generating and using evidence is also an essential component of the American Occupational Therapy AssociationCentennial Vision.

As a pediatric occupational therapy practitioner in the trenches in a school or a clinic, you are probably excited about contributing to and participating in research through active data collection. Although data collection is extremely rewarding, it does have some challenges. In this article I present issues to ponder so you can be successful, and contribute to evidence-based practice (EBP).

อ่านเพิ่มเติมที่ http://www.henryot.com/articles.asp

Researching the Effectiveness of Sensory Integration

Lucy Jane Miller, Ph.D., OTR, and Moya Kinnealey, Ph.D., OTR/L

Characteristics Of SI Procedures
Discriminating Sensory Stimulation From Sensory Integration In Therapy
Understanding And Describing the Sample
Defining And Controlling The Approach
Choosing An Appropriate Design
Interpreting The Results
Building An Empirical Consensus Based On Collective Research
References

Sensory integration has provided the profession of occupational therapy with more research studies than any other theory or treatment approach. Although there are some methodological concerns which need to be addressed over the next decades, it is remarkable that in the short time since the development of sensory integration theory and treatment, so many research projects have been implemented and reported. This article provides a brief overview of issues germane to evaluating sensory integration efficacy research.

อ่านเพิ่มเติมที่  http://www.spdnetwork.org/research/effectiveness.html

 

Sensory Integration Dysfunction (SID, also called sensory processing disorder) is a neurological disorder causing difficulties with processing information from the five classic senses (vision, auditory, touch, olfaction, and taste), the sense of movement (vestibular system), and/or the positional sense (proprioception).

For those with SID, sensory information is sensed normally, but perceived abnormally. This is not the same as blindness or deafness, because, unlike those disorders, sensory information is sensed by people with SID, but the information tends to be analyzed by the brain in an unusual way that may cause distress or confusion.

SID can be a disorder on its own, but it can also be a characteristic of other neurological conditions, including autism spectrum disorders, attention deficit disorder, dyslexia, Developmental Dyspraxia, Tourette's Syndrome, multiple sclerosis, and speech delays, among many others.

อ่านเพิ่มเติมที่ http://en.wikipedia.org/wiki/Sensory_Integration_Dysfunction

 

หมายเลขบันทึก: 168628เขียนเมื่อ 2 มีนาคม 2008 14:17 น. ()แก้ไขเมื่อ 19 มิถุนายน 2012 15:24 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (7)

สวัสดีคะ Dr. POP

อยากทราบว่า vestibular system มันไปกระตุ้นภาษาอย่างไรคะ

ระบบของ Vestibular system ทำงานระหว่างตัวรับสัญญาณภายในหูชั้นในร่วมกับ Auditory system และบริเวณการรับและแปลข้อมูลตรงบริเวณ Temporal lobe ของสมอง ซึ่งใกล้เคียงกับบริเวณที่มีการทำงานในเรื่องภาษาครับ ดังนั้นหากมีปัญหาที่ Vestibular system ก็มักส่งผลกระทบต่อกระบวนการนึกคิดหรือความเข้าใจในการสื่อสารจนถึงการแสดงคำพูดหรือท่าทางการสื่อสารครับ

ขอบคุณคะ วันนี้ขอถามอีกคำถามคะ

ระบบเวสติบูล่า กระตุ้น eye contact ได้มั้ยคะ ถ้าได้แล้วมันมากระตุ้นให้เกิดได้อย่างไร

ปล.ขอบคุณล่วงหน้าคะ

เกือบลืมคะ อีกข้อหนึ่ง ระบบtactile ส่งผลต่ออารมณ์อย่างไรคะ

ขอบคุณสองคำถามจากคุณโรมิโอครับ

1. Vestibular system กระตุ้น eye movement ผ่านสัญญาณ Vestibulo-ocular reflex โดยอ่านเพิ่มเติม http://en.wikipedia.org/wiki/Vestibulo-ocular_reflex

ส่วน eye contact นั้นน่าจะเกี่ยวข้องกับระดับความตื่นตัวและการรับรู้จากสมองที่เรียกว่า Reticular formation และ Visual perception โดยอ่านเพิ่มเติมจาก http://en.wikipedia.org/wiki/Reticular_formation และ http://en.wikipedia.org/wiki/Visual_perception ตามลำดับ

2. Tactile system อาจไม่ส่งผลต่ออารมณ์ได้โดยตรง แต่น่าจะเกิดจากความผิดปกติของการรับความรู้สึกที่มากหรือน้อยเกินไปทางด้านสัมผัส (Tactile) ร่วมกับด้านข้อต่อในภาวะนิ่งและเคลื่อนไหว (Proprioceptive-kinesthetic) และอื่นๆ ที่เรียกรวมว่า Sensory defensiveness ซึ่งกลไกที่ส่งผลต่ออารมณ์คงต้องอธิบายด้วยทฤษฎีเกี่ยวกับการประสมประสานการรับความรู้สึก หรือ sensory integration theory ด้วย (อ่านเพิ่มเติมที่ http://en.wikipedia.org/wiki/Sensory_defensiveness และ http://en.wikipedia.org/wiki/Sensory_integration)

สวัวดีครับ...คุณAjarn Pop พอดีผมทำวิทยานิพนธ์เกี่ยวกับการกระตุ้นพัฒนาการเด็กพิการครับ อยากได้ความช่วยเหลือด้านแหล่งข้อมูลงานวิจัยทางด้านนี้ครับ รบกวนตอบกลับมาที่ี[email protected] ขอบพระคุณเป็นอย่างยิ่งครับ

ยินดีครับคุณฉลองรัตน์

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท