สรุป รายงานการไปราชการ ประชุมตัวบ่งชี้คุณภาพห้องสมุดอุดมศึกษา


ณ มหาวิทยาลัยทักษิณ จ.สงขลา ระหว่างวันที่ ๑๘ – ๑๙ ตุลาคม ๒๕๕๐

                        เช้าวันที่สอง คณะทำงานประชุมกันต่อจากเมื่อวาน โดยมีประเด็นที่ปรับแก้ไขแต่ยังไม่แล้วเสร็จดังนี้คือ

สรุป การประชุมตัวบ่งชี้คุณภาพห้องสมุดอุดมศึกษาณ มหาวิทยาลัยทักษิณ จ.สงขลา ระหว่างวันที่ ๑๘ – ๑๙ ตุลาคม ๒๕๕๐

การจัดกลุ่มตัวบ่งชี้คุณภาพห้องสมุดอุดมศึกษา เป็น  ๖ ตัวบ่งชี้หลัก คือ

๑.      การบริการห้องสมุด

๒.      ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

๓.      การบริหารจัดการ

๔.      เครือข่ายความร่วมมือในการใช้ทรัพยากรร่วมกัน

๕.      การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

๖.      การบริการทางวิชาการและวิชาชีพ

ด้านการบริการห้องสมุด ประกอบด้วย

๑.      การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ

๑)      งบประมาณในการจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศ

๒.      การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ

๑)      เวลาเฉลี่ยในการเตรียมทรัพยากรสารสนเทศ

๒)      ศักยภาพระบบฐานข้อมูลที่ห้องสมุดพัฒนา

๓.      การบริการสารสนเทศ

๑)     ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ต่อบริการของห้องสมุด(LibQual)

๑)     ทรัพยากรสารสนเทศ

๒)     กระบวนการให้บริการ

๓)     ผู้ให้บริการ(ความรู้,จิตบริการ)

๔)     สถานที่/สิ่งอำนวยความสะดวก

๕)     ประชาสัมพันธ์

๒)      ร้อยละของข้อร้องเรียนที่ได้รับการแก้ไข

๓)     ปริมาณการใช้ทรัพยากรสารสนเทศ (เฉพาะยืมคืน)

๑)  จำนวนครั้งที่ยืม/จำนวนผู้ใช้

๒)  จำนวนครั้งที่ยืม/จำนวนทรัพยากรที่มี

๔)     ปริมาณการใช้ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์

๕)     จำนวนการบริการแบบเบ็ดเสร็จในขั้นตอนเดียว

๖)      จำนวนบริการเชิงรุก-(กำหนดกิจกรรมไว้ด้วย)

๗)      จำนวนบริการอิเล็กทรอนิกส์เพื่อ อำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้บริการ

๘)      ค่าใช้จ่ายของการบริการห้องสมุด ต่อนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า

๔.      การพัฒนาศักยภาพของผู้ใช้บริการ

๑)     ร้อยละของผู้ใช้บริการที่เข้าร่วม กิจกรรมส่งเสริมการรู้สารสนเทศ

๒)      ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม

ด้านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบด้วย

๑.      ประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์และระบบเครือข่าย(กระบวนการ)

๒.      จำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ต่อผู้ใช้บริการ

ด้าน การบริหารจัดการประกอบด้วย

๑.       แผนกลยุทธ์/แผนปฏิบัติการ (มีการเพิ่มตัวบ่งชี้ ร้อยละของความสำเร็จตามแผนกลยุทธ์)

๒.      งบประมาณ

๓.      การพัฒนาบุคลากร

๑)      ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนา

๒)      ร้อยละของงบประมาณพัฒนาบุคลากร ต่องบดำเนินการห้องสมุด

๔.       การพัฒนาสถานที่ห้องสมุดให้มีบรรยากาศเอื้อต่อการเรียนรู้

๑)      การพัฒนาสถานที่เชิญชวนให้ใช้บริการ

๒)     การจัดการด้านความปลอดภัย สุขอนามัย และสิ่งแวดล้อม

๕.      การลดขั้นตอนในการทำงาน

๖.       การจัดการความรู้

๗.      ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

๘.      การประชาสัมพันธ์

๙.      การวิจัย

๑๐.  การประกันคุณภาพ

๑๑. ประสิทธิภาพการบริหารจัดการ (ประเมิน)

๑)     4.11.1 ภาวะผู้นำ

๒)     4.11.2 การพัฒนาบุคลากร

๓)     4.11.3 การสื่อสารภายในองค์การ

ด้าน เครือข่ายความร่วมมือในการใช้ทรัพยากรร่วมกัน ประกอบด้วย

๑)     มุ่งการใช้ทรัพยากรร่วมกัน

ด้าน จำนวนกิจกรรมที่ให้บริการวิชาการแก่ชุมชนประกอบด้วย

๑)     การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

ด้าน การบริการทางวิชาการและวิชาชีพประกอบด้วย

๑)     จำนวนกิจกรรมที่ให้บริการวิชาการแก่ชุมชน

๒)     ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ

หมายเลขบันทึก: 140011เขียนเมื่อ 19 ตุลาคม 2007 10:37 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 มิถุนายน 2012 13:12 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

     จากการที่ ม.เรา มียุทธศาสตร์ที่มุ่งเน้นการวิจัย แต่ไม่ทราบว่า ม.เรา มีการ research เกี่ยวกับ "การใช้ทรัพยากรของสำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยนเรศวร เพื่อการวิจัย ทั้งเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ"  โดยตรงรึเปล่าคะ  และทรัพยากรที่มีทั้งหมดในปัจจุบัน สนับสนุนงานวิจัยได้เพียงใด เพื่อหาโอกาสในการเพิ่มทุนพัฒนาทรัพยากรให้เหมาะสม และบริการได้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ของสถาบัน 

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท