สบายสบาย
สบายสบาย ศูนย์ การเรียนรู้คลองขลุง จ.กำแพงเพชร

ผลวิเคราะห์น้ำสกัดชีวภาพ


น้ำสกัดชีวภาพ

ตัวอย่าง ผลวิเคราะห์น้ำสกัดชีวภาพ

ตารางที่ 1 แสดงการตรวจสอบคุณสมบัติต่าง ๆ ของตัวอย่างน้ำสกัดชีวภาพ

รายละเอียด

ตัวอย่าง 1

ตัวอย่าง 2

ความเป็นกรด ด่าง (pH)

3.92

4.060

ค่าการนำไฟฟ้า (มิลลิโมล/ซม.)

3.66

79.500

เปอร์เซ็นต์ไนโตรเจน

0.2055

3.1766

เปอร์เซ็นต์ฟอสฟอรัส

0.0274

0.0329

เปอร์เซ็นต์โปแตสเซียม

0.699

1.0337

เปอร์เซ็นต์อินทรีย์คาร์บอน

15.1828

8.4550

อัตราส่วนคาร์บอนต่อไนโตรเจน

74.00

3.00

ที่มา : กลุ่มงานวิจัยปุ๋ย กองปฐมพีวิทยา กรมวิชาการเกษตร, 2542

ตารางที่ 2 แสดงการตรวจสอบธาตุอาหารในน้ำสกัดชีวภาพ

ตัวอย่างที่

ปริมาณธาตุอาหาร

% ไนโตรเจน

% ฟอสฟอรัส

% โปแตสเซียม

ค่าการนำไฟฟ้า

1

0.91

0.04

0.78

39.3

2

0.86

0.18

0.78

23.2

3

0.70

0.11

0.22

13.2

4

0.68

0.11

0.22

13.2

ที่มา : กลุ่มอินทรีย์วัตถุและวัสดุเหลือใช้ กองอนุรักษ์ดินและน้ำ กรมพัฒนาที่ดิน, 2542

                    จากข้อมูลในตารางข้างต้น ได้แสดงให้เห็นว่าปุ๋ยน้ำตัวอย่างที่ 1 มีปริมาณธาตุอาหารหลักคือ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โปแตสเซียมอยู่น้อยมาก ซึ่งวัสดุที่เป็นปุ๋ยอินทรีย์ที่ดีควรจะมีอัตราส่วนระหว่างธาตุไนโตรเจน : ฟอสฟอรัส : โปแตสเซียม ตั้งแต่ 1 : 1 : 0.5 ขึ้นไป ปุ๋ยน้ำตัวอย่างที่ 2 มีปริมาณธาตุอาหารอยู่ในระดับพอใช้ได้แต่มีค่าการนำไฟฟ้า (EC) ที่บอกถึงความเค็มอยู่สูงมากซึ่งโดยทั่วไปแล้วค่านี้ไม่ควรจะเกิน
2 มิลลิโมล ดังนั้นจึงมีการแนะนำให้ผสมน้ำในอัตราส่วนที่ค่อนข้างสูงก่อนนำไปใช้เพื่อลดอัตราความเค็มนั่นเอง

                    จากการวิเคราะห์ปริมาณธาตุอาหารของน้ำสกัดชีวภาพที่มีจำหน่ายทั่วไป 4 ตัวอย่าง โดยกลุ่มอินทรีย์วัตถุและวัสดุเหลือใช้ กองอนุรักษ์ดินและน้ำ กรมพัฒนาที่ดิน พบว่ามีปริมาณธาตุอาหารดังนี้

ตารางที่ 3 ผลการวิเคราะห์น้ำหมักจากหอยเชอรี่/พืช

ชนิดน้ำหมัก

pH

EC

%N

P2O2

%K2O

กรด

อินทรีย์

วัตถุ

ฮิวมิคแอซิค

1. น้ำหมักจากตัวหอยเชอรี่พร้อมเปลือก

4.9

17,350

0.84

-

1.67

3.07

15.13

2. น้ำหมักจากไข่หอยเชอรี่

4.6

17,020

1.23

0.06

1.66

4.45

26.51

3. น้ำหมักจากไข่หอยเชอรี่และพืชสด

4.3

16,110

0.87

0.9

1.68

4.47

26.67

4. น้ำหมักจากไข่และเนื้อหอยเชอรี่

4.3

12,280

1.62

0.64

2.04

4.31

20.44

5. น้ำหมักจากหอยเชอรี่และพืชสด

4.2

15,510

0.74

0.33

1.83

3.57

30.68

 

N = ไนโตรเจน  K2O = โปแตสเซียม
P2O2 = ฟอสฟอรัส ค่า EC = ความเข้มข้นของน้ำหมักหรือค่าแลกเปลี่ยนประจุไฟฟ้า

คำสำคัญ (Tags): #โรงน้ำปลาปัญญา
หมายเลขบันทึก: 133783เขียนเมื่อ 1 ตุลาคม 2007 20:43 น. ()แก้ไขเมื่อ 10 มิถุนายน 2012 20:42 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท