โครงการพัฒนาผู้นำและผู้บริหารมืออาชีพของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์


ผมอยากให้การเรียนรู้ไม่ได้จบแค่ในห้องเรียนเท่านั้น แต่อยากให้ทุกคนเป็นบุคคลที่เรียนรู้ตลอดชีวิต
1 สิงหาคม 2550

<p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal">สวัสดีครับชาว Blog และลูกศิษย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ทุกท่าน             </p><p>ผมรู้สึกเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่ได้รับมอบหมายภารกิจสำคัญ คือ เป็นผู้จัดโครงการพัฒนาภาวะผู้นำและผู้บริหารมืออาชีพของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์  ซึ่งเป็นครั้งแรกที่ผมได้จัดโครงการพัฒนาผู้นำและผู้บริหารมืออาชีพของกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ครับ ก่อนอื่น ผมขอชื่นชม วิสัยทัศน์ของผู้บริหารของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์  ที่ได้เล็งเห็น และให้ความสำคัญในเรื่องของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์กร ซึ่งสังเกตได้จากในวันพิธีเปิดโครงการได้รับเกียรติจาก ท่านรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์  กล่าวเปิดงาน และกล่าวปาฐกถา เรื่อง วิสัยทัศน์ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์กับการปฏิรูประบบราชการและกำหนดยุทธศาสตร์เชิงรุกสำหรับรุ่นนี้เป็นรุ่นแรกของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์  ที่เข้ารับการเรียนรู้ ในโครงการนี้   ดังนั้น ผมจึงอยากให้ทั้ง 63 คนนี้  มีความตั้งใจที่จะเรียนรู้  และมีทัศนคติในการแสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่อง  สามารถนำความรู้ที่ได้ไปเผยแพร่ต่อไป  โดยเฉพาะอย่างยิ่งผมหวังว่าทั้ง 63 ท่าน จะเป็นผู้นำ และผู้บริหารมืออาชีพ ที่สามารถขับเคลื่อนองค์กรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ให้ก้าวไปข้างหน้าได้อย่างมั่นคงสุดท้ายนี้  ผมไม่อยากให้การเรียนรู้จบแต่เพียงในห้องเรียนเท่านั้น  ผมอยากให้ทุกคนเมื่อเรียนจบแล้ว มีจิตวิญญาณในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ และจะเป็นผู้จุดประกายองค์กรแห่งการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นในสังคมไทย ปล.  ผมขอให้ Blog นี้ เป็นสื่อกลางของช่องทางในการแสดงความคิดเห็น และแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างกันครับ                                               </p><p>                                        จีระ  หงส์ลดารมภ์</p><p></p><p></p><p> </p><p></p><p></p><p></p><p></p><p></p><p> </p><p></p><p></p><p></p>

หมายเลขบันทึก: 116172เขียนเมื่อ 1 สิงหาคม 2007 19:56 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 18:13 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (102)

ผลที่เกิดขึ้นกับตนเอง

1.สามารถมองเรื่อง HR ได้ลึกขึ้น ทั้งในส่วนตัว และเพื่อนร่วมงาน

2. สามารถกำหนดเป้าหมายชี้วัดเองได้ว่า จะทำอะไรในสิ่งที่สำคัญก่อน

3. ทำให้มีทักษะทางความคิด โดยมีมุมที่กว้างไกลและหลากหลาย และต้อมีกรอบความสำเร็จของงาน (ประสิทธิภาพ)

4. ทำให้รู้จักลักษณะของผู้นำที่ดี

5. ได้กรอบความคิดในการจัดนำสังคมของการเรียนรู้

ผลที่เกิดขึ้นในองค์กร

1. นำ 7 Habits นำไปปรับใช้ในการทำงานได้มากขึ้นในทุกระดับ ทั้งผู้ร่วมงาน ผู้บังคับบัญชา ทำให้ดำเนินการได้บรรลุเป้าหมาย

2. มีจริยธรรมและคุณธรรมในการปฏิบัติงานในทุก ๆ ด้าน

3. นำไปใช้พัฒนาองค์กรสู่ความสำเร็จตามเป้าหมายได้

4. มีระบบการทำงานที่ดีขึ้น

5. บุคลากรมีจิตวิญญาณในการทำงาน

6. คนในองค์กรสามารถที่ใช้ความรู้ความสามารถของตนเองในการทำงานได้อย่างเต็มที่

1. แนวทางในการพัฒนาองค์กรจากการพึ่งพาผู้อื่นไปเป็นพึ่งตนเอง และเป็นการพึ่งพาซึ่งกันและกัน จะต้องให้บุคลากรในองค์กรมีแนวคิดในการสร้างอุปนิสัย 7 ประการคือ

        1.Be  Proactive

        2. Begin with the end in mind

        3. Put first things first

        4.Think win win

        5. Seek First to be understand and then to be understood

        6.Synergie

        7. Sharpen the saw

2. ประโยชน์ต่อตนเอง

    - ได้ความรู้และแนวคิดต่าง ๆ ที่จะนำไปปรับใช้ในการพัฒนาตนเอง ให้สามารถพึ่งพาตนอง และซึ่งกันและกัน

   -  การให้ทำงานให้มีประสิทธิผลสูงขึ้น

3. ประโยชน์ต่อองค์กร

  - ถ้าองค์กรมีบุคลากรในองค์กรที่มีอุปนิสัย 7 ประการนี้ องค์กรก็จะเป็นองค์กรที่พึ่งพาตนเอง และซึ่งกันและกันได้ และสามารถอยู่ได้ในสังคมปัจจุบัน

4. แนวคิดในการบริหารองค์กรโดยใช้ทฤษฎี 3 วงกลม ซึ่งประกอบด้วย Context, Competencies,Motivation จะต้องมองภาพในองค์รวม

5. ผู้นำในปัจจุบันจะต้องรู้จักโลกกว้าง ต้องมองการเปลี่ยนแปลงของโลกเป็นอิทธิพลของกระแสโลกาภิวัตน์ ซึ่งถ้าเป็นเรื่องของ WTO ,FTA จะรู้จักวิเคราะห์ SWOT ในภาพรวมได้

 

กลุ่มที่ 1วันที่ 2 สิงหาคม 2550  คำถาม :  ได้รับประโยชน์จาการบรรยาย 7 Habits อย่างไร  - ต่อบุคคล และ ต่อองค์กร ความเห็นกลุ่ม : บุคคล  องค์กร อุปนิสัย 7 ประการของผู้มีประสิทธิผลสูง  -           เป็นข้อเท็จจริงที่ปฏิบัติได้ยาก  จำเป็นต้องมีการฝึกฝน-           ให้ข้อคิดและหลักการในการพัฒนาตนองให้ประสบความสำเร็จในการอยู่ร่วมกับสังคมทุกระดับ-           ก่อนที่จะสามารถนำผู้อื่นต้องสามารถนำตนเองได้ก่อน-           อุปนิสัยที่จำเป็นและมีผลสืบเนื่องจากตนเองถึงองค์กร คือการเป็นผู้ฟังที่ดีและยอมรับความแตกต่างของผู้ร่วมงาน         หากองค์กรมีบุคลากรที่มีอุปนิสัยทั้ง 7 ประการ จะทำให้-           องค์กรมีบุคลากรที่มีความสามารถในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิผล-           มีแผนงานและเป้าหมายที่ชัดเจนสามารถปฏิบัติได้และมีประสิทธิภาพ-           สามารถใช้ศักยภาพที่แตกต่างให้เกิดประสิทธิผลได้เต็มที่-           องค์กรมีความพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงที่มาจากปัจจัยภายในและภายนอกองค์กร  

กลุ่มที่ 1วันที่ 2 สิงหาคม 2550  คำถาม :  ได้รับประโยชน์จาการบรรยาย 7 Habits อย่างไร 

- ต่อบุคคล และ ต่อองค์กร ความเห็นกลุ่ม : บุคคล  องค์กร อุปนิสัย 7 ประการของผู้มีประสิทธิผลสูง 

-           เป็นข้อเท็จจริงที่ปฏิบัติได้ยาก  จำเป็นต้องมีการฝึกฝน

-           ให้ข้อคิดและหลักการในการพัฒนาตนองให้ประสบความสำเร็จในการอยู่ร่วมกับสังคมทุกระดับ-           ก่อนที่จะสามารถนำผู้อื่นต้องสามารถนำตนเองได้ก่อน

-           อุปนิสัยที่จำเป็นและมีผลสืบเนื่องจากตนเองถึงองค์กร คือการเป็นผู้ฟังที่ดีและยอมรับความแตกต่างของผู้ร่วมงาน         หากองค์กรมีบุคลากรที่มีอุปนิสัยทั้ง 7 ประการ จะทำให้

-           องค์กรมีบุคลากรที่มีความสามารถในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิผล

-           มีแผนงานและเป้าหมายที่ชัดเจนสามารถปฏิบัติได้และมีประสิทธิภาพ

-           สามารถใช้ศักยภาพที่แตกต่างให้เกิดประสิทธิผลได้เต็มที่

-           องค์กรมีความพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงที่มาจากปัจจัยภายในและภายนอกองค์กร  

กลุ่ม 7   เรื่อง  HR for non HR จุดแข็ง จุดอ่อนของ กษ. ตัวเอง-  ได้รับความรู้ในสิ่งที่ไม่เคยรู้มาก่อน-  สามารถไปพัฒนาตนเอง ให้มีวิสัยทัศน์กว้างขึ้น-  มีการจัดระบบความคิดมีภาวะผู้นำ-  เป็นแบบอย่างที่ดีในการทำงานและบริหารองค์กร-  เกิดแนวความคิดที่จะไปสร้างทีมในที่ทำงาน องค์กร-  สามารถสร้างเครือข่ายในการทำงานในแนวราบ ประสารงานร่วมกัน ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประเทศชาติและเกษตรกร-  เป็นจุดเริ่มต้นในการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กรและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของบุคคลในองค์กร-  ทราบถึงจุดแข็ง จุดอ่อนขององค์กร เพื่อนำไปปรับปรุงวิสัยทัศน์ เป้าหมายขององค์กร เพื่อประโยชน์สูงสุดขององค์กร-  ลดความเสี่ยงที่จะเกิดความผิดพลาด ในการดำเนินงาน 

 

กลุ่มที่ 5 เวทีเรียนรู้วันนี้ 2  สิงหาคม 2550 ประโยชน์ต่อตนเอง1.  จุดประกายให้มีแนวคิดและมีไฟในการทำงาน2.  เรียนรู้วิธีการสังเคราะห์ วิเคราะห์ เทคนิค จากวิทยากรโดยเฉพาะการมองจากภาพใหญ่ (Macro) ไปสู่ภาพเล็ก (Micro)3.  ได้รับความรู้ใหม่ ๆ เพื่อนำไปปรับใช้ในการทำงานเพื่อพัฒนาการสร้างภาวะผู้นำ เตรียมเป็นผู้บริหารมืออาชีพ ประโยชน์ต่อองค์กร 1.  องค์กรได้เตรียมบุคลากรให้มีความพร้อมในการสร้างภาวะผู้นำ เพื่อเป็นผู้บริหารมืออาชีพ2.  องค์กรได้มีการบูรณาการในการทำงาน ในทุกระดับ3.  องค์กรได้บุคลากรที่มีประสิทธิภาพและส่งผลต่อการดำเนินงานที่มีประสิทธิผล    
กลุ่ม 2   อาจารย์จีระ1.องค์กรที่ดีควรมีประกอบอะไรบ้าง1.  มีบริบทที่ดี2.  แรงจูงใจที่ดี3.  มีศักยภาพที่ดี กษ.ของเรามีจุดอ่อนตรงไหน เพื่อมาปรับในดัชนี 2. ความเปลี่ยนแปลงของโลกว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างไรแล้วเราต้องมาปรับตัวเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างไร อาจารย์อดิศัย1.  เรียนรู้ในเรื่องผู้นำที่ดี และผู้นำที่เก่ง เป็นอย่างไร2.  เรียนรู้ในเรื่องการทำงานให้ประสบผลสำเร็จได้ต้องมีความพร้อมทั้ง 4 ด้าน คือร่างกาย จิตใจ ความคิด และจิตวิญญาณ3. 7 คุณลักษณะของผู้นำที่ประสบความสำเร็จ  

กลุ่ม 4

จากการศึกษาเรื่อง 7 Habits และ 4 Roles of Leadership ทำให้ทราบถึง 7 Habits คือ

1.      Be Proactive

2.      Begin with the End in Mind

3.      Put first things first

4.      Think Win- Win

5.      Seek first to understanding , then to be understood

6.      Synergize

7.      Shapen the Saw

จาก 7 Habits ทำให้เกิด  Modelling  ซึ่งเป็นแนวทางให้เกิดเป็น

-Path Finding

- Empowering

- Aligningทำให้เกิดประโยชน์ส่วนบุคคล คือ

1.      ใช้เป็นเครื่องมือในการปรับพฤติกรรมส่วนบุคคลเพิ่มส่วนที่ขาด

2.      ตั้งเป้าหมายในการดำเนินชีวิต

3.      จัดลำดับความสำคัญในการดำเนินชีวิตทำให้เกิดประโยชน์ขององค์กร คือ

1.      ลดความขัดแย้งในการทำงานภายในองค์กร

2.      รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

3.      ประสานความต่างให้ได้ประโยชน์ร่วมกันเรื่อง HR for Non HRสามารถใช้กำหนดวิธีการเพื่อพัฒนาองค์กร

ซึ่งจากการวิเคราะห์ ทั้ง 3 วงกลมทำให้ทราบถึงศักยภาพในการพัฒนาองค์กรประโยชน์ส่วนบุคคล  ใช้วิเคราะห์ตนเองในการนำไปพัฒนาการดำเนินชีวิตประโยชน์ขององค์กร  ใช้วิเคราะห์องค์กร เพื่อพัฒนาองค์กรสู่เป้าหมายที่ต้องการ

ความคิดเห็นของกลุ่มที่ 5

สิ่งที่ได้จากเวทีเรียนรู้ ในวันที่ 3 สิงหาคม 2550

ประโยชน์ต่อตนเอง

1. ได้เรียนรู้ในเรื่องของ Effective Communication and Team Building

2.ได้เรียนรู้ถึงเทคนิค วิการในการสื่อสารและการสร้างและบริหารทีมงาน เพื่อนำไปปรับใช้ในการทำงานของตนเอง เพื่อนร่วมงานและเกษตรกร

3.ได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์ระหว่างวิทยากรและผู้เรียน เพื่อนำไปปรับใช้จริงในการทำงาน

ประโยชน์ต่อองค์กร

1.องค์กรได้บุคลากรที่มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของ Effective Communication and Team Building

2.องค์กรสามารถพัฒนาเทคนิคการสื่อสาร รวมถึงการสร้างและบริหารทีมงานให้องค์กรมีการดำเนินงานที่เกิดประโยชน์มากยิ่งขึ้น

สิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ในวันที่ 3 สิงหาคม 2550

ประโยชน์ต่อตนเอง

·       ได้เรียนรู้ในเรื่อง Effective Communication และ Team Building  

·       ได้เรียนรู้ถึง เทคนิค วิธีการในการสื่อสารและการสร้างและบริหารทีม เพื่อนำไปปรับใช้ในการทำงานของตนเอง เพื่อนร่วมงานและเกษตรกร

·       ได้มีการแลกเปลี่ยน เรื่อง Share ประสบการณ์ระหว่างวิทยากรและเพื่อน เพื่อปรับใช้กับประโยชน์ในการทำงานจริง 

ประโยชน์ต่อองค์กร

1.องค์กรได้บุคลากรที่มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของ Effective Communication และ Team Building  

2. องค์กรสามารถพัฒนาเทคนิคการสื่อสาร รวมถึงการสร้าง และบริหารทีมงานให้องค์กรมีการดำเนินงานที่เกิดประโยชน์มากยิ่งขึ้น 

สิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ในวันที่ 3 สิงหาคม 2550ประโยชน์ต่อตนเอง·       ได้เรียนรู้ในเรื่อง Effective Communication และ Team Building ·       ได้เรียนรู้ถึง เทคนิค วิธีการในการสื่อสารและการสร้างและบริหารทีม เพื่อนำไปปรับใช้ในการทำงานของตนเอง เพื่อนร่วมงานและเกษตรกร·       ได้มีการแลกเปลี่ยน เรื่อง Share ประสบการณ์ระหว่างวิทยากรและเพื่อน เพื่อปรับใช้กับประโยชน์ในการทำงานจริง ประโยชน์ต่อองค์กร1.องค์กรได้บุคลากรที่มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของ Effective Communication และ Team Building 2. องค์กรสามารถพัฒนาเทคนิคการสื่อสาร รวมถึงการสร้าง และบริหารทีมงานให้องค์กรมีการดำเนินงานที่เกิดประโยชน์มากยิ่งขึ้น 
สิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ในวันที่ 3 สิงหาคม 2550ประโยชน์ต่อตนเอง·       ได้เรียนรู้ในเรื่อง Effective Communication และ Team Building ·       ได้เรียนรู้ถึง เทคนิค วิธีการในการสื่อสารและการสร้างและบริหารทีม เพื่อนำไปปรับใช้ในการทำงานของตนเอง เพื่อนร่วมงานและเกษตรกร·       ได้มีการแลกเปลี่ยน เรื่อง Share ประสบการณ์ระหว่างวิทยากรและเพื่อน เพื่อปรับใช้กับประโยชน์ในการทำงานจริง ประโยชน์ต่อองค์กร1.องค์กรได้บุคลากรที่มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของ Effective Communication และ Team Building 2. องค์กรสามารถพัฒนาเทคนิคการสื่อสาร รวมถึงการสร้าง และบริหารทีมงานให้องค์กรมีการดำเนินงานที่เกิดประโยชน์มากยิ่งขึ้น 
กลุ่ม 2 เทคนิคการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ประโยชน์ที่ได้
  1. ทำให้ทราบเกี่ยวกับเทคนิคการสื่อสาร
  2. ทำให้ทราบเกี่ยวกับเทคนิคการใช้เครื่องมือในการสื่อสาร
  3. ทำให้ทราบเกี่ยวกับบุคคลในองค์กร ผู้บริหาร ผู้ร่วมงาน ได้เป็นอย่างดี
  4. มารยาทในการใช้เครื่องมือสื่อสารที่ดี
  5. เราสามารถมีความรู้เกี่ยวกับการประชุม สัมมนา ฝึกอบรม
 ประโยชน์ที่ได้เกี่ยวกับการสร้างและบริหารทีมงานที่ผลงานที่เป็นเป็นเลิศ1.     ทำให้รู้วิธีการทำงานเป็นทีม2.     จาการฝึกปฏิบัติทำให้สามารถมองเห็นความสำเร็จจากการทำงานเป็นทีม3.     ทำให้เกิดจิตสำนึก ตระหนักถึงรายละเอียดต่างๆ ในการทำงานเป็นทีม4.     ทำให้รู้จักการวางแผน การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าในการทำงานเป็นทีม5.     ทำให้รู้จักการใช้ความสามัคคี ในการทำงานเป็นทีม
กลุ่ม 2 เทคนิคการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ประโยชน์ที่ได้
  1. ทำให้ทราบเกี่ยวกับเทคนิคการสื่อสาร
  2. ทำให้ทราบเกี่ยวกับเทคนิคการใช้เครื่องมือในการสื่อสาร
  3. ทำให้ทราบเกี่ยวกับบุคคลในองค์กร ผู้บริหาร ผู้ร่วมงาน ได้เป็นอย่างดี
  4. มารยาทในการใช้เครื่องมือสื่อสารที่ดี
  5. เราสามารถมีความรู้เกี่ยวกับการประชุม สัมมนา ฝึกอบรม
 ประโยชน์ที่ได้เกี่ยวกับการสร้างและบริหารทีมงานที่ผลงานที่เป็นเป็นเลิศ1.     ทำให้รู้วิธีการทำงานเป็นทีม2.     จาการฝึกปฏิบัติทำให้สามารถมองเห็นความสำเร็จจากการทำงานเป็นทีม3.     ทำให้เกิดจิตสำนึก ตระหนักถึงรายละเอียดต่างๆ ในการทำงานเป็นทีม4.     ทำให้รู้จักการวางแผน การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าในการทำงานเป็นทีม5.     ทำให้รู้จักการใช้ความสามัคคี ในการทำงานเป็นทีม
กลุ่ม 2 เทคนิคการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ประโยชน์ที่ได้
  1. ทำให้ทราบเกี่ยวกับเทคนิคการสื่อสาร
  2. ทำให้ทราบเกี่ยวกับเทคนิคการใช้เครื่องมือในการสื่อสาร
  3. ทำให้ทราบเกี่ยวกับบุคคลในองค์กร ผู้บริหาร ผู้ร่วมงาน ได้เป็นอย่างดี
  4. มารยาทในการใช้เครื่องมือสื่อสารที่ดี
  5. เราสามารถมีความรู้เกี่ยวกับการประชุม สัมมนา ฝึกอบรม
 ประโยชน์ที่ได้เกี่ยวกับการสร้างและบริหารทีมงานที่ผลงานที่เป็นเป็นเลิศ1.     ทำให้รู้วิธีการทำงานเป็นทีม2.     จาการฝึกปฏิบัติทำให้สามารถมองเห็นความสำเร็จจากการทำงานเป็นทีม3.     ทำให้เกิดจิตสำนึก ตระหนักถึงรายละเอียดต่างๆ ในการทำงานเป็นทีม4.     ทำให้รู้จักการวางแผน การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าในการทำงานเป็นทีม5.     ทำให้รู้จักการใช้ความสามัคคี ในการทำงานเป็นทีม
กลุ่ม 2 เทคนิคการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ประโยชน์ที่ได้
  1. ทำให้ทราบเกี่ยวกับเทคนิคการสื่อสาร
  2. ทำให้ทราบเกี่ยวกับเทคนิคการใช้เครื่องมือในการสื่อสาร
  3. ทำให้ทราบเกี่ยวกับบุคคลในองค์กร ผู้บริหาร ผู้ร่วมงาน ได้เป็นอย่างดี
  4. มารยาทในการใช้เครื่องมือสื่อสารที่ดี
  5. เราสามารถมีความรู้เกี่ยวกับการประชุม สัมมนา ฝึกอบรม
 ประโยชน์ที่ได้เกี่ยวกับการสร้างและบริหารทีมงานที่ผลงานที่เป็นเป็นเลิศ1.     ทำให้รู้วิธีการทำงานเป็นทีม2.     จาการฝึกปฏิบัติทำให้สามารถมองเห็นความสำเร็จจากการทำงานเป็นทีม3.     ทำให้เกิดจิตสำนึก ตระหนักถึงรายละเอียดต่างๆ ในการทำงานเป็นทีม4.     ทำให้รู้จักการวางแผน การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าในการทำงานเป็นทีม5.     ทำให้รู้จักการใช้ความสามัคคี ในการทำงานเป็นทีม
สิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ในวันที่ 3 สิงหาคม 2550ประโยชน์ต่อตนเอง·       ได้เรียนรู้ในเรื่อง Effective Communication และ Team Building ·       ได้เรียนรู้ถึง เทคนิค วิธีการในการสื่อสารและการสร้างและบริหารทีม เพื่อนำไปปรับใช้ในการทำงานของตนเอง เพื่อนร่วมงานและเกษตรกร·       ได้มีการแลกเปลี่ยน เรื่อง Share ประสบการณ์ระหว่างวิทยากรและเพื่อน เพื่อปรับใช้กับประโยชน์ในการทำงานจริง ประโยชน์ต่อองค์กร1.องค์กรได้บุคลากรที่มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของ Effective Communication และ Team Building 2. องค์กรสามารถพัฒนาเทคนิคการสื่อสาร รวมถึงการสร้าง และบริหารทีมงานให้องค์กรมีการดำเนินงานที่เกิดประโยชน์มากยิ่งขึ้น 
กลุ่มที่ 6           ประโยชน์ที่ได้จากการเรียนรู้ในวันที่ 3 สิงหาคม 25501.    ได้ความรู้วิธีการและเทคนิคการสื่อสารในหลายรูปแบบ2.    เรียนรู้ลักษณะองค์ประกอบที่สำคัญของผู้นำ คือ มีคุณภาพ  เน้นลูกค้า กระบวนการ และมีความมุ่งมั่นประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนรู้ของผู้เข้ารับการเรียนรู้1.   สามารถนำความรู้เรื่องวิธีการและเทคนิคในการสื่อสารไปปรับใช้ในการดำเนินงาน การประสานงาน และการสร้างความสัมพันธ์กับบุคคลในองค์กรและนอกองค์กรให้เหมาะสมกับลักษณะงานและเป้าหมาย2.   ภาพลักษณ์ขององค์กร และผลงานเกิดประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
กลุ่มที่ 6           ประโยชน์ที่ได้จากการเรียนรู้ในวันที่ 3 สิงหาคม 25501.    ได้ความรู้วิธีการและเทคนิคการสื่อสารในหลายรูปแบบ2.    เรียนรู้ลักษณะองค์ประกอบที่สำคัญของผู้นำ คือ มีคุณภาพ  เน้นลูกค้า กระบวนการ และมีความมุ่งมั่นประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนรู้ของผู้เข้ารับการเรียนรู้1.   สามารถนำความรู้เรื่องวิธีการและเทคนิคในการสื่อสารไปปรับใช้ในการดำเนินงาน การประสานงาน และการสร้างความสัมพันธ์กับบุคคลในองค์กรและนอกองค์กรให้เหมาะสมกับลักษณะงานและเป้าหมาย2.   ภาพลักษณ์ขององค์กร และผลงานเกิดประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
กลุ่มที่ 6           ประโยชน์ที่ได้จากการเรียนรู้ในวันที่ 3 สิงหาคม 25501.    ได้ความรู้วิธีการและเทคนิคการสื่อสารในหลายรูปแบบ2.    เรียนรู้ลักษณะองค์ประกอบที่สำคัญของผู้นำ คือ มีคุณภาพ  เน้นลูกค้า กระบวนการ และมีความมุ่งมั่นประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนรู้ของผู้เข้ารับการเรียนรู้1.   สามารถนำความรู้เรื่องวิธีการและเทคนิคในการสื่อสารไปปรับใช้ในการดำเนินงาน การประสานงาน และการสร้างความสัมพันธ์กับบุคคลในองค์กรและนอกองค์กรให้เหมาะสมกับลักษณะงานและเป้าหมาย2.   ภาพลักษณ์ขององค์กร และผลงานเกิดประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
กลุ่มที่ 1วันที่ 3 สิงหาคม 2550ประโยชน์ที่ได้รับจากการอบรมระดับบุคคล1.    ผู้นำต้องมีความสามารถในการสื่อสาร มีความสำคัญมากเนื่องจากบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ ถ้าไม่สามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้ก็จะทำให้การปฏิบัติงานมีปัญหา ไม่สามารถทำงานร่วมกันและเป็นไปในแนวทางเดียวกันได้2.    การสื่อสารต้องมีเทคนิคและใช้เครื่องมือให้เหมาะสมกับผู้รับและผู้ส่ง สามารถเข้าใจข้อมูลข่าวสารในแนวทางเดียวกัน3.    การสื่อสารที่ดีเพื่อการปฎิบัติงานที่สำคัญ จำเป็นต้องมีการสื่อสารในลักษณะสองทาง คือ ทั้งผู้ส่งและผู้รับ4.    การทำงานเป็นทีมจะทำให้เกิดความร่วมมือร่วมใจ และมีเป้าหมายเพื่อความสำเร็จเดียวกัน ทำให้เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ และผลสำเร็จส่วนบุคคลได้ ระดับองค์กร1.    สร้างความเข้าใจที่ดี ในหมู่คณะ มีลักษณะการทำงานเป็นทีม เพื่อประโยชน์ร่วมกันของทีมและองค์กรซึ่งการทำงานเป็นทีมจะลดความขัดแย้งและความผิดพลาดเพื่อนำทุกคนไปสู่เป้าหมายที่องค์กรกำหนดไว้ เป็นความสำเร็จร่วมกัน
กลุ่ม 2 เทคนิคการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ประโยชน์ที่ได้
  1. ทำให้ทราบเกี่ยวกับเทคนิคการสื่อสาร
  2. ทำให้ทราบเกี่ยวกับเทคนิคการใช้เครื่องมือในการสื่อสาร
  3. ทำให้ทราบเกี่ยวกับบุคคลในองค์กร ผู้บริหาร ผู้ร่วมงาน ได้เป็นอย่างดี
  4. มารยาทในการใช้เครื่องมือสื่อสารที่ดี
  5. เราสามารถมีความรู้เกี่ยวกับการประชุม สัมมนา ฝึกอบรม
 ประโยชน์ที่ได้เกี่ยวกับการสร้างและบริหารทีมงานที่ผลงานที่เป็นเป็นเลิศ1.     ทำให้รู้วิธีการทำงานเป็นทีม2.     จาการฝึกปฏิบัติทำให้สามารถมองเห็นความสำเร็จจากการทำงานเป็นทีม3.     ทำให้เกิดจิตสำนึก ตระหนักถึงรายละเอียดต่างๆ ในการทำงานเป็นทีม4.     ทำให้รู้จักการวางแผน การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าในการทำงานเป็นทีม5.     ทำให้รู้จักการใช้ความสามัคคี ในการทำงานเป็นทีม
กลุ่มที่ 4วันที่ 3 สิงหาคม 2550เรื่องเทคนิคการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ                ประโยชน์ที่ได้รับจากการอบรม                ประโยชน์ส่วนบุคคล  ทำให้ทราบถึงหลักการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร จากบุคคลหนึ่งสู่บุคคลหนึ่ง และบุคคลสู่องค์กร เทคนิคและเครื่องมือในการสื่อสารให้ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ                ประโยชน์ขององค์กร  ทำให้ทราบถึงการถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารจากองค์กรสู่บุคคล และองค์กรสู่องค์กร อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ เพื่อให้บรรลุผลสัมฤทธิ์ และทำให้ทราบถึงวิธีการประชาสัมพันธ์องค์กรทั้งในเชิงรุก  เชิงรับ  และเชิงโต้ตอบ การสร้างและบริหารทีมงานเพื่อผลงานที่เป็นเลิศ                ประโยชน์ส่วนบุคคล  ทำให้ทราบถึงการทำงานเป็นทีม  การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า  การที่จะเป็นผู้นำที่ดี  และทำงานให้บรรลุผลสัมฤทธิ์  จะต้องมีทีมงานที่มีประสิทธิภาพ  มีการร่วมแรงร่วมใจกัน                ประโยชน์ขององค์กร  ทำให้องค์กรสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กรนั้น 
สิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ในวันที่ 3 สิงหาคม 2550ประโยชน์ต่อตนเอง·       ได้เรียนรู้ในเรื่อง Effective Communication และ Team Building ·       ได้เรียนรู้ถึง เทคนิค วิธีการในการสื่อสารและการสร้างและบริหารทีม เพื่อนำไปปรับใช้ในการทำงานของตนเอง เพื่อนร่วมงานและเกษตรกร·       ได้มีการแลกเปลี่ยน เรื่อง Share ประสบการณ์ระหว่างวิทยากรและเพื่อน เพื่อปรับใช้กับประโยชน์ในการทำงานจริง ประโยชน์ต่อองค์กร1.องค์กรได้บุคลากรที่มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของ Effective Communication และ Team Building 2. องค์กรสามารถพัฒนาเทคนิคการสื่อสาร รวมถึงการสร้าง และบริหารทีมงานให้องค์กรมีการดำเนินงานที่เกิดประโยชน์มากยิ่งขึ้น 

กลุ่มที่ 6

ประโยชน์ที่ได้จากการเรียนรู้ในวันที่ 3 สิงหาคม 2550

1. ได้ความรู้วิธีการและเทคนิคการสื่อสารในหลายรูปแบบ

2. เรียนรู้ลักษณะองค์ประกอบที่สำคัญของผู้นำ คือ มีคุณภาพ เน้นลูกค้า กระบวนการ และมีความมุ่งมั่น

ประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนรู้ของผู้เข้ารับการเรียนรู้ 1. สามารถนำความรู้เรื่องวิธีการและเทคนิคในการสื่อสารไปปรับใช้ในการดำเนินงาน การประสานงาน และการสร้างความสัมพันธ์กับบุคคลในองค์กรและนอกองค์กรให้เหมาะสมกับลักษณะงานและเป้าหมาย

2. ภาพลักษณ์ขององค์กร และผลงานเกิดประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

กลุ่มที่ 7วันที่ 3 สิงหาคม 2550ประโยชน์ที่ได้รับจากการอบรมต่อตนเอง1.    สามารถนำความรู้ไปปรับใช้กับการปฏิบัติงาน2.    ได้ทักษะในการวางแผนการปฏิบัติงานเป็นทีม ต่อองค์กร1.    ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการทำงานร่วมกันในองค์กร2.    รู้จักการทำงานเป็นทีม3.    ทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น

1.การคิดสร้างสรรค์ทางบวกด้วยเทคนิค Cresitive-Thinking

1.1 ต่อตนเอง

    ได้เข้าใจแนวคิด การคิดออกนอกกรอบ จะทำให้เราพบความรู้ใหม่ การคิดในแง่บวก ทำให้เรามองเห็นสิ่งที่ดีมากขึ้น มองเพื่อนร่วมงานดีขึ้น และกล้าทำในสิ่งที่ดี

1.2 ต่อองค์กร

การนำเอาความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในการทำงานกับองค์กร จะทำให้บรรยากาศในการทำงานดีขึ้น

2. บทบาทของข้าราชการในยุคโลกาภิวัตน์

2.1 ต่อตนเอง

เข้าใจบทบาทภาระกิจของข้าราชการ จะต้องยอมรับการเปลี่ยนแปลงของโลกและปรับตัวตามการเปลี่ยนแปลง มีจิตสำนึกในการบริการประชาชน เป็นกลางทางการเมือง ทำเงินเชิงรุก มีวิสัยทัศน์

2.2 ต่อองค์กร

มักจะนำเอาความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่ในองค์กรได้ เช่น บทบาท ภาระกิจของข้าราชการ เพื่อทำให้องค์กรมีประสิทธิภาพในการทำงาน ทำงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ มีความตื่นตัวต่อการเปลี่ยนแปลง

 

ชินวัฒน์ พรหมมาณพ (กลุ่ม 2)

1.ฝนตกลงมาน้ำไหลเป็นทา

2.ให้คิดแบบใหม หาทางใหม่ ๆ หลีกเลี่ยงรูปแบบเดิม

3.ให้ระวัง หลุมพรางความฉลาด

4.หลักปลอดภัย อิสระ

5. กล้าบุญ กลัวบาป

6. 95%  5% คนชอบมอง

7.เป็นตัวของตัวเอง

8. ให้คิดไปในทางบวกตลอด

9.เปลี่ยนความคิดตัวเองได้ ชีวิตก็เปลี่ยน

 

1.ข้าราชการปั้จจุบันจะต้องพบกับความเปลี่ยนแปลง

2.ยึดหลักการกระจาย

3.ในระบบประชาธิปไตยจะต้องมีดุลอำนาจ

4.รู้จักการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า และวางแผนระยะยาว มองการไกล

5. เทคโลโลยีสมัยใหม่ทำให้สังคม

6. ข้าราชการพึ่งประสงค์

7. เราจะต้องเป็นผู้นำและผู้จัดการ

8. KM  การจัดการความรู้

                    อะไรคือความรู้ที่เราต้องการ

                    การแสวงหาความรู้

                   การกระจายความรู้

                  การนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

อ.รัศมี

การได้สร้างสรรค์ทางบวก

1.ฝนตกลงมาน้ำไหลเป็นทาง

2.ให้คิดสิ่งใหม่ ๆ

3.ให้ระวังหลุมพรางความฉลาด

4.ยึดหลักความปลอดภัยและเป็นอิสระส่วนตัว

5. กล้าบุญและกลัวบาป

6. ให้มองที่ 95% มากกว่า 5%

7. เป็นตัวของตัวเองดีที่สุด และคิดไปในทางบวก

8. ถ้าเปลี่ยนความคิดตัวเองได้ ชีวิตก็เปลี่ยน

 

อ.สถิตย์ บทบาทของข้าราชการไทยในยุคโลกาภิวัตน์

1.ผู้นำต้องมีการเปลี่ยนแปลง

2.การกระจายอำนาจให้ผู้น้อย

3.การคานอำนาจ และดุลอำนาจ

4. อย่าคิดแต่แก้ปัญหาเฉพาะหน้าให้คิดให้ยาวไกล

5.ผู้นำต้องรู้เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา

6,เราจะต้องเป็นทั้งผู้นำและผู้จัดการ

7.ผลสัมฤทธิ์จะต้องประกอบด้วย Out put Out come Impact

8.การนำความรู้ที่เก็บซ่อนไว้ออกมา กระจายให้ผู้อื่นได้รู้ด้วย

อ.รัศมี  หลักสูตรการคิดสร้างสรรค์ทางบวกด้วยเทคนิค

1.ฝนตกลงมาน้ำไหลเป็นทาง

2.ได้คิดแบบใหม่ หาทางใหม่ ๆ หลีกเลี่ยงรูปแบบเดิม ๆ

3. ให้ระวังการตกหลุมพรางความฉลาด

4.ยึดหลักความปลอดภัย ความอิสระ

5.กล้าบุญกลัวบาป

6.ให้มอง 95% แต่คนไม่มอง 5%

7.เป็นตัวของตัวเองดีที่สุด

8.ให้คิดในทางบวกตลอด

9.ถ้าเปลี่ยนความคิดตนเองได้ชีวิตก็เปลี่ยน

 อ.สถิตย์  ลิ่มพงษ์พันธุ์ หลักสูตรบทบาทของข้าราชการในยุคโลกาภิวัตน์

1.ข้าราชการยุคปัจจุบันจะเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงตลอด

2.ยึดหลักการกระจายความรู้ อำนาจ

3.ในระบบประชาธิปไตยจะต้องมีการคาดอำนาจ

4.รู้จักการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า และการมองการไกล

5.เทคโนโลยีสมัยใหม่ทำให้มีการเปลี่ยนแปลง

6. เราจะต้องเป็นทั้งผู้นำและผู้จัดการ

7.การบริหารระบบราชการ ต้องมีหลักคุณธรรม หลักสมรรถนะ หลักผลงานและหลักกระจายอำนาจ

8.กลุ่มบริหารควรจะต้องมีสมรรถนะ ดังนี้ มีวิสัยทัศน์ การวางกลยุทธ์ภาครัฐ  ศักยภาพเพื่อนำการปรับเปลี่ยนการควบคุมตนเอง และการให้อำนาจแก่ผู้อื่น

9.ผลสัมฤทธิ์ประกอบด้วย Output Outcome and Impact

วิชา บทบาทของข้าราชการในยุคโลกิวัตน์

ประโยชน์ที่ได้รับต่อตนเอง

 1.ทราบว่าข้าราชการที่พึงประสงค์นั้นจะต้องเป็นมืออาชีพ มีความรู้ ความสามารถ และเป็นคนดีมีคุณธรรม มีวิสัยทัศน์ที่ดี ทำงานในเชิงรุก ไม่ใช่รอคอยแต่คำสั่งเท่านั้น

2. การทำงานต้องมีการประเมินผลตามตัวชี้วัด (KPI) ที่วางไว้ ดังนั้นเราควรทำงานอย่างมีสมรรถนะด้วย

3. ทราบว่าในอนาคตอันใกล้นี้ในระบบราชการจมการเลิกใช้ระบบซี แต่จะไปใช้ระบบแท่งแทน โดยจะมี 4 กลุ่มงาน คือ

       - กลุ่มบริหาร

       - กลุ่มอำนวยการ

      - กลุ่มวิชาการ

      - กลุ่มทั่วไป

4. เราควรบริการแก่ประชาชนให้ดีขึ้นเป็นลำดับ เนื่องจากเป็นสิ่งที่สำคัญในการปฏิบัติหน้าที่ และเป็นสิ่งที่ข้าราชการไทยควรทำเป็นอย่างยิ่ง

ประโยชน์ต่อองค์กร

1. หากข้าราชการมีความประพฤติดีเป็นมืออาชีพ มีคุณธรรมก็จะส่งผลให้องค์กรเป็นที่ยอมรับของประชาชนทั่วไป

2. หากองค์กรสามารถกำหนดตัวชี้วัด (KPI) ที่มีความเหมาะสมในแต่ละเรื่องแล้วจะส่งผลให้ผลงานที่ได้นั้น มีความเป็นไปได้สูง องค์กรก็จะมีการพัฒนาที่ดีขึ้น

3. หากองค์กรมีการจัดสรรบุคลากรได้เหมาะสมกับหน้าที่การงานของข้าราชการแต่ละคนแล้วจะทำให้ข้าราชการมีกำลังใจในการทำงาน และจะส่งผลให้องค์กรมีการพัฒนาขึ้นเป็นลำดับ

4.หากองค์กรใดมีข้าราชการที่ให้บริการที่ดี ก็จะส่งผลให้องค์กรเป็นที่ยอมรับของประชาชนทั่วไป

วิชา การคิดสร้างสรรค์ทางบวกด้านเทคนิคประโยชน์ที่ได้รับ

ประโยชน์ต่อตนเอง

1. ทราบว่าสมองมีการทำงานในลักษณะ ฝนตกลงมาน้ำไหลเป็นทาง กล่าวคือคนเรามักทำอะไรในลักษณะซ้ำ ๆ ไม่ยอมเปิดใจรับสิ่งใหม่ ๆ เท่าที่ควร แต่มนุษย์ก็สามารถฝึกสมองให้คิดในทางบวกได้ ไม่จำเป็นต้องคิดในทางลบเสมอไป

2.มองโลกในแง่ดีไว้ก่อน อย่าคอยแต่จับผิดผู้อืน เวลาจะพูดอะไรกับใครควรให้เกียรติผู้พูด และควรตั้งใจฟังด้วยความสนใจ

3. คนเราเกิดมาอย่าตกหลุมพรางความฉลาด เพราะหาเป็นเช่นนั้น สมองจะไม่คิดทำอะไรใหม่ ๆ ในเชิงสร้างสรรค์

ประโยชน์ต่อองค์กร

1. ผู้นำขององค์กรที่สูงสุดสามารถปรับเปลี่ยนวิธีคิดแบบใหม่ ๆ ได้อยู่เสมอๆ ทำให้องค์กรมีการพัฒนาไปในทางดีทีดีขึ้น

2. ในการประชุมแต่ละครั้งไม่ว่าจะเป็นเรื่องใด หากทุกคนมีการแสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์ และทุกคนเปิดใจยอมรับในสิ่งใหม่ ๆ ก็จะทำให้องค์กรมีการพัฒนาทีดีข่น

3.หากผู้นำในองค์กรไม่ฉลาดแบบเอาเปรียบผู้อื่นก็จะทำให้ทีมงานหรือผู้ร่วมงานก็จะทุ่มเททำงานให้กับองค์กรอย่างเต็มประสิทธิภาพส่งผลให้องค์กรมีการพัฒนาที่ดีขึ้น

 

สรศักดิ์ เทวะผลิน

6 สิงหาคม 2550

- การคิดสร้างสรรค์ทางบวกด้วยเทคนิค Cresitive Thinking

- บทบาทของข้าราชการในยุคโลกาภิวัตน์

ประโยชน์ต่อตนเอง

1. ทำให้ได้รับความรู้  ความเข้าใจเกี่ยวกับการคิดในทางสร้างสรรค์ การมองโลกในแง่ดี การรู้จักคิด วิเคราะห์ หาแนวทางการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ

2. ได้รับทราบวิธีการสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับเพื่อนร่วมห้อง

3.ได้นำความรู้และประสบการณ์ไปใช้ในการปฏิบัติงานประจำวันได้

4.ได้รับความรู้เกี่ยวกับบทบาทของข้าราชการที่เหมาะสมในยุคโลกาภิวัตน์

5.นำความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่และพัฒนาเพื่อนร่วมงาน

ประโยชน์ต่อองค์กร

1.องค์กรจะได้รับประโยชน์จากการนำเอาความรู้ไปปรับใช้ในการปฏิบะติตนภายในองค์กร

2.จะนำความรู้ที่ได้ไปพัฒนาและปรับปรุงการปฏิบัติขององค์กรให้มีประสิทธิภาพเพื่อประโยชน์สุงของประชาชน

ประเวศน์ ศิริศิลป์
แบบสรุปผลการฝึกอบรม  หลักสูตรพัฒนาภาวะผู้นำและเตรียมความพร้อมสู่การเป็นผู้บริหารมืออาชีพ 
  ชื่อ นาย 

แบบสรุปผลการฝึกอบรม

 หลักสูตรพัฒนาภาวะผู้นำและเตรียมความพร้อมสู่การเป็นผู้บริหารมืออาชีพ 

 

 ชื่อ นาย  ประเวศน์….ศิริศิลป์   …… เลขที่ 33   กลุ่มที่ 4  
นายช่างชลประทาน 7   กรมชลประทาน 
1. วัน จันทร์  ที่   6   สิงหาคม  2550   เวลา   09.00-12.00 .   หัวข้อ การคิดสร้างสรรค์ทางบวกด้วยเทคนิค   Cresitive Thinking     
โดย อ.รัศมี ธันยธร
1.1 สรุปบทเรียน  
 §       ธรรมชาติ ของคน เมื่อได้รับการเรียนรู้ สิ่งใดๆ  มักจะจดจำ  เมื่อเกิดเหตุการณ์ลักษณะเดิม  มัก มีปฏิกิริยาตอบสนอง ซ้ำแนวเดิม  เหมือนกับ   ฝนตก น้ำไหลเป็นธาร 
§       เราเรียกคนมีความฉลาด 4 แบบ Wisdom :คนฉลาด มีความรอบรู้ เป็นนักปราชญ์            Intelligent :คนฉลาด รู้จักคิด มีเหตุผล มีไหวพริบ     Smart :คนฉลาด ปราดเปรื่อง เก่ง คล่องแคล่ว    Clever:คนฉลาด หลักแหลม ใช้ในเชิงเอาเปรียบ หาประโยชน์ ใส่ตัว
§       หลุมพรางความฉลาด (Intelligent Trap) คนที่มีความเชื่อมั่น ในความคิดและเหตุผลของตนเองโดย ไม่เปิดใจรับในแนวคิดที่แตกต่าง    จะถูกกลับดักให้ อยู่ในวังวน  เหมือนกบในกะลา
§       นำเอาหลัก พุทธศาสนา มาใช้ให้เกิดประโยชน์ 
ปริยัติ: หมายถึง  ศึกษา การเรียนรู้  ทำความเข้าใจ สิ่งต่างๆ        
ปฏิบัติ:หมายถึง การนำเอาความรู้  ไปลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง    
ปฏิเวธ :ความเข้าใจเป็นผลที่เกิดจากการเรียนรู้และปฏิบัติ§       SET PATTERN   การกำหนดแบบแผน ไว้ในใจ
1.2 ประโยชน์ที่ได้รับจากบทเรียน 
§     คนเราต้องมีความกล้าหาญที่จะกระทำความดี ความถูกต้อง กล้าบุญ กลัวบาป
§     คนเราถ้าเปลี่ยนความคิดได้  ชีวิตก็เปลี่ยน
§     หัดคิดนอกกรอบเพื่อให้เกิดประโยชน์ในเชิงสร้างสรรค์2 วัน จันทร์  ที่   6   สิงหาคม  2550   เวลา  13.30-16.30 .  หัวข้อบทบาทของข้าราชการไทยในยุคโลกาภิวัฒน์      โดย อ. สถิตย์  อิ่มพงศ์พันธ์ 2.1 สรุปบทเรียน  
§       กระแสโลกาภิวัตน์ เกิดการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว  ล้วนมีผลกระทบต่อระบบราชการ  เช่น การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง  การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ  การเปลี่ยนแปลงทางสังคม     การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
§       บทบาทของข้าราชการ   ให้บริการประชาชน   เป็นกลางทางการเมือง     ทำงานร่วมกับหน่วยงานอื่น    ทำงานอย่างทุ่มเทเสียสละ    ดำรงไว้ซึ่งเกียรติและศักดิ์ศรี   มีวิสัยทัศน์   เป็นมืออาชีพ  ทำงานเชิงรุก คำนึงถึงผลสัมฤทธิ์   มีความยืดหยุ่นและคล่องตัว   ตื่นตัวต่อการเปลี่ยนแปลง  สามารถทำงานเป็นทีม   ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี
§       การบริหารระบบราชการ   โดยยึด หลักคุณธรรม  หลักสมรรถนะ หลักกระจายอำนาจ
§       ค่านิยมที่สร้างสรรค์     กล้ายืนหยัดทำในสิ่งที่ถูกต้อง   ซื่อสัตย์และมีความรับผิดชอบ  โปร่งใสตรวจสอบได้  ไม่เลือกปฏิบัติ  มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน 2.2 ประโยชน์ที่ได้รับจากบทเรียน 
§       การจะเป็นข้าราชการที่มีสมรรถนะ จะต้องหมั่นหาความรู้  ฝึกทักษะ  และมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์
§       ข้าราชการที่มีสมรรถนะจะต้อง ประกอบด้วยสมรรถนะหลัก  คือ  การมุ่งผลสัมฤทธิ์   การบริการที่ดี    การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ      มีความซื่อสัตย์สุจริต คุณธรรมจริยธรรม    ร่วมแรงร่วมใจทำงานเป็นทีม
§       การจะก้าวเป็นผู้บริหาร    จะต้อง เป็นผู้มีวิสัยทัศน์    รู้จักการวางกลยุทธ์   มีศักยภาพในการนำการเปลี่ยนแปลง  รู้จักการมอบหมายอำนาจ
§       ผู้นำการเปลี่ยนแปลง(Change Agent) พัฒนาสู่สิ่งที่ดีกว่า……
เลขที่ 33   กลุ่มที่ 4    นายช่างชลประทาน 7   กรมชลประทาน  1. วัน จันทร์  ที่   6   สิงหาคม  2550   เวลา   09.00-12.00 .   หัวข้อ การคิดสร้างสรรค์ทางบวกด้วยเทคนิค   Cresitive Thinking      โดย อ.รัศมี ธันยธร
1.1 สรุปบทเรียน  
§       ธรรมชาติ ของคน เมื่อได้รับการเรียนรู้ สิ่งใดๆ  มักจะจดจำ  เมื่อเกิดเหตุการณ์ลักษณะเดิม  มัก มีปฏิกิริยาตอบสนอง ซ้ำแนวเดิม  เหมือนกับ   ฝนตก น้ำไหลเป็นธาร 
§       เราเรียกคนมีความฉลาด 4 แบบ Wisdom :คนฉลาด มีความรอบรู้ เป็นนักปราชญ์            Intelligent :คนฉลาด รู้จักคิด มีเหตุผล มีไหวพริบ     Smart :คนฉลาด ปราดเปรื่อง เก่ง คล่องแคล่ว    Clever:คนฉลาด หลักแหลม ใช้ในเชิงเอาเปรียบ หาประโยชน์ ใส่ตัว
§       หลุมพรางความฉลาด (Intelligent Trap) คนที่มีความเชื่อมั่น ในความคิดและเหตุผลของตนเองโดย ไม่เปิดใจรับในแนวคิดที่แตกต่าง    จะถูกกลับดักให้ อยู่ในวังวน  เหมือนกบในกะลา
§       นำเอาหลัก พุทธศาสนา มาใช้ให้เกิดประโยชน์           ปริยัติ: หมายถึง  ศึกษา การเรียนรู้  ทำความเข้าใจ สิ่งต่างๆ         
        ปฏิบัติ:หมายถึง การนำเอาความรู้  ไปลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง     ปฏิเวธ :ความเข้าใจเป็นผลที่เกิดจากการเรียนรู้และปฏิบัติ
§       SET PATTERN   การกำหนดแบบแผน ไว้ในใจ
1.2 ประโยชน์ที่ได้รับจากบทเรียน 
§     คนเราต้องมีความกล้าหาญที่จะกระทำความดี ความถูกต้อง กล้าบุญ กลัวบาป
§     คนเราถ้าเปลี่ยนความคิดได้  ชีวิตก็เปลี่ยน
§     หัดคิดนอกกรอบเพื่อให้เกิดประโยชน์ในเชิงสร้างสรรค์
2 วัน จันทร์  ที่   6   สิงหาคม  2550   เวลา  13.30-16.30 .  หัวข้อบทบาทของข้าราชการไทยในยุคโลกาภิวัฒน์     
โดย อ. สถิตย์  อิ่มพงศ์พันธ์
2.1 สรุปบทเรียน  
§       กระแสโลกาภิวัตน์ เกิดการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว  ล้วนมีผลกระทบต่อระบบราชการ  เช่น การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง  การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ  การเปลี่ยนแปลงทางสังคม     การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
§       บทบาทของข้าราชการ   ให้บริการประชาชน   เป็นกลางทางการเมือง     ทำงานร่วมกับหน่วยงานอื่น    ทำงานอย่างทุ่มเทเสียสละ    ดำรงไว้ซึ่งเกียรติและศักดิ์ศรี   มีวิสัยทัศน์   เป็นมืออาชีพ  ทำงานเชิงรุก คำนึงถึงผลสัมฤทธิ์   มีความยืดหยุ่นและคล่องตัว   ตื่นตัวต่อการเปลี่ยนแปลง  สามารถทำงานเป็นทีม   ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี 
การบริหารระบบราชการ   โดยยึด หลักคุณธรรม  หลักสมรรถนะ หลักกระจายอำนาจ
§       ค่านิยมที่สร้างสรรค์     กล้ายืนหยัดทำในสิ่งที่ถูกต้อง   ซื่อสัตย์และมีความรับผิดชอบ  โปร่งใสตรวจสอบได้  ไม่เลือกปฏิบัติ  มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน
 2.2 ประโยชน์ที่ได้รับจากบทเรียน 
§       การจะเป็นข้าราชการที่มีสมรรถนะ จะต้องหมั่นหาความรู้  ฝึกทักษะ  และมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์
§       ข้าราชการที่มีสมรรถนะจะต้อง ประกอบด้วยสมรรถนะหลัก  คือ  การมุ่งผลสัมฤทธิ์   การบริการที่ดี    การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ      มีความซื่อสัตย์สุจริต คุณธรรมจริยธรรม    ร่วมแรงร่วมใจทำงานเป็นทีม
§       การจะก้าวเป็นผู้บริหาร    จะต้อง เป็นผู้มีวิสัยทัศน์    รู้จักการวางกลยุทธ์   มีศักยภาพในการนำการเปลี่ยนแปลง  รู้จักการมอบหมายอำนาจ
§       ผู้นำการเปลี่ยนแปลง(Change Agent) พัฒนาสู่สิ่งที่ดีกว่า

แบบสรุปผลการฝึกอบรม  

หลักสูตรพัฒนาภาวะผู้นำและเตรียมความพร้อมสู่การเป็นผู้บริหารมืออาชีพ 

 ชื่อ นาย  ประเวศน์….ศิริศิลป์   …… เลขที่ 33   กลุ่มที่ 4  นายช่างชลประทาน 7   กรมชลประทาน 
1. วัน จันทร์  ที่   6   สิงหาคม  2550   เวลา   09.00-12.00 .   หัวข้อ การคิดสร้างสรรค์ทางบวกด้วยเทคนิค   Cresitive Thinking     
โดย อ.รัศมี ธันยธร
1.1 สรุปบทเรียน  
 §       ธรรมชาติ ของคน เมื่อได้รับการเรียนรู้ สิ่งใดๆ  มักจะจดจำ  เมื่อเกิดเหตุการณ์ลักษณะเดิม  มัก มีปฏิกิริยาตอบสนอง ซ้ำแนวเดิม  เหมือนกับ   ฝนตก น้ำไหลเป็นธาร 
§       เราเรียกคนมีความฉลาด 4 แบบ Wisdom :คนฉลาด มีความรอบรู้ เป็นนักปราชญ์            Intelligent :คนฉลาด รู้จักคิด มีเหตุผล มีไหวพริบ     Smart :คนฉลาด ปราดเปรื่อง เก่ง คล่องแคล่ว    Clever:คนฉลาด หลักแหลม ใช้ในเชิงเอาเปรียบ หาประโยชน์ ใส่ตัว
§       หลุมพรางความฉลาด (Intelligent Trap) คนที่มีความเชื่อมั่น ในความคิดและเหตุผลของตนเองโดย ไม่เปิดใจรับในแนวคิดที่แตกต่าง    จะถูกกลับดักให้ อยู่ในวังวน  เหมือนกบในกะลา
§       นำเอาหลัก พุทธศาสนา มาใช้ให้เกิดประโยชน์ 
ปริยัติ: หมายถึง  ศึกษา การเรียนรู้  ทำความเข้าใจ สิ่งต่างๆ        
ปฏิบัติ:หมายถึง การนำเอาความรู้  ไปลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง    
ปฏิเวธ :ความเข้าใจเป็นผลที่เกิดจากการเรียนรู้และปฏิบัติ§       SET PATTERN   การกำหนดแบบแผน ไว้ในใจ
1.2 ประโยชน์ที่ได้รับจากบทเรียน 
§     คนเราต้องมีความกล้าหาญที่จะกระทำความดี ความถูกต้อง กล้าบุญ กลัวบาป
§     คนเราถ้าเปลี่ยนความคิดได้  ชีวิตก็เปลี่ยน
§     หัดคิดนอกกรอบเพื่อให้เกิดประโยชน์ในเชิงสร้างสรรค์2  
วัน จันทร์  ที่   6   สิงหาคม  2550   เวลา  13.30-16.30 .  หัวข้อบทบาทของข้าราชการไทยในยุคโลกาภิวัฒน์     
โดย อ. สถิตย์  อิ่มพงศ์พันธ์
2.1 สรุปบทเรียน  
§       กระแสโลกาภิวัตน์ เกิดการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว  ล้วนมีผลกระทบต่อระบบราชการ  เช่น การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง  การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ  การเปลี่ยนแปลงทางสังคม     การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
§       บทบาทของข้าราชการ   ให้บริการประชาชน   เป็นกลางทางการเมือง     ทำงานร่วมกับหน่วยงานอื่น    ทำงานอย่างทุ่มเทเสียสละ    ดำรงไว้ซึ่งเกียรติและศักดิ์ศรี   มีวิสัยทัศน์   เป็นมืออาชีพ  ทำงานเชิงรุก คำนึงถึงผลสัมฤทธิ์   มีความยืดหยุ่นและคล่องตัว   ตื่นตัวต่อการเปลี่ยนแปลง  สามารถทำงานเป็นทีม   ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี
§       การบริหารระบบราชการ   โดยยึด หลักคุณธรรม  หลักสมรรถนะ หลักกระจายอำนาจ
§       ค่านิยมที่สร้างสรรค์     กล้ายืนหยัดทำในสิ่งที่ถูกต้อง   ซื่อสัตย์และมีความรับผิดชอบ  โปร่งใสตรวจสอบได้  ไม่เลือกปฏิบัติ  มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน 
2.2 ประโยชน์ที่ได้รับจากบทเรียน 
§       การจะเป็นข้าราชการที่มีสมรรถนะ จะต้องหมั่นหาความรู้  ฝึกทักษะ  และมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์
§       ข้าราชการที่มีสมรรถนะจะต้อง ประกอบด้วยสมรรถนะหลัก  คือ  การมุ่งผลสัมฤทธิ์   การบริการที่ดี    การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ      มีความซื่อสัตย์สุจริต คุณธรรมจริยธรรม    ร่วมแรงร่วมใจทำงานเป็นทีม
§       การจะก้าวเป็นผู้บริหาร    จะต้อง เป็นผู้มีวิสัยทัศน์    รู้จักการวางกลยุทธ์   มีศักยภาพในการนำการเปลี่ยนแปลง  รู้จักการมอบหมายอำนาจ
§       ผู้นำการเปลี่ยนแปลง(Change Agent) พัฒนาสู่สิ่งที่ดีกว่า……

แบบสรุปผลการฝึกอบรม  

หลักสูตรพัฒนาภาวะผู้นำและเตรียมความพร้อมสู่การเป็นผู้บริหารมืออาชีพ 
 ชื่อ นาย  ประเวศน์….ศิริศิลป์   …… เลขที่ 33   กลุ่มที่ 4  นายช่างชลประทาน 7   กรมชลประทาน 

1. วัน จันทร์  ที่   6   สิงหาคม  2550   เวลา   09.00-12.00 .   หัวข้อ การคิดสร้างสรรค์ทางบวกด้วยเทคนิค   Cresitive Thinking     
โดย อ.รัศมี ธันยธร
1.1 สรุปบทเรียน  
 §       ธรรมชาติ ของคน เมื่อได้รับการเรียนรู้ สิ่งใดๆ  มักจะจดจำ  เมื่อเกิดเหตุการณ์ลักษณะเดิม  มัก มีปฏิกิริยาตอบสนอง ซ้ำแนวเดิม  เหมือนกับ   ฝนตก น้ำไหลเป็นธาร 
§       เราเรียกคนมีความฉลาด 4 แบบ Wisdom :คนฉลาด มีความรอบรู้ เป็นนักปราชญ์            Intelligent :คนฉลาด รู้จักคิด มีเหตุผล มีไหวพริบ     Smart :คนฉลาด ปราดเปรื่อง เก่ง คล่องแคล่ว    Clever:คนฉลาด หลักแหลม ใช้ในเชิงเอาเปรียบ หาประโยชน์ ใส่ตัว
§       หลุมพรางความฉลาด (Intelligent Trap) คนที่มีความเชื่อมั่น ในความคิดและเหตุผลของตนเองโดย ไม่เปิดใจรับในแนวคิดที่แตกต่าง    จะถูกกลับดักให้ อยู่ในวังวน  เหมือนกบในกะลา
§       นำเอาหลัก พุทธศาสนา มาใช้ให้เกิดประโยชน์ 
ปริยัติ: หมายถึง  ศึกษา การเรียนรู้  ทำความเข้าใจ สิ่งต่างๆ        
ปฏิบัติ:หมายถึง การนำเอาความรู้  ไปลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง    
ปฏิเวธ :ความเข้าใจเป็นผลที่เกิดจากการเรียนรู้และปฏิบัติ§       SET PATTERN   การกำหนดแบบแผน ไว้ในใจ
1.2 ประโยชน์ที่ได้รับจากบทเรียน 
§     คนเราต้องมีความกล้าหาญที่จะกระทำความดี ความถูกต้อง กล้าบุญ กลัวบาป
§     คนเราถ้าเปลี่ยนความคิดได้  ชีวิตก็เปลี่ยน
§     หัดคิดนอกกรอบเพื่อให้เกิดประโยชน์ในเชิงสร้างสรรค์2  
วัน จันทร์  ที่   6   สิงหาคม  2550   เวลา  13.30-16.30 .  หัวข้อบทบาทของข้าราชการไทยในยุคโลกาภิวัฒน์     
โดย อ. สถิตย์  อิ่มพงศ์พันธ์
2.1 สรุปบทเรียน  
§       กระแสโลกาภิวัตน์ เกิดการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว  ล้วนมีผลกระทบต่อระบบราชการ  เช่น การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง  การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ  การเปลี่ยนแปลงทางสังคม     การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
§       บทบาทของข้าราชการ   ให้บริการประชาชน   เป็นกลางทางการเมือง     ทำงานร่วมกับหน่วยงานอื่น    ทำงานอย่างทุ่มเทเสียสละ    ดำรงไว้ซึ่งเกียรติและศักดิ์ศรี   มีวิสัยทัศน์   เป็นมืออาชีพ  ทำงานเชิงรุก คำนึงถึงผลสัมฤทธิ์   มีความยืดหยุ่นและคล่องตัว   ตื่นตัวต่อการเปลี่ยนแปลง  สามารถทำงานเป็นทีม   ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี
§       การบริหารระบบราชการ   โดยยึด หลักคุณธรรม  หลักสมรรถนะ หลักกระจายอำนาจ
§       ค่านิยมที่สร้างสรรค์     กล้ายืนหยัดทำในสิ่งที่ถูกต้อง   ซื่อสัตย์และมีความรับผิดชอบ  โปร่งใสตรวจสอบได้  ไม่เลือกปฏิบัติ  มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน 
2.2 ประโยชน์ที่ได้รับจากบทเรียน 
§       การจะเป็นข้าราชการที่มีสมรรถนะ จะต้องหมั่นหาความรู้  ฝึกทักษะ  และมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์
§       ข้าราชการที่มีสมรรถนะจะต้อง ประกอบด้วยสมรรถนะหลัก  คือ  การมุ่งผลสัมฤทธิ์   การบริการที่ดี    การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ      มีความซื่อสัตย์สุจริต คุณธรรมจริยธรรม    ร่วมแรงร่วมใจทำงานเป็นทีม
§       การจะก้าวเป็นผู้บริหาร    จะต้อง เป็นผู้มีวิสัยทัศน์    รู้จักการวางกลยุทธ์   มีศักยภาพในการนำการเปลี่ยนแปลง  รู้จักการมอบหมายอำนาจ
§       ผู้นำการเปลี่ยนแปลง(Change Agent) พัฒนาสู่สิ่งที่ดีกว่า……

 

สรุปย่อการ การเรียนรู้
วันที่ 6 สิงหาคม 2550
ของ อมรา   เวชเต่ง                       
1. การทำงานตามความเคยชินที่ทำมาตลอด เป็น Pattern   เมื่อมีเหตุการณ์เกิดขึ้นอกเหนือจากที่ทำเป็น Pattern แล้ว ไม่สามารถแก้ปัญหาได้ เข้าลักษณะฝนตกลงมา     น้ำไหลเป็นทาง   ดังนั้นต้องศึกษาหาความรู้และคิดสิ่งใหม่ๆ ที่เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม พร้อมทั้งลงมือปฏิบัติจริงให้เกิดกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนางานให้เป็นผลความสำเร็จ                               
2. การทำงานให้เกิดผล ความสำเร็จ มาจาก องค์ประกอบ 3 อย่าง                                   
2.1 ความรู้ (Knowledge Skill)                       
2.2 ความคิด (Thinking Skill)                       
2.3 คน (People Skill)ทั้งนี้ ต้องไม่ตกหลุมพรางความฉลาด ให้คิดในทางสร้างสรรค์ กล้าทำในสิ่งที่ถูก             
3. การเป็นข้าราชการที่ดี ต้องมีคุณธรรม จริยธรรม โปร่งใส ซึ่อสัตย์สุจริต  ทำงานเพื่อประโยชน์ของประชาชน  ซึ่งเป็นพื้นฐานนำไปสู่การเป็นผู้นำที่ดี           
4. เป็นข้าราชการหรือผู้นำต้องมีค่านิยมที่สร้างสรรค์                  
4.1 กล้ายืนหยัดในหลักการที่ถูกต้อง                         
4.2 ซื่อสัตย์มีความรับผิตชอบ                       
4.3โปร่งใสตรวจสอบได้                       
4.4 ไม่เลือกปฏิบัติ                       
4.5 มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน
ผลสัมฤทธิ์ของงาน  วัดได้จาก  
1.Out put   
2. Out come    
3.Impact  
เปลี่ยนความคิด  ชีวิตเปลี่ยนได้
กลุ่มที่ 4วันที่ 4 สิงหาคม 2550หัวข้อบรรยาย เรื่อง นวัตกรรมกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์สาระโดยสรุป  นวัตกรรม (Innovation) หมายถึง สิ่งใหม่ที่เกิดจากการใช้ความรู้ และความคิดสร้างสรรค์ที่มีประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคมนวัตกรรม ต่างจาก การวิจัย คือ -          การวิจัยเป็นการใช้เงินเพื่อสร้างความรู้ เกิดจากความต้องการของผู้วิจัย-          นวัตกรรมเป็นการเปลี่ยนความรู้ให้เป็นเงิน โดยผ่านทางสินค้า เกิดจากความต้องการของตลาดนวัตกรรมไม่เพียงแต่มีคุณค่า แต่คนในสังคมต้องสามารถนำไปใช้ได้ด้วยประโยชน์ที่ได้รับ นำไปประยุกต์เพื่อพัฒนางานในส่วนที่เกี่ยวข้อง สามารถปรับ หรือประยุกต์ให้ตรงตามความต้องการของผู้เกี่ยวข้อง หัวข้อบรรยาย เรื่อง หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรับใช้กับความพอเพียงระดับองค์กรสาระโดยสรุป ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีคุณลักษณะเป็นหลักปฏิบัติให้ดำเนินตามทางสายกลางในโลกยุคโลกาภิวัตน์ ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ -          ความพอเพียง หรือความพอประมาณ หมายถึงความพอดีที่ไม่น้อยเกินไป และไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น-          ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้นๆอย่างรอบคอบ-          การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกลเงื่อนไขเพื่อให้เกิดความพอเพียง ได้แก่-          เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ-          เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย ความตระหนักในคุณธรรม เช่น มีความซื่อสัตย์สุจริต ความอดทน ความเพียร ใช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิตประโยชน์ที่ได้รับ นำไปปรับใช้ทั้งในการดำเนินชีวิต การพัฒนาสังคมในองค์กร การนำองค์กรสู่เป้าหมายอย่างมั่นคง และมีคุณธรรม
พักตร์พิมล สุวรรณโณ
นางสาวพักตร์พิมล สุวรรณโณ รายงานผลที่ได้จากการเรียนรู้หัวข้อ   การคิดสร้างสรรค์ทางบวกด้วยเทคนิคโดย อาจารย์รัศมี  ธันยธรประโยชน์ที่ได้จากการเรียนรู้ รู้ว่าการทำงานประกอบด้วยความรู้ ความคิด และคน ซึ่งความคิดเป็นสิ่งสำคัญหากคิดไม่เป็นก็ไม่สามารถนำความรู้มาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ รู้ว่าสมองทำงานอย่างไร สมองทำงานเหมือนฝนตกลงมาน้ำไหลเป็นทาง ทำงานตามที่เคยทำและทำจนเคยชิน ควรฝึกคิดข้ามกล่องคนฉลาดมักจะตกหลุมพรางความฉลาด คิดว่าตนเองเก่งจนไม่ฟังใคร จึงให้ระลึกอยู่เสมอเมื่อตกหลุมให้ลุกขึ้นจากหลุมอย่าตกลงไปรู้ว่าคนฉลาดมีหลายแบบ คือ ฉลาดแบบมีปัญญา(Wise)   ฉลาดแบบนักวิชาการ(Intelligent) ฉลาดแบบสมาทร์(Smart)ให้เปิดใจและยอมรับความคิดเห็นของคนอื่นที่แตกต่างให้แสดงท่าทีว่าสนใจ และตั้งใจที่จะฟังเรื่องราวที่ผู้อื่นเล่า คนส่วนใหญ่มีนิสัยชอบหาข้อบกพร่อง เช่น มีความคิดสร้างสรรค์และได้ประโยชน์ 95% เกิดผลเสีย 5% คนมักจะถกเถียงกันแต่เรื่อง 5% จนลืมสนใจประโยชน์ที่ได้95%ประโยชน์ของบุคคลที่ได้จากการเรียนรู้รู้ว่าผู้นำต้องฝึกคิดเป็น รู้จักที่จะแก้ปัญหาเป็นและเปิดใจให้กว้างยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น แสดงท่าทีเป็นผู้ฟัง รับฟังความเห็นของผู้อื่นและในบางครั้งอาจจะต้องยอมผ่านเลยไปในบางเรื่องเพื่อประโยชน์ที่ยิ่งใหญ่กว่าประโยชน์ต่อองค์กร จะนำไปถ่ายทอดให้ผู้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน และผู้ใต้บังคับบัญชาได้ทราบด้วย ซึ่งคาดว่าหากทุกคนในองค์กรมีความรู้ เข้าใจและยอมรับในหลักการดังกล่าวข้างต้นจะส่งผลดีต่อการปฏิบัติงานในองค์กร ลดความขัดแย้งในองค์กรได้    นางสาวพักตร์พิมล สุวรรณโณ รายงานผลที่ได้จากการเรียนรู้หัวข้อ   บทบาทของข้าราชการยุคโลกาภิวัตน์โดย คุณ สถิตย์ ลิ่มพงศ์พันธ์ประโยชน์ที่ได้จากการเรียนรู้ ทำให้รู้บทบาทของข้าราชการในยุคโลกาภิวัตน์ ข้าราชการควรรู้และให้ความสนใจกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลก ทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม เรียนรู้ว่าข้าราชการที่พึงประสงค์ควรมีลักษณะเช่นไร เช่น ควรเป็นผู้มีวิสัยทัศน์ มีความรู้ ความสามารถ เป็นคนดี แสวงหาความรู้ตลอดเวลา  มีวิสัยทัศน์ ต้องทำงานเชิงรุก คำนึงถึงผลสัมฤทธิ์ ใช้เทคโนโลยีเป็น เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง และอื่นๆอีกมากมายรู้หลักการบริหารระบบราชการ ควรยึดหลักคุณธรรม หลักผลงาน หลักการกระจายอำนาจ หลักสมรรถนะรู้ระบบการจำแนกตำแหน่งซึ่งสิ่งต่างๆที่ได้รับเป็นสิ่งที่มีความจำเป็นที่ข้าราชการต้องมีความรู้ เข้าใจในทุกๆเรื่องเพื่อให้เป็นข้าราชการที่พึงประสงค์ในยุคโลกาภิวัตน์ประโยชน์ของบุคคลที่ได้จากการเรียนรู้ทำให้รู้บทบาทที่พึงปฏิบัติในโลกโลกาภิวัตน์ และสามารถบริหารจัดการงานและสิ่งต่างๆได้สอดคล้องและเหมาะสมประโยชน์ต่อองค์กร จะนำไปถ่ายทอดให้เพื่อนร่วมงาน และผู้ใต้บังคับบัญชาได้ทราบด้วย ซึ่งคาดว่าหากทุกคนในองค์กรรู้บทบาทที่พึงปฏิบัติในโลกโลกาภิวัตน์ จะสามารถบริหารจัดการงานและสิ่งต่างๆได้สอดคล้องและเหมาะสม 
พักตร์พิมล สุวรรณโณ
นางสาวพักตร์พิมล สุวรรณโณ รายงานผลที่ได้จากการเรียนรู้หัวข้อ   การคิดสร้างสรรค์ทางบวกด้วยเทคนิคโดย อาจารย์รัศมี  ธันยธรประโยชน์ที่ได้จากการเรียนรู้ รู้ว่าการทำงานประกอบด้วยความรู้ ความคิด และคน ซึ่งความคิดเป็นสิ่งสำคัญหากคิดไม่เป็นก็ไม่สามารถนำความรู้มาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ รู้ว่าสมองทำงานอย่างไร สมองทำงานเหมือนฝนตกลงมาน้ำไหลเป็นทาง ทำงานตามที่เคยทำและทำจนเคยชิน ควรฝึกคิดข้ามกล่องคนฉลาดมักจะตกหลุมพรางความฉลาด คิดว่าตนเองเก่งจนไม่ฟังใคร จึงให้ระลึกอยู่เสมอเมื่อตกหลุมให้ลุกขึ้นจากหลุมอย่าตกลงไปรู้ว่าคนฉลาดมีหลายแบบ คือ ฉลาดแบบมีปัญญา(Wise)   ฉลาดแบบนักวิชาการ(Intelligent) ฉลาดแบบสมาทร์(Smart)ให้เปิดใจและยอมรับความคิดเห็นของคนอื่นที่แตกต่างให้แสดงท่าทีว่าสนใจ และตั้งใจที่จะฟังเรื่องราวที่ผู้อื่นเล่า คนส่วนใหญ่มีนิสัยชอบหาข้อบกพร่อง เช่น มีความคิดสร้างสรรค์และได้ประโยชน์ 95% เกิดผลเสีย 5% คนมักจะถกเถียงกันแต่เรื่อง 5% จนลืมสนใจประโยชน์ที่ได้95%ประโยชน์ของบุคคลที่ได้จากการเรียนรู้รู้ว่าผู้นำต้องฝึกคิดเป็น รู้จักที่จะแก้ปัญหาเป็นและเปิดใจให้กว้างยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น แสดงท่าทีเป็นผู้ฟัง รับฟังความเห็นของผู้อื่นและในบางครั้งอาจจะต้องยอมผ่านเลยไปในบางเรื่องเพื่อประโยชน์ที่ยิ่งใหญ่กว่าประโยชน์ต่อองค์กร จะนำไปถ่ายทอดให้ผู้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน และผู้ใต้บังคับบัญชาได้ทราบด้วย ซึ่งคาดว่าหากทุกคนในองค์กรมีความรู้ เข้าใจและยอมรับในหลักการดังกล่าวข้างต้นจะส่งผลดีต่อการปฏิบัติงานในองค์กร ลดความขัดแย้งในองค์กรได้    นางสาวพักตร์พิมล สุวรรณโณ รายงานผลที่ได้จากการเรียนรู้หัวข้อ   บทบาทของข้าราชการยุคโลกาภิวัตน์โดย คุณ สถิตย์ ลิ่มพงศ์พันธ์ประโยชน์ที่ได้จากการเรียนรู้ ทำให้รู้บทบาทของข้าราชการในยุคโลกาภิวัตน์ ข้าราชการควรรู้และให้ความสนใจกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลก ทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม เรียนรู้ว่าข้าราชการที่พึงประสงค์ควรมีลักษณะเช่นไร เช่น ควรเป็นผู้มีวิสัยทัศน์ มีความรู้ ความสามารถ เป็นคนดี แสวงหาความรู้ตลอดเวลา  มีวิสัยทัศน์ ต้องทำงานเชิงรุก คำนึงถึงผลสัมฤทธิ์ ใช้เทคโนโลยีเป็น เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง และอื่นๆอีกมากมายรู้หลักการบริหารระบบราชการ ควรยึดหลักคุณธรรม หลักผลงาน หลักการกระจายอำนาจ หลักสมรรถนะรู้ระบบการจำแนกตำแหน่งซึ่งสิ่งต่างๆที่ได้รับเป็นสิ่งที่มีความจำเป็นที่ข้าราชการต้องมีความรู้ เข้าใจในทุกๆเรื่องเพื่อให้เป็นข้าราชการที่พึงประสงค์ในยุคโลกาภิวัตน์ประโยชน์ของบุคคลที่ได้จากการเรียนรู้ทำให้รู้บทบาทที่พึงปฏิบัติในโลกโลกาภิวัตน์ และสามารถบริหารจัดการงานและสิ่งต่างๆได้สอดคล้องและเหมาะสมประโยชน์ต่อองค์กร จะนำไปถ่ายทอดให้เพื่อนร่วมงาน และผู้ใต้บังคับบัญชาได้ทราบด้วย ซึ่งคาดว่าหากทุกคนในองค์กรรู้บทบาทที่พึงปฏิบัติในโลกโลกาภิวัตน์ จะสามารถบริหารจัดการงานและสิ่งต่างๆได้สอดคล้องและเหมาะสม 
รายงานผลที่ได้จากการเรียนรู้หัวข้อ   นวัตกรรมกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์โดย อาจารย์ศุภชัย หล่อโลหะการ ประโยชน์ที่ได้จากการเรียนรู้ มีความรู้และเข้าใจคำว่านวัตกรรมที่ชัดเจนมากขึ้น สามารถแยกแยะได้ว่าความคิดสร้างสรรค์ หรือผลิตภัณฑ์ใดเข้าข่ายเป็นนวัตกรรมมีความรู้เกี่ยวกับแนวคิดการจัดการนวัตกรรมประโยชน์ของบุคคลที่ได้จากการเรียนรู้                ทำให้เกิดแนวคิดใหม่ๆที่จะจัดการนวัตกรรมขององค์กร ประโยชน์ต่อองค์กร จะนำไปถ่ายทอดให้ผู้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน และผู้ใต้บังคับบัญชาได้ทราบด้วย ซึ่งคาดว่าหากทุกคนในองค์กรมีความรู้ เข้าใจจะทำให้เกิดแนวคิดใหม่ๆที่จะจัดการนวัตกรรมขององค์กร ได้ดีเพื่อการพัฒนาองค์กรให้เปลี่ยนแปลงวิ่งตามทันโลกที่เปลี่ยนแปลงไป หัวข้อ   หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรับใช้กับความพอเพียงระดับองค์กรโดย ดร.อดิษฐ์ อิศรางกูร ณ อยุธยาประโยชน์ที่ได้จากการเรียนรู้ มีความรู้และเข้าใจหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่ชัดเจนมากขึ้น สามารถแยกแยะได้ว่าการปฏิบัติตน การดำเนินการในเรื่องสอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงประโยชน์ของบุคคลที่ได้จากการเรียนรู้                ทำให้เกิดแนวคิดใหม่ๆที่จะจัดการตนเองปฏิบัติตนได้สอดคล้องเป็นตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประโยชน์ต่อองค์กร จะนำไปถ่ายทอดให้ผู้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน และผู้ใต้บังคับบัญชาได้ทราบด้วย ซึ่งคาดว่าหากทุกคนในองค์กรมีความรู้ เข้าใจจะทำให้เกิดแนวคิดใหม่ๆที่จะจัดการตนเอง องค์กร ได้สอดคล้องเป็นตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อองค์กรและประเทศชาติ 
 กลุ่ม 5สิ่งที่ได้จากเวทีเรียนรู้ในวันเสาร์ที่ 4 สิงหาคม 2550ประโยชน์ต่อตนเอง
  1. ได้รบรู้ เรียนรู้ และเข้าใจในการสร้างนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรและปรัชญาแนวคิด เศรษฐกิจพอเพียง
  2. ได้แนวคิดในการสร้างนวัตกรรม และการน้อมนำปรัชญาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใช้ในการพัฒนาตนเอง เพื่อนร่วมงานและเกษตรกร
  3. ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างวิทยากรและเพื่อนร่วมเรียนรู้
 ประโยชน์ต่อหน่วยงาน1.     หน่วยงานได้บุคลากรที่มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องแนวคิด ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแลการสร้างนวัตกรรมที่เกี่ยวกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์2.     หน่วยงานได้แนวคิดแนวทางในการสร้างนวัตกรรมเพื่อพัฒนางานด้านเกษตรเกิดประโยชน์ต่อเกษตรกร3.     หน่วยงานได้แนวทางในการนำแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ปรับใช้ในการดำเนินงานทั้งระดับหน่วยงาน ระดับชุมชน เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้เกี่ยวข้อง
กลุ่ม 7วันที่ 4 สิงหาคม 2550 ประโยชน์ต่อตนเอง1.    ทำให้มีแนวคิดสร้างสรรค์  มีกระบวนการและวิธีการทำงานที่มีประโยชน์มากขึ้น2.    สามารถปรับสมดุลในการดำรงชีวิตให้มีความสุข ประโยชน์ต่อหน่วยงาน1.    สามารถนำความรู้ไปปรับปรุงวิธีการ กระบวนการทำงานให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด2.    สามารถนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาทำงานให้บรรลุเป้าหมาย  โดยมีเหตุ มีผล มีความพอดีและเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม   วันที่ 6 สิงหาคม 2550 ประโยชน์ต่อตนเอง1.    ได้ปรับเปลี่ยนความคิด/ทัศนคติในเชิงบวก2.    ได้พัฒนาบุคลิกภาพ ความมีมนุษยสัมพันธ์/ภาวะผู้นำ ประโยชน์ต่อหน่วยงาน1.    เสริมสร้างความร่วมมือในการทำงานกับบุคคลอื่น2.    มีการประสานงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น 
ธนันท์ หาญเกริกไกร
ธนันท์  หาญเกริกไกร เลขที่ 52สรุปผลความรู้ประจำวันที่ 6 สิงหาคม 2550การบรรยายเรื่อง การคิดสร้างสรรค์ทางบวกด้วยเทคนิค Cresitive Thinking1. ความรู้ที่ได้รับ                1.1บุคคลจะประสบความสำเร็จได้ต้องประกอบด้วยความรู้ ความคิด และคน แต่ความคิดนั้นสำคัญที่สุด คือคิดสร้างสรรค์ทางบวกข้ามกรอบความคิดเดิมในสมอง(แบบฝนตกลงมาน้ำไหลเป็นทาง) ให้เกิดความคิดแนวทางใหม่ที่ดีและทำได้สำเร็จ โดยถือหลักถ้าเปลี่ยนความคิดได้ชีวิตก็เปลี่ยน                1.2 ควรเลือกฉลาดแบบนักปราชญ์ (Wise) หรือฉลาดคิดได้ทำได้จริง (Smart) แทนการฉลาดแบบเดิมที่มีอยู่ (Intelligence) แต่อย่าตกหลุมพรางความฉลาด หรือเลือกฉลาดแบบเห็นแก่ตัว (Clever) โดยกล้าที่จะทำสิ่งที่เป็นบุญแต่กลัวการกระทำที่เป็นบาป                1.3 นำความรู้ที่มีอยู่ (ปริญัติ) มาฝึกทำจริง (ปฏิบัติ) เพื่อให้เห็นจริงอย่างถ่องแท้ (ปฏิเวช)                 1.4 ให้มองเริ่มจากส่วนที่ดีของคนอื่นก่อนแล้วค่อยมองสิ่งที่ไม่ดีแล้วแนะนำร่วมแก้ไขดีกว่าเริ่มต้นด้วยการจ้องจับผิดกันและเป็นผู้ฟังที่ดี                 1.5 ควรทำให้ผู้ที่อยู่รอบข้างรู้สึกปลอดภัย มีอิสระ และปลดปล่อยตัวเอง และโล่งสบายโปร่งใส เพื่อให้การทำงานประสบผลสำเร็จ2. การนำความรู้ที่ได้รับไปใช้กับตนเองและองค์กร                นำไปปรับเปลี่ยนตนเองในการฝึกคิดสร้างสรรค์ทางบวก ข้ามกรอบความคิดเดิม เลือกที่จะฉลาดแบบนักปราชญ์ และนำความรู้ที่มีอยู่มาฝึกปฏิบัติให้เห็นจริงอย่างถ่องแท้ เพื่อนำมาพัฒนาองค์กร โดยสร้างบรรยายกาศให้เริ่มมองจากส่วนที่ดีของคนอื่นก่อน ไม่จ้องจับผิด สร้างให้ทุกคนรู้สึกมีความปลอดภัย มีอิสระและปลดปล่อยตัวเอง เพื่อให้การทำงานขององค์กรดำเนินไปได้ประสบผลสำเร็จ การบรรยายเรื่อง บทบาทของข้าราชการในยุกต์โลกาภิวัฒน์ 1.  ความรู้ที่ได้รับ                1.1 โลกมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากมาย สู่โลกแห่งเทคโนโลยีชีวภาพสารสนเทศ สามารถติดต่อสื่อสารได้อย่างรวดเร็ว เสมือนโลกนี้มีสัณฐานแบนราบ ระบบราชการอยู่ทามการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม จึงต้องสนใจสิ่งเหล่านี้ เพื่อเตรียมความเป็นผู้นำ ส่วนการพัฒนาของโลกต้องเป็นไปในแนวทางที่ยั่งยืน                 1.2 บทบาทของราชการไทยที่พึงประสงค์ ต้องมีใจให้บริการประชาชน เป็นกลางทางการเมือง ตัวแทนการเจรจา ทุ่มเททำงาน เป็นมืออาชีพ มีวิสัยทัศน์ ทำงานเชิงรุก คำนึงถึงผลสัมฤทธิ์ จัดลำดับความสำคัญ ยืดหยุ่นคล่องตัว ตื่นตัวต่อการเปลี่ยนแปลง ทำงานเป็นทีม ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี เป็นนักพัฒนา นักบริหาร และผู้นำการเปลี่ยนแปลง                1.3 นักบริหาร คือ การทำสิ่งใดซึ่งเป็นเรื่องที่ถูกต้อง เพื่อให้สำเร็จ (Do the right thing) ส่วนผู้นำการเปลี่ยนแปลงนั้น คิดทำในเรื่องที่ถูกต้องว่าควรจะทำอะไรให้สำเร็จ (Do the thing right)  -2-                 1.4 ต้องมีค่านิยมสร้างสรรค์ คือ กล้ายืนหยัดทำในสิ่งที่ถูกต้อง มีความซื่อสัตย์และรับผิดชอบ โปร่งใสตรวจสอบได้ โดยไม่เลือกปฏิบัติและมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน                 1.5 การบริหารระบบราชการ ต้องใช้หลักคุณธรรม หลักสมรรถนะ หลักผลงาน และหลักการกระจายอำนาจ ซึ่งสมรรถนะเป็นคุณลักษณะเชิงพฤติกรรม ที่เป็นผลจากความรู้ ทักษะ ความสามารถ ทำให้สร้างผลงานได้โดดเด่นในองค์กร และมีความจำเป็นที่ทำให้การปฏิบัติงานประสบผลสำเร็จ สมรรถนะประกอบด้วย สมรรถนะทั่วไป สมรรถนะเฉพาะตำแหน่งและสมรรถนะบริหาร                1.6 บทบาทหลักของ Leader’s Role คือ การเปลี่ยนแปลง (Change) พัฒนาไปสู่สิ่งที่ดีกว่า ต้องมีทักษะ เป็นผู้เชี่ยวชาญ สามารถจัดการความรู้และเป็นผู้นำในการจัดการความรู้ ซึ่งต้องสามารถคิดในสิ่งที่องค์กรจะเดินไปข้างหน้า เป็นผู้นำสู่ยุทธศาสตร์และแผนงานโครงการขององค์กรอย่างโปร่งใส มีจริยธรรม นำสู่วัฒนธรรมองค์กร เพื่อสร้างจิตวิญญาณ และค่านิยมร่วมในองค์กรสอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์ขององค์กร 2. การนำความรู้ที่ได้รับไปใช้กับตนเองและองค์กร                นำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาการบริหารระบบงานราชการ พัฒนาบทบาทผู้นำและการเป็นนักบริหารที่ดีในระบบราชการ โดยสร้างค่านิยมที่สร้างสรรค์ เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง และสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ดีต่อการปฏิบัติงานให้ประสบผลสำเร็จ เพื่อตนเองและองค์กรท่ามกลางกระแสโลกที่เปลี่ยนแปลงไป  --------------------------------------------------------             D/ธนันท์1/สรุปผลความรู้ประจำวันที่ 6 สิงหาคม 2550/เครื่องห้อง 329 
ประหยัด มะโนพะเส้า
นางสาวประหยัด  มะโนพะเส้าเลขที่  8  กลุ่มที่  5 สิ่งที่ได้จากเวทีเรียนรู้...วันที่  6  สิงหาคม  2550αประโยชน์ต่อตนเอง          1).ได้เรียนรู้  และรับรู้ถึงการคิดสร้างสรรค์ทางบวกด้วยเทคนิค Cresitive Thinking ของ Edword Dovono ได้รับรู้ถึงแนวคิดและการจุดประกายจากวิทยากร  โดยจะพยายามหลีกเลี่ยง การกระทำที่เรียกว่า  ฝนตกลงมา...น้ำไหลเป็นทาง  และ  การตกหลุมพรางความฉลาดและจะยึดถือหลัก กล้าบุญ...กลัวบาป  และ  Positive  Thinking       2).ได้เรียนรู้  รับรู้และเข้าใจในบทบาทของข้าราชการในยุคโลกาภิวัตน์  ทั้งในเรื่องของกระแสการเปลี่ยนแปลง  บทบาทของข้าราชการที่พึงประสงค์  การบริหารระบบราชการ  ระบบการจำแนกตำแหน่ง  สมรรถนะของข้าราชการ  ค่านิยมสร้างสรรค์ การจัดการความรู้ตลอดจนภาวะผู้นำของข้าราชการ          3).นำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้  ปรับปรุงตนเอง  เพื่อพัฒนาตนเอง  พัฒนางาน พัฒนาองค์กรให้เกิดประสิทธิภาพประโยชน์ต่อองค์กร·       องค์กร  ได้บุคลากรที่มีความรู้  ความเข้าใจในเรื่อง Positive  Thinking และบทบาทของข้าราชการในยุคโลกาภิวัตน์  และสามารถนำไปปฎิบัติเป็นแบบอย่างและเผยแพร่แก่เพื่อนร่วมงาน  เพื่อให้การพัฒนางานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น  เกิดประโยชน์กับบุคคลเป้าหมาย อันได้แก่  เกษตรกร  หน่วยงานและผู้เกี่ยวข้อง*********** 
ประเสริฐ เล็กรุ่งเรืองกิจ
ประเสริฐ  เล็กรุ่งเรืองกิจ-          อ.รัศมี สอนให้รู้จักการคิดสร้างสรรค์ โดยความสำเร็จจะเกิดจากความรู้ ความคิด และคน ธรรมชาติของมนุษย์จะมีความคิดแบบฝนตกลงมาน้ำไหลเป็นทาง คือมักจยึดกรอบความคิดแบบเดิม ๆ ซ้ำไปซ้ำมา ดังนั้นการคิดสร้างสรรค์ควรจะฉีกแนวความคิดออกเป็นหลาย ๆ รูปแบบ ไม่ยึดติดกับกรอบแนวคิดเดิม ๆ แลให้ระวังการตกหลุมพรางความฉลาด ผู้นำควรมีความฉลาดแบบ Intelligence และ Smart มีการคิดแบบปริญัติ-ปฎิบัติ- ปฏิเวท  ปลดปล่อยตัวเองอย่าปิดกัน โดยรู้สึกอิสระ กล้าบุญกลัวบาป มองคนในแง่ดี ให้คิดทางบวก สมคำอุปมา ถ้าเปลี่ยนความคิดได้ ชีวิตก็เปลี่ยนได้-          อ.สถิตย์ฯ สอนให้ทราบข้าราชการในยุคโลกาภิวัตน์ต้องเผชิญต่อการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทั้งการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม ในระบบประชาธิปไตยต้องมีการดุลและคาน บทบาทของข้าราชการไทย ข้าราชการพึงประสงค์ การบริหารระบบราชการ จะยึดหลักคุณธรรม หลักสมรรถนะ หลักผลงาน แลหลักกระจายอำนาจ และให้ความเกี่ยวกับระบบจำแนกตำแหน่ง การประเมินสมรรถนะ (ความรู้ + ทักษะ+ พฤติกรรม) การจัดการความรู้ , บทบาทของผู้นำ , รู้จักการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า และมองการณ์ไกล ผลสัมฤทธิ์ของงานประกอบด้วย Input Output และ Impact
มนัส  ลาภผล            การบรรยายเรื่อง การคิดสร้างสรรค์ทางบวกด้วยเทคนิค Cresitive Thinking ให้แง่คิดในเรื่องของการปรับเปลี่ยนกระบวนการคิดและพฤติกรรม ไม่ยึดติดกับกรอบแนวคิดเดิม ตามหลักปรัชญา ฝนตกลงมา น้ำไหลเป็นทาง รวมถึงการปลดปล่อยความคิดแบบปลอดภัย แลอิสระ หลุมพรางความฉลาด ซึ่งหากยังยึดติดกับความคิดของตนเองว่าถูกแล้ว ความคิดผู้อื่นผิดนั้น จะทำให้ตนเองไม่มีการพัฒนา และยังสร้างความเบื่อหน่ายให้กับผู้ร่วมงาน            นอกจากนี้ ยังได้เรียนรู้หลักของการคิดแบบสร้างสรรค์ ตามทฤษฎี 95% 5 % ซึ่งทำให้ได้รับประโยชน์อย่างมากในการนำไปปรับใช้ในองค์กร เพื่อให้ตนเอง และผู้ร่วมงานในองค์กรได้มีกระบวนการคิดที่เปิดกว้างมากขึ้น กล้าที่จะคิดสิ่งใหม่ ๆ ที่สร้างสรรค์เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาองค์กรให้มีความทันสมัย และนำศักยภาพของคนในองค์กรมาให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ            สำหรับการบรรยายเรื่องบทบาทของข้าราชการในยุคโลกาภิวัตน์ ให้แง่คิดในเรื่องการปรับตัวของข้าราชการให้ทันกับกระแสการเปลี่ยนแปลงทั้งในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม รวมถึงเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม แต่ทั้งนี้การเปลี่ยนแปลง หรือพัฒนาจะต้องมีความยั่งยืน นอกจากนี้ยังได้รับความรู้เพิ่มเติมในเรื่อง คุณสมบัติของข้าราชการพึงประสงค์ การจัดกรความรู้ สมรรถนของข้าราชการที่จะต้องมีในเรื่องการมุ่งผลสัมฤทธิ์ การบริการที่ดี การสั่งสมความรู้ ความเชี่ยวชาญในวิชาชีพ การมีจริยธรรม และการทำงานเป็นทีม ซึ่งการบรรยายในหัวข้อดังกล่าวจะเป็นประโยชน์ต่อตนเองและองค์กรอย่างมาก เนื่องจากการทำงานด้านวิชาการจะไม่ค่อยมีโอกาสในการได้รับรู้รับทราบถึงเรื่องที่เกี่ยวกับการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีและธรรมาภิบาล ซึ่งเป็นเรื่องที่สำคัญสำหรับการเปลี่ยนแปลงบทบาทของข้าราชการ ที่จะมีเป็นผู้ที่มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความรู้สหสาขาวิชา เพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก ทำให้ข้าราชการสามารถเป็นที่พึ่งของประชาชนได้อย่างแท้จริง
  วันที่ 6 สิงหาคม 2550 นายสมเจตต์  แสนกล้า อ.รัศมี  ธันยธรหัวข้อ การคิดสร้างสรรค์ทางบวกด้วยเทคนิค-          ฝนตกน้ำไหลเป็นทาง-          ให้คิดแบบใหม่ หาทางใหม่-          ให้ระวังหลุมพรางความฉลาด-          เน้นความปลอดภัย และความมีอิสระ-          กล้าบุญ กลัวบาป-          95% กับ 5 % เรามักมุ่งในจุด 5%-          เป็นตัวของเราเองนั่นแหละดีที่สุด-          คิดในเชิงบวก เพื่อไม่มีปัญหา-          ถ้าเราเปลี่ยนความคิดได้ ชีวิตก็เปลี่ยน อ.สถิตย์  ลิ่มพงศ์พันธ์ -  ข้าราชการยุคปัจจุบันหนีไม่พ้นความเปลี่ยนแปลง-  ระบบประชาธิปไตยไทยต้องมีการถ่วงดุลกับต้องแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ และมองการณ์ไกล-  บทบาทข้าราชการไทย-  ข้าราชการที่พึงประสงค์- ค่านิยมสร้างสรรค์ของข้าราชการ- การบริหารราชการ- ระบบการจำแนกตำแหน่งข้าราชการแบบใหม่- การจัดการความรู้- บทบาทของผู้นำ
อารีรัตน์ สีคล้าย
เลขที่ 40วิชา  การคิดสร้างสรรค์ทางบวกด้วยเทคนิค          โดย   อาจารย์รัศมี  ธันยธรประโยชน์ที่ได้จากการเรียนรู้วิชาดังกล่าว  คือ1.  เรื่องฝนตกน้ำไหลเป็นทางเดียวกัน  ซึ่งเป็นการยกตัวอย่างทำให้เห็นภาพที่ชัดเจน2.  ให้คิดแบบใหม่ ๆ ทำสิ่งใหม่ ๆ เลี่ยงรูปแบบเดิม ๆ 3.  หลุมพรางความฉลาด  ควรปรับตัวเองให้เป็น wise man ให้ได้4.  เกี่ยวกับความปลอดภัย และความอิสระ5.  กล้าบุญ  กลัวบาป6.  การคิด 95%ในทางที่ถูก กับการคิด 5% ในทางที่ผิด  คนเรามักจะคิดในทางที่ผิดตลอด ทั้ง ๆ ที่มี  ความผิดเพียง 5%7. เราเป็นตัวเราที่ธรรมดา และเป็นธรรมชาติดีแล้ว8. ควรคิดในทางบวก9. หากเราเปลี่ยนความคิดได้  ชีวิตเราก็เปลี่ยน วิชา  บทบาทของข้าราชการในยุคโลกาภิวัตน์      โดย  อาจารย์สถิต   ลิ่มพงศ์พันธ์ประโยชน์ที่ได้จากการเรียนรู้วิชาดังกล่าว คือ1. ข้าราชการยุคปัจจุบันต้องกล้าเผชิญกับความเปลี่ยนแปลง2. เรื่องการกระจายรายได้3. ระบบประชาธิปไตย  ต้องมีการคานอำนาจกัน4. รู้จักการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า และมองการณ์ไกล5. การมีเทคโนโลยีใหม่ ๆ ทำให้สังคมเปลี่ยนไป6. ข้าราชการพึงประสงค์ ซึ่งประกอบไปด้วย                 - เป็นมืออาชีพ                - มีวิสัยทัศน์                - ทำงานเชิงรุก                - คำนึงถึงผลสัมฤทธิ์                - จัดลำดับความสำคัญ                - มีความยืดหยุ่นคล่องตัว                - มีความตื่นตัวต่อการเปลี่ยนแปลง                  - มีความสามารถในการทำงานเป็นทีม                - สามารถใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี   เป็นต้น7. การเป็นผู้นำกับผู้จัดการมีความต่างกัน และเราจะต้องเป็นทั้งผู้นำและผู้จัดการ8. ค่านิยมแบบสร้างสรรค์ ทั้งความคิด และทางปฏิบัติ9. ผลสัมฤทธิ์ ซึ่งประกอบด้วย output คือ ผลลัพธ์ outcome คือความพึงพอใจ และ impact คือ ผลกระทบที่เกิดจาก oupput  และ outcome10. หลักการบริหารราชการ ซึ่งประกอบด้วย หลักคุณธรรม หลักสมรรถนะ หลักผลงาน หลักการกระจายอำนาจ11. การจัดการความรู้  ซึ่งประกอบด้วย                - Tactic knowledge          - Explicit    ความหมายก็คือ-          อะไรคือความรู้ที่เราต้องการ-          แสวงหาความรู้ที่ต้องการ-          การกระจายความรู้นั้นออกไป-          นำความรู้นั้นไปใช้ให้เป็นประโยชน์12. สรุปแล้ว หลักของผู้นำคือ การเปลี่ยนแปลง  (Leader’s Role)          และการที่จะเป็นผู้นำที่ดีได้ต้องมี-          ความคิดทางกลยุทธ์ (Strategic Thinking)-          ต้องเป็นคนนำ (Leading)-          ต้องมีความโปร่งใส มีจริยธรรม (Integrity)-          ต้องมีวัฒนธรรมที่ดีในองค์กรนั้น ๆ (Culture)  อารีรัตน์   สีคล้ายเลขที่ 40กรมพัฒนาที่ดิน
สรศักดิ์ เทวะผลิน

ในวันนี้(7 สค.50) ได้ร่วมเรียนรู้เกี่ยวกับเทคนิคการประชุม การพูดต่อหน้าสาธารณชน กลยุทธ์การคิดแบบผู้บริหารยุคใหม่ การบริหารความขัดแย้งและการตัดสินใจ
ความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับในวันนี้นับว่ามีประโยชน์อย่างยิ่งต่อการปฏิบัติงานของข้าราชการกระทรวงเกษตรฯ เป็นแนวคิดใหม่ที่จะทำให้การทำงานในสภาวะต้องคำนึงถึงประโยชน์ของประชาชนเป็นที่ตั้งสามารถดำเนินการไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผล ในสภาพการทำงานในปัจจุบัน ความถูกต้อง รวดเร็ว เป็นที่พอใจของผู้รับบริการนับเป็นสิ่งที่ข้าราชการในยุคนี้และในอนาคตต้องพิจารณาและคำนึงถึงเป็นอย่างยิ่ง การได้รับความรู้เพิ่มเติม ได้รับประสบการณ์ใหม่ ๆ อย่างนี้ จะส่งผลให้เกิดการปรับต้ว เปลี่ยนแปลงตนเอง พ้ฒนาตนเองให้ดีขึ้น กระตือรือร้นมากยิ่งขึ้น และผลที่จะกระทบต่อองค์กรก็คือ จะทำให้องค์กรได้บุคลากรที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น และที่แน่นอนทีสุดก็คือ การที่จะได้นำความรู้และประสบการณ์นี้ไปเผยแพร่ให้กับบุคลากรในองค์กร ให้ได้ร้บความรู้นี้ไปใช้ในการปรับตนเพื่อพัฒนาผลงานขององค์กรต่อไป รวมทั้งเป็นการต่อยอดการเรียนรู้ให้เพิ่มมากขึ้น มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรู้ให้เกิดเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้นต่อไป

ขอขอบพระคุณท่านอาจารย์จีระ อาจารย์ท่านอื่น ๆ และน้อง ๆ เจ้าหน้าที่ที่น่ารักทุกท่านที่ได้กรุณาให้ความรู้ และให้การต้อนรับเป็นอย่างดียิ่ง

ขอบพระคุณครับ

สรศักดิ์

ชลธิศักดิ์ ชาวปากน้ำ
การคิดสร้างสรรค์ทางบวกด้วยเทคนิCresitive Thinking                ความสำเร็จของการทำงานเกิดจาก ความรู้ ความคิด และคน ซึ่งความรู้เป็นสิ่งที่ทุกคนมีอยู่แล้ว แต่การนำความรู้ออกมาใช้ประโยชน์ได้มากน้อยแค่ไหนอยู่ที่ความคิดและคนซึ่งเป็นผู้ใช้ความรู้นั้น                กระบวนการใช้ความคิดนั้นผ่านขั้นตอนการทำงานของสมองที่มักจะทำในสิ่งที่คุ้นเคยก่อน, บทบาทเดิมๆ วิธีการเดิมๆ เหมือนหลักการของ ฝนตกลงมาน้ำไหลเป็นทางที่มักจะเป็นทางเดียวกันเสมอ และเมื่อเวลาผ่านไปทางน้ำก็ยิ่งกว้างและลึกมากขึ้น เมื่อพบกับการเปลี่ยนแปลง ถ้าไม่มีกล่องความคิดอื่นๆ สำหรับเป็นฐานข้อมูลในการหาทางแก้ปัญหา ก็จะทำให้งานที่รับผิดชอบไม่สำเร็จเพราะหาทางออกไม่ได้ ซึ่งในคำสอนของพระพุทธศาสนาได้มีหลักการดังกล่าวคือ ปริยัติ (หลักทางทฤษฏีในพระไตรปิฎก) ปฏิบัติ (การลงมือทำ) ปฏิเวท (การเกิดความรู้ความชำนาญ)                การใช้ความคิดจะเกิดเป็นความฉลาดได้หลายรูปแบบเช่น  Wise ความฉลาดแบบมีปัญญา smart ความฉลาดแบบสร้างสรรค์ clever ฉลาดแกมโกง และ Intelligent ความฉลาดทางวิชาการ ซึ่งต้องระวังถ้าใช้อย่างทะนงตนว่าแน่ ไม่สนใจความคิดของตนอื่น จนกลายเป็นความหยิ่ง จะทำให้ตกหลุมทางความฉลาด ซึ่งการที่จะก้าวข้ามให้พ้นวิธีคิดแบบ ฝนตกน้ำไหลเป็นทางต้องใช้ความเข้าใจ ไม่ติเตียนคนอื่น ยอมรับในตัวตนที่เขาเป็น และปลดปล่อยตัวเองอย่างปลอดภัยและอิสระ โดยสร้างค่านิยม กล้าบุญ กลัวบาปให้มีในจิตใจ นอกจากนี้ต้องระวังการมองจุดเสียของงาน 5 เปอร์เซ็นต์ แล้วเอาไปตัดสินงานที่ดีอีก 95 เปอร์เซ็นต์ ว่าไม่มีทางสำเร็จ ต้องใช้การรักษาข้อดีและหาทางแก้ไขข้อเสีย ด้วยการคิดเชิงบวกประโยชน์ สามารถใช้เป็นบทฝึกฝนตนเองให้ก้าวข้ามข้อจำกัดในใจเพื่อปลดปล่อยศักยภาพที่มีออกมาให้เต็มที่ บทบาทของข้าราชการยุคโลกาภิวัตน์ข้าราชการในยุคนี้ต้องคาดการณ์ให้ได้ว่าในอนาคตจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร เพื่อเตรียมความพร้อมในการทำงานที่ให้ผลงานที่มีผลสัมฤทธิ์ที่ตอบสนองด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมและเป็นธรรม โดยข้าราชการต้องปรับเปลี่ยนมาเป็นการให้บริการประชาชน ทำหน้าที่เชื่อมโยงนโยบายของรัฐบาลมาสู่การปฏิบัติ และเป็นกลางทางการเมือง ข้าราชการต้องมีความเป็นมืออาชีพ, มีวิสัยทัศน์, ทำงานเชิงรุก คำนึงถึงผลสัมฤทธิ์ รู้จักการจัดลำดับความสำคัญ มีความยืดหยุ่นคล่องตัว มีความตื่นตัว มีค่านิยมทำงานเป็นทีมและสามารถใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีได้   ชลธิศักดิ์ ชาวปากน้ำ กรมประมง
สรศักดิ์ เทวะผลิน

9 สิงหาคม 2550

วันนี้ได้เดินทางไปเพื่อศึกษาดูงานกิจการปลูกพืชเกษตรอินทรีย์ โดยเฉพาะหน่อไม้ฝรั่ง ที่จังหวัดสระแก้ว การเดินทางไปครั้งนี้แม้จะเหนื่อยและใช้เวลาเดินทางค่อนข้างนาน แต่สิ่งที่ได้ก็คุ้มค่า ได้พบเห็นและรับทราบองค์ความรู้ ประสบการณ์ต่าง ๆ จากพื้นที่จริงและเห็นสภาพจริง ที่เป็นรูปธรรม สิ่งที่ได้ในวันนี้เป็นการจุดประกายแนวคิดในการประกอบอาชีพเกษตรแนวทางใหม่ที่กำลังเป็นที่นิยมในภาวะปัจจุบัน เป็นที่ต้องการของผู้บริโภคส่วนใหญ่ ที่นับวันจะคำนึงถึงสุขภาพของตนเอง ซึ่งหากได้นำความรู้ไปเผยแพร่ให้สามารถเป็นที่รับรู้กันอย่างแพร่หลายมากยิ่งขึ้นก็จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อเกษตรกรทั่วไป ซึ่งแน่นอนการนำไปเผยแพร่และถ่ายทอดประสบการณ์ความรู้ เป็นกระบวนการที่นักพัฒนาทรัพยากรฯ นำไปใช้ในการปฏิบัติงานเป็นประจำอย่างสม่ำเสมอ นอกจากนี้ยังได้เป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร่วมกันอย่างแพร่หลายอีกด้วย
การปฏิบัติงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ควรจะนำแนวทางต่าง ๆ ไปศึกษาเพื่อให้ได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือและนำไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป
ในการเดินทางไปครั้งนี้ ได้รับการอำนวยความสะดวกจากเจ้าหน้าที่ น้อง ๆ ที่คอยดูแล เป็นอย่างดี และที่สำคัญคือ ท่านอาจารย์จีระ ได้ร่วมเดินทางไปด้วยนับเป็นขวัญกำลังใจที่ได้รับ และเกิดความปลาบปลื้มเป็นอย่างยิ่ง
ขอบคุณครับ
สรศักดิ์

ทัศนศึกษาดูงาน ณ ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง พื้นที่ปลูกหน่อไม้ฝรั่งอินทรีย์อำเภอคลองหาด จังหวัดสระแก้ว ปัญหาสำคัญของเกษตรกรคือราคาผลผลิตที่ได้รับมีความต่างจากท้องตลาดอย่างมาก ทำให้อยู่ในสภาพที่เสียเปรียบมาตลอด เพราะมีความไม่ยุติธรรมในการกระจายส่วนแบ่งราคาในระบบการตลาด จากการศึกษางานที่ ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง พื้นที่ปลูกหน่อไม้ฝรั่งอินทรีย์ อำเภอคลองหาด จังหวัดสระแก้ว เป็นตัวอย่างที่แสดงให้เห็นว่ายังมีระบบที่สามารถทำให้เกิดความยุติธรรมได้ โดยใช้การทำการเกษตรแบบมีสัญญาซื้อขาย โดยมีหลักการดังนี้1.การรวมกลุ่มเพื่อผลิต หมายรวมทั้งการรวมพื้นที่เพื่อให้เป็นแปลงผลิตที่มีขนาดใหญ่เพียงพอที่จะสามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขของมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ และมีผลผลิตที่ต่อเนื่องในปริมาณที่เหมาะสมกับความต้องการของตลาดการรวมกันทำงานในทุกๆด้าน2. การจัดตั้งจุดรับซื้อให้ใกล้กับเกษตรกรเพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ ไม่ใช่ตั้งตลาดกลางขนาดใหญ่แต่เกษตรกรไม่สะดวกในการนำผลผลิตไปส่ง3. การตั้งราคาโดยพิจารณาจากราคาตลาดระดับสูงควบคู่กับต้นทุนการผลิตของเกษตรกร เพื่อกำหนดราคาที่พอใจด้วยกันทุกฝ่ายโดยมีเงื่อนไขที่สำคัญคือ 1.ความซื่อสัตย์ และมีคุณธรรมของทั้งเกษตรกรและบริษัทที่เข้าร่วม2. ได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลและนักวิชาการ ประโยชน์ที่ได้รับ                 การเพิ่มผลตอบแทนให้กับเกษตรกรนอกจากการทำให้ผลผลิตให้มีคุณภาพแล้ว การลดความสูญเสียโดยการกำหนดมาตรฐานผลผลิตตั้งแต่ออกจากฟาร์มและปรับเปลี่ยนวิธีการขนส่งให้มีคุณภาพ สามารถเพิ่มผลตอบแทนได้ถึง 50%                ได้เรียนรู้ถึงระบบการจัดการตลาดสินค้าเกษตรที่สามารถนำไปปฏิบัติได้จริง ไม่ต้องผ่านคนกลาง ประเด็นที่สำคัญคือการรวมกลุ่มอย่างเป็นรูปธรรมและสมาชิกในกลุ่มมีความเข้าใจในเป้าหมายเดียวกัน ยอมรับซึ่งกันและกัน เผชิญและแก้ปัญหาร่วมกัน

กลุ่ม 4

กลุ่มที่ 5สรุปความรู้จากการทัศนศึกษาดูงาน ประจำวันที่ 9 สิงหาคม 2550การทัศนศึกษาดูงานโครงการปลูกหน่อไม้ฝรั่งอินทรีย์และสหกรณ์โคนมวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว1. ความรู้ที่ได้รับ                1.1 การแก้ไขปัญหาให้แก่เกษตรกรนั้นต้องมีการวิเคราะห์หาสาเหตุที่มาของปัญหาที่แท้จริงตลอดจนความเชื่อมโยงของปัญหาโดยให้เกษตรกรมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาแบบครบวงจร โดยเน้นระบบการจัดการตลาดแบบข้อตกลงล่วงหน้า(Contract Farming) ต้องลดการสูญเสียจากการขนส่งผลผลิต การทำเกษตรอินทรีย์เพื่อลดต้นทุนการผลิตและมาตรฐานของเกษตรอินทรีย์  เช่นการแก้ไขปัญหาความยากจนต้องหาสาเหตุว่าทำไมถึงจนมีวงจรอย่างไร แล้วนำมากำหนดแนวทางในการแก้ไข โดยต้องดูทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นนั้น ๆ ประกอบการตัดสินใจหาทางเลือกที่เหมาะสมและสามารถหานวัตกรรมเพื่อแก้ปัญหาใหม่ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตได้ เช่น ภาวะโลกร้อนที่มีผลกระทบกับโครงการ                1.2 ใช้การรวมกลุ่มเกษตรกรในการดำเนินกิจกรรมตามทางเลือกในการแก้ไขปัญหาจะมีพลังในการขับเคลื่อนไปสู่ความสำเร็จ ซึ่งจะต้องปรับแนวคิดและพฤติกรรมของกลุ่มให้เป็นไปในแนวทางเดียวกันในเชิงบวก มีข้อตกลงร่วมกันและติดอาวุธทางปัญญา(ใส่สมอง)ให้กับเกษตรกร                1.3 โครงการที่ดำเนินการจะต้องครบวงจร โดยประสานทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชนในการดำเนินงาน ซึ่งต้องวิเคราะห์บทบาทและคุณสมบัติของแต่ละภาคส่วนที่จะต้องมีเพื่อเอื้อให้การดำเนินงานประสบความสำเร็จ ผลการดำเนินงานที่ได้ต้องส่งผลให้ทุกฝ่ายได้ประโยชน์แบบ WIN  WIN                1.4 ต้องยืนหยัดในหลักการทำงานที่เราได้กำหนดเป้าหมายเอาไว้ และหลีกเลี่ยงการครอบงำทางการเมืองหรือสิ่งต่าง ๆ ที่จะทำให้ไม่สามารถเดินไปสู่เป้าหมาย ซึ่งต้องใช้การบริหารความเสี่ยงเข้ามาช่วย2. การนำความรู้ที่ได้รับไปใช้กับตนเองและองค์กร                นำไปปรับเปลี่ยนแนวความคิดและวิธีการดำเนินงานของตนเอง และองค์กรในการบริหารจัดการโครงการแบบครบวงจร โดยการวิเคราะห์และตัดสินใจด้วยเหตุผลและข้อเท็จจริงตามสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจและสังคมโลกที่เปลี่ยนแปลงไป อย่างรู้ทันและคาดการณ์อนาคตที่จะเกิดขึ้นเพื่อปรับกลยุทธในการดำเนินงานให้สอดรับกับการเปลี่ยนแปลง หรือปัญหาใหม่ที่เกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสม โดยต้องยืนหยัดในหลักการทำงานที่เราได้กำหนดเป้าหมายเอาไว้แล้ว --------------------------------------------------------  D/ธนันท์1/สรุปความรู้จากการศึกษาดูงานประจำวันที่ 9 สิงหาคม 2550/เครื่องห้อง 329

การศึกษาดูงาน พื้นที่ปลูกหน่อไม้ฝรั่งอินทรีย์ จ.สระแก้ว วันที่ 9 ส.ค. 50

จากปัญหาความยากจนของเกษตรกร อันสืบเนื่องมาจากสาเหตุต่าง ๆ หลายประการ เช่น

1. การถือครองที่ดิน / แปลงเล็ก เช่า ผลผลิตน้อย

2. การเข้าถึงตลาด / เข้าไม่ถึงตลาด พ่อค้าคนกลาง

3. ห่วงโซ่อุปทานที่ไม่มีประสิทธิภาพ (Supply Chain)

การแลกเปลี่ยนสินค้ามีหลายขั้นตอน กว่าจะเข้าถึงผู้บริโภค ทำให้มีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นในแต่ละตอน

ทำให้เกิดการรวมตัวและรวมกลุ่มกันระหว่างเกษตรกร ในการผลิตสินค้าเกษตรภายใต้ความร่วมมือของผู้ประกอบการ และความสนับสนุนจากนักวิชาการ เกิดแนวคิดในการทำการเกษตรในลักษณะของการร่วมกลุ่ม และเอื้ออาทรต่อกัน โดยเกษตรกรอยู่ได้และผู้ประกอบการก็อยู่ได้ เป็นลักษณะของความร่วมมือกันแบบหุ้นส่วน เกษตรกรขายสินค้าได้ราคา บริษัทหรือผู้ประกอบการได้วัตถุดิบหรือสินค้าเกษตรที่มีคุณภาพ โดยการปลูกพืชแบบเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษ ได้มาตรฐานสากล มีการตกลงทำการเกษตรแบบมีสัญญาซื้อขาย ระหว่างเกษตรกรและผู้ประกอบการ ซึ่งส่งผลให้เกิดผลดีหลายประการ

1. การทำเกษตรแบบมีสัญญาซื้อขายช่วยให้หลุดพ้นภาวะและวงจรของความยากจนได้

2.มีการรวมกลุ่มเกษตรกรเพื่อให้ได้ปริมาณผลผลิตเพียงพอที่จะขนส่งได้คุ้มค่า

3. มีการวางแผนการปลูกให้ได้ผลผลิตต่อเนื่อง เพื่อที่จะส่งมอบให้ผู้ซื้อได้อย่างสม่ำเสมอ

4. มีการทำการเกษตรที่เป็นไปตามระบบการเกษตรที่ดีและเหมาะสม (GAP) เพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพและปลอดภัย

5. ผลผลิตที่มีคุณภาพปริมาณพอเพียงและส่งมอบได้อย่างต่อเนื่อง สามารถลดอัตราสูญเสียและลดต้นทุนการผลิตลง ทำให้ผู้ซื้อสามารถให้ราคาซื้อที่สูงขึ้นได้

6. เกษตรกรสามารถสู้ราคาขายได้ก่อนปลูก และถ้าได้ราคาไม่ดีพอ ก็ปฏิเสธการเข้าทำสัญญาได้

7.การต่อรองราคาในการเข้าทำสัญญาทำให้กลุ่มเกษตรกรสามารถขายได้ราคาสูงขึ้นได้จากการขายส่งตลาดตามปกติ

8. มีตลาดพร้อมที่จะรับผลผลิต

ทั้งนี้ การรวมกลุ่มกันดังกล่าวจะต้องมีความซื่อสัตย์ เอื้ออาทรต่อกัน ไม่เอารัดเอาเปรียบกัน มีการพูดคุยตกลงกัน

ประหยัด มะโนพะเส้า

...ถึงบ้านหรือยัง ?...

            ...เป็นอย่างไรกันบ้าง...เพื่อนผู้นำที่เตรียมความพร้อมเข้าสู่การเป็นผู้บริหาร  คงกลับถึงบ้านเรียบร้อยแล้วนะคะ...เริ่มได้ประมวลความรู้ที่ได้รับเตรียมนำเสนอผู้บังคับบัญชาและเพื่อนร่วมงานแล้วหรือยัง...พวกเราได้รับความรู้เยอะแยะมากจากเวทีเรียนรู้ของสถาบันเกษตราธิการที่มีท่าน ผอ.บุษบาเป็นโต้โผใหญ่...ร่วมกับมูลนิธิพัฒนาทรัพยากรมนุษย์แห่งประเทศไทย...ได้รับความรู้ที่หลากหลาย..สด..ทันสมัยและประกาย..พลังจากท่านอาจารย์ ดร.จีระ พร้อมทีมงาน Chiraacademy...ขอขอบคุณน้อง ๆ ทีมงานที่น่ารักทุกคนค่ะ.......

                                        ...โชคดีทุกท่านนะคะ 

 

สวัสดีครับชาวBlog และลูกศิษย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ทุกท่าน                  
                ผมขอขอบคุณอย่างสูงด้วยความจริงใจ ที่กรุณาให้เกียรติอาจารย์  ของขวัญที่ให้มีค่ามาก เพราะแปลว่า เรามีแสงสว่างร่วมกัน                 
                จบโครงการฯ เมื่อวันเสาร์ ผมเลยมาทำงาน ในฐานะนายกสมาคมนักเรียนเก่าเทพศิรินทร์ ดูแลทีมฟุตบอล ที่เทพศิรินทร์ซึ่งทุก ๆ 2 ปี จะมีการแข่งขันกับโรงเรียนสวนกุหลาบ คริสเตียน อัสสัมชัญ เน้น Spirit  เพื่อเน้นการสร้างสังคม และทีม Work                    
                และในวันพุธนี้ ผมจะไปพบท่าน ผ.อ.บุษบา เพื่อวางแผน Phase 2 ของท่าน จะรายงานให้ทราบ  ซึ่งผมเน้น                 
                ทฤษฎี 3 ต. คือ ต่อเนื่อง ต่อเนื่อง ต่อเนื่อง                
             และทฤษฎี 3 ต.ใหม่ คือ ต่อยอด ต่อยอด ต่อยอด                
             และทฤษฎี 3M คือ Mood Mood Mood   คืออารมณ์ที่หยั่งคิดและใฝ่รู้                 
                ท่านที่อยู่แถบอีสาน คงจะได้พบผมแน่ ๆ ที่ขอนแก่น ในวันที่ 27 29 สิงหาคม 2550 ที่โรงแรมโฆษะ (ผมจะมีการจัดให้กับ อบต.แถบภาคอีสานครับ)                 
           ผมรู้สึกเป็นเกียรติมาก ๆ ที่ได้รู้จัก กับผู้เข้าร่วมทั้ง 60 ท่านนะครับ                                                 
                         ขอขอบคุณ                                                                จีระ  หงส์ลดารมภ์

ถึงพี่น้องผู้ยริหารมืออาชีพชาว กษ

ผมใช้ [email protected] แทน [email protected] นะครับ

ถึง....เครือข่ายชาว กษ.

              ถึงที่พักเรียบร้อยแล้วนะค่ะ  สิ่งแรกที่จะบอกก็คือ คิดถึงเพื่อน ๆ ทุกคน และทีมงาน academy ที่น่ารักมาก ๆ แต่ที่สำคัญเพื่อน ๆ ลืมทำการบ้านของอ.จิระ หรือยัง เพราะเราหาข้อมูลไม่ได้ง่าย ๆ เลย ใครหาได้แล้วช่วยบอกต่อ ๆ ด้วยนะ อันที่จริงเราเข้า blog ตั้งแต่วันจันทร์ ตั้งหลายครั้ง แต่ทำยังไง มันก็ไม่ได้ ก็เลยทนไม่ไหว โทร.ถามน้องเอ ปรากฏว่า เวบมีปัญหานิดหน่อย เผื่อเพื่อน ๆ คนอื่น ๆ มีปัญหาเหมือนเรา แล้วถ้ามีเวลาขอให้เพื่อน ๆ อย่าลืมส่งข่าวถึงกันบ้างนะ     

                                                  ขอบคุณค่ะ..

                                        ตุ๊ก : พด.(กรมพัฒนาที่ดิน) 

 

สวัสดีค่ะ อาจารย์&ทีมงาน academy และ พี่ ๆ เพื่อน ๆ & น้อง ๆ ร่วมรุ่น 1 ทุกท่าน

          เราทั้งหลายคงได้เข้าสู่ที่ทำงานและดำเนินชีวิตตามปกติ เรียบร้อยทุกท่าน ซึ่งไม่เป็นไปตาม "ฝนตกลงมา น้ำไหลเป็นทาง" เพราะอย่างน้อยทุกคนได้รับทั้งพลังความรู้ พลังกาย และพลังใจ ที่อาจารย์ทุกท่านได้มอบให้ตลอดระยะเวลา 10 วันที่ผ่านมา เป็นดั่งแสงสว่างนำทางให้มุ่งสู่เป้าหมายของชีวิตดีงาม  รวมทั้งบ่มเพาะให้เราคิด พูด และทำในสิ่งที่ถูกต้องและดีงามตลอดไป ต้องขอบพระคุณเป็นอย่างสูงคะ

          ในขณะนี้ได้เริ่มต้นกับการเป็นคุณลิขิตชีวิตเราก่อน โดยการจัดการกับงานประจำที่สำคัญที่สุดให้เรียบร้อยก่อนก่อน แล้วจึงได้มาสู่งานใฝ่รู้ที่สำคัญรองลงมา นั่นคือการบ้านที่อาจารย์จีระ มอบหมายให้ทำส่งภายใน 2 สัปดาห์ ที่ต้องพยายามดำเนินการให้แล้วเสร็จต่อไปคะ  แต่ขอบอกว่าหาทางเข้าสู่ระบบยากจังเลย สมัครแล้วก็ยังไม่สามารถเข้าสู่ระบบได้สำเร็จคะ

          ขอให้ทุก ๆ ท่านโชคดี&ประสบความสำเร็จ มีความสุขและสนุกในชีวิตและการทำงาน นะคะ

                                                          ขอบคุณค่ะ

                                           เอ๋ : กรมส่งเสริมการเกษตร

 

 

กราบเรียน ศ.ดร.จีระ ที่เคารพ และเพื่อนผองน้องพี่ที่รักทุกท่าน

          ผมได้กลับมาอยู่กับครอบครัวแล้ว ด้วยความอบอุ่นเป็นที่สุด แต่งานก็มีมากขึ้นเป็นลำดับ ซึ่งผมกำลังคิดหาวิธีการให้สมาชิกสหกรณ์ มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นกว่าที่เป็นมาในอดีต โดยจะใช้ความรู้ต่าง ๆ ที่ได้รับมาจากการเรียนรู้ร่วมกัน มาประยุกต์ใช้ต่อไป แต่ในอีก 2-3 วันข้างหน้านี้ อย่าลีม ?? ไปใช้สิทธิของทุกท่านนะครับ (19 สิงหาคม 2550) รับ หรือ ไม่รับ เป็นสิทธิอันชอบธรรมของทุกคน

                                   คิดถึงทุก ๆ คน

                                            กวิน

ประหยัด มะโนพะเส้า กรมส่งเสรืมการเกษตร

...ทำ  Assingment...กันหรือยัง?

          ท่านผู้นำ (มืออาชีพ) ค้นหาข้อมูลและ Search กันบ้างหรือยัง IC ของ Stewart มีเยอะมากจริง ๆ ใครมีข้อมูลนำมาแลกเปลี่ยนกันอ่านบ้างนะคะ...ก่อนที่จะสังเคราะห์  วิเคราะห์ส่งอาจารย์  อาจารย์ ดร.จีระ ท่านให้กำลังใจพวกเราโดยจะเริ่ม ทำ Phase   2 ต่อแล้ว พวกเราสู้ ๆนะคะ แม้ว่ากลับไปทำงานแล้ว ยังเจอฝนตกลงมา...น้ำไหลเป็นทาง(ช่วงนี้ยิ่งหน้าฝนซะด้วย)น้ำหลากเลยหละ ยิ่งใกล้หมดปีงบประมาณด้วย...ยังไงก้อ..มองจุด  95 % เข้าไว้ค่ะ...

                                     ระลึกถึงทุกท่านค่ะ

                                       แดง : ลำพูน

 

ประเวศน์ ศิริศิลป์

ถึงเพื่อนๆ พี่น้องผู้นำทุกท่าน พอมีเวลา search ได้ข้อมูลมาบ้าง แต่ยังไม่รู้ว่าจะตัดสินใจเลือกชุดไหน ถ้าคืบหน้าจะส่งข่าวมา คิดถึงทุกคน  ขอให้มีความสุข กับคนที่รัก 

เวศน์  ชลประทาน

ชยุต ธรรมนิตยกุล กรมชลประทาน

อ.จีระ บอกให้มีความloveต่อทุกคนก่อนเสมอแล้วpositive thinking จะเกิดขึ้นตามมา ทำให้มีความคิดมากมายไม่รู้จบสามารถดำเนินการอะไรก็สำเร็จ

ชลธิศักดิ์ ชาวปากน้ำ: กรมประมง

ถึงพี่น้องทุกท่าน

ผมทำรายงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบถึงผลการอบรมดังนี้ครับ

รายงานผลการฝึกอบรมหลักสูตรพัฒนาภาวะผู้นำและเตรียมความพร้อมสู่การเป็นผู้บริหารมืออาชีพระหว่างวันที่ 1-11 สิงหาคม 2550วัตถุประสงค์ของโครงการ1.เพื่อให้ข้าราชการระดับ7 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์สามารถมองภาพใหญ่ของทรัพยากรมนุษย์ ว่าไม่ใช่ต้นทุน แต่เป็นกำไร2.สร้างสังคมการเรียนรู้ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์3.มีการทำ Workshop เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน4.ให้มีการนำเอาแนวคิดที่ได้จากการอบรมไปประยุกต์กับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของหน่วยงานเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและวัดผลได้กรอบความคิดในการเรียนรู้                1.การเรียนที่มีการโต้ตอบ แลกเปลี่ยนข้อมูลซักถามตลอดเวลา                2. การเรียนที่มีสิ่งแวดล้อมที่ดี มีบรรยากาศของการหาความรู้ได้ตลอดเวลา                3. การเรียนที่มีการพูดคุยและยอมรับกันด้วยเหตุผล                4.การเรียนที่เป็นสั่งคมของการเรียนรู้ โดยมีกลุ่มมีทีมที่ช่วยเหลือกันเรียนรู้อย่างต่อเนื่องเนื้อหาของการอบรม1.       หัวข้อที่ใช้เพื่อปรับลักษณะนิสัยและการเป็นต้นแบบของผู้นำที่เป็นมืออาชีพHR for Non-HR, 7Habits and 4 Roles of Leadership, เทคนิคการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ, การสร้างและบริหารทีมงานเพื่อผลงานที่เป็นเลิศ และการจัดการความรู้2.       หัวข้อที่ใช้ในการปรับเปลี่ยนมุมมองและแนวความคิดในการบริหารงานนวัตกรรมกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์, หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรับใช้กับความพอเพียงระดับองค์กร, การคิดสร้างสรรค์ทางบวกด้วยเทคนิค Cresitive Thinking, บทบาทของข้าราชการยุคโลกาภิวัตน์, บทบาทของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์กับงานวิจัยที่สร้างคุณค่า, คิดอย่างผู้นำ (การใช้หลัก 8 H: Heritage, Head, Hand, Heart, Health, Home, Happiness และ Harmony เป็นปรัชญาในการทำงาน), บทบาทของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์กับสังคม การเมือง และโลกาภิวัตน์ การบริหารโครงการและความเสี่ยง และ ทุนทางปัญญา ทางรอดของสังคมไทยยุคไร้พรมแดน3.       หัวข้อที่ใช้ในการปรับปรุงการนำเสนอแนวความคิดต่อสาธารณชนและบุคลิกภาพของผู้บริหารมืออาชีพการประชุมและการนำเสนอแบบมีประสิทธิภาพ, เทคนิคการพูดต่อหน้าสาธารณชน, กลยุทธ์การคิดแบบผู้บริหารยุคใหม่, การบริการความขัดแย้งและการตัดสินใจ, การสร้างความมั่นใจสู่บุคลิกภาพของนักบริหาร และ บุคลิกภาพของผู้นำมืออาชีพ สิ่งที่ได้จากการอบรม                แนวทางในการชักนำให้การทำงานภายในหน่วยงานมีค่านิยมในการทำงานเป็นทีมที่มีแนวความคิดเชิงบวก บนพื้นฐานของความมีเหตุผล ความพอประมาณ และป้องกันความเสียหาย อันประกอบด้วยความรู้และคุณธรรม เพื่อรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของโลก  กิจกรรมต่อเนื่อง                ผู้เข้ารับการอบรมต้องทำการบ้าน ในหัวข้อ Intellectual Capital ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และส่งให้ผู้จัดการอบรมอย่างต่อเนื่อง

 

ประเวศน์ ศิริศิลป์

ถึงเพื่อนพี่น้องผู้นำทุกท่าน

 เก็บมาฝาก           บาบาร่า เดอแอนเจอรีส นักเขียนชาวอเมริกัน   กล่าวไว้ว่า

“No one is in control of your happiness but you;
therefore, you have the power to change anything about yourself or your life
…that you want to change.”
praves   kromchol

สวัสดีค่ะพี่ ๆ ทุกคน

หวังว่าพี่ ๆ สบายดีนะคะ ดีใจที่พี่ ๆ ยังไม่ลืมเข้ามาแลกเปลี่ยนความรู้ ส่งข่าวคราวถึงกันที่นี่ พวกเราทีมงาน Chira Academy ทุกคนคิดถึงนะคะ และแจ้งข่าวดีว่าทำเนียบรุ่นเสร็จแล้วคาดว่าจะจัดส่งให้ถึงมือพี่ ๆ ทุกคนทางไปรษณีย์ประมาณอาทิตย์หน้านะคะ

หมายเหตุ อาจารย์จีระ ยังติดตามความเคลื่อนไหวของพี่ ๆ ทุกคนที่นี่เสมอค่ะ

                                   ทีมงาน Chira Academy

กราบเรียนอาจารย์จีระที่เคารพ และเพื่อนร่วมรุ่นทุกคน

          คิดถึงเพื่อน ๆ ทุกคน ครับ ไม่ทราบว่า ท่านประธานที่เคารพ (คุณวนิดา) ใช้หมายเลขโทรศัพท์ 081 - 8434446 ใช่หรือไม่ รวมถึงคุณอ๋อย แห่ง กรมชลประทาน 089-9227034 ใช่หรือไม่ เนื่องจากติดต่อไปแล้ว ผล ไม่สามารถติดต่อได้ ส่วนเพื่อนร่วมรุ่นคนอื่น หากได้ทำเนียบรุ่นแล้ว คงได้มีโอกาสติดต่อกัน นะครับ

                                     คิดถึงทุกคน

                                           กวิน

ประหยัด มะโนพะเส้า กรมส่งเสรืมการเกษตร

...Individual  Homework...

       สวัสดีค่ะ...เพื่อน ๆ ผู้นำของกระทรวงเกษตรฯรุ่นที่  1  ส่งการบ้านกันหรือยัง  น่าจะ...ไม่นะ เพราะไม่เห็นมีข้อมูลใน Blog เลย อย่าทำให้ท่านอาจารย์ ดร.จีระและทีมงาน และท่าน ผอ.บุษบาผิดหวังนะคะ  ขอย้ำการบ้านอีกครั้งนะคะ

  1). Search ใน Internet อ่านบทความเกี่ยวกับ IC ของ  Stewart  เปรียบเทียบ กับ 8K  และ 8Hของคุณหญิงทิพาวดี

  2).จะสร้างมูลค่าเพิ่มจาก IC ในกระทรวงเกษตรฯได้อย่างไร? ยกตัวอย่างที่เป็นรูปธรรม

ขณะนี้กำลังอ่าน...รวบรวม เรียบเรียง..วิเคราะห์และสังเคราะห์อยู่ค่ะ Search ใน Web Googleหรือ Amazon.com  ก็ได้ค่ะ ...ขอย้ำอย่าให้ท่านอาจารย์ผิดหวังนะคะ....

                                                ระลึกถึงเสมอค่ะ

                                               ประหยัด  :  ลำพูน 

ถึง พี่ ๆ เพื่อน ๆ และน้อง ๆ ร่วมสำนักทุกคน เพิ่งมีโอกาสได้อ่านข่าวของทุก ๆ คน รู้สึกว่าจะคร่ำเคร่งกับการหาข้อมูลทำการบ้านกันใหญ่  ตัวเองยังไม่มีโอกาสเลยเพราะจะต้องเดินสายอยู่คิดว่ากว่าจะว่างก็คงเป็นกลางเดือนไปแล้ว คิดถึงทุก ๆ คน และเป็นห่วงคุณธนาชัย ว่าเป็นอย่างไรบ้างเอาใจคนที่บ้านสำเร็จหรือเปล่า ยังไงก็ส่งข่าวด้วย สำหรับทุก ๆ คน ไม่ว่าจะกำลังทำอะไรอยู่ ขอให้มีความสุขและสนุกกับการทำการบ้านนะจ๊ะ ส่วนข้อมูลเรื่องการบ้านถ้ามีก็ส่งมาให้เน้อ

ตุลญา  พ.ด.

ชีวิต เม่งเอียด,สุนทร รัชฎาวงษ์,ศิริพรรณ สอาดสิทธิศักดิ์,อารีรัตน์ สีคล้าย,ชินวัฒน์ พรมมานพ
1.บทความเกี่ยวกับ IC ของThomas A. Stewart เปรียบเทียบกับ 8 K’s และ 8 H’s    ของคุณหญิงทิพาวดี      1.1 ทฤษฎีการบริหารและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ของThomas A. Stewart ประกอบด้วย           3 ส่วน คือ     (1) Human Capital ทุนมนุษย์ คือ ความรู้ ความสามารถของส่วนตัว การรู้จักตนเอง            สามารถจัดการหรือแก้ปัญหาได้ มีการเรียนรู้ พัฒนาต่อเนื่อง เกิดความชำนาญ             การจัดการที่เหมาะสม     (2) Structural Capital ทุนโครงสร้าง คือ ความรู้ ความสามารถที่สงวนไว้ การจัดการ           เกี่ยวกับ  กระบวนการ  เทคโนโลยี การปรับโครงสร้างองค์กร(3) Customer Capital ทุนลูกค้า คือ ความสัมพันธ์ของการจัดการ การบูรณาการ       การสร้างเครือข่ายอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน การแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์       และผลประโยชน์ร่วมกัน     1.2 ทฤษฎีการบริหารและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของคุณหญิงทิพาวดี ประกอบด้วย 8 H’s   (1) Heritage คือ รากเง้าที่มาที่ไป สิ่งที่ตกทอดมา พันธุกรรม มรดกทางวัฒนธรรม อันเป็น       รากฐานความเป็นชาติ แสดงถึงเอกลักษณ์ร่วมกัน คือการรู้จักตนเอง   (2) Head คือ การใช้สมองนั้นนอกจากจะได้ความคิดมีความรู้แล้ว ยังต้องมีสติกำกับ เมื่อ       คิดเป็นแล้ว ต้องคิดดีอีกด้วย เรียกว่า มีมันสมองที่รู้จักวิเคราะห์ ใช้เหตุผล ทำให้เกิด        ปัญญา   (3) Hand คือ การเป็นมืออาชีพในการปฏิบัติงาน เน้นที่การลงมือทำด้วยตนเอง   (4) Heart คือ จิตใจ มีความหมายขว้างขวางมาก เพราะจิตใจไม่มีขอบเขตจำกัด ต้องเป็น      จิตใจที่ดี ที่มีทัศนคติในเชิงบวก เป็นคนใจกว้าง โอบอ้อมอารี มีความยุติธรรม กล้าหาญ         มองโลกในแง่ดีเสมอ เอาใจเขามาใส่ใจเรา   (5) Health คือ สุขภาพ พลานามัยที่สมบูรณ์ มีความหมายมากสำหรับมนุษย์ เพราะ      สุขภาพดี คือ ทุกสิ่งทุกอย่างหากเราปรารถนาที่จะประสบความสำเร็จในทุกๆ ด้าน   (6) Home คือ เน้นที่บ้านและการมีครอบครัวอบอุ่น เพราะเป็นพื้นฐานสำคัญของทุกคน       ให้ใจ ให้ความรัก เสียสละกับครอบครัว   (7) Happiness คือ การดำเนินชีวิตอย่างมีความสุข โดยไม่เบียดเบียนใคร และไม่ทำให้      ใครเดือดร้อน   (8) Harmony คือ ความปรองดอง สมานฉันท์ สอดคล้อง กลมเกลียว ประนีประนอม    2. จะสร้างมูลค่าเพิ่มจาก IC ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้อย่างไร      2.1 เรื่องที่ประสบความสำเร็จ คือ การให้ความสำคัญกับภูมิปัญญาชาวบ้าน หรือปราชญ์ชาวบ้าน โดยนำภูมิปัญญาของปราชญ์แต่ละสาขา เช่น สาขาพืช ปศุสัตว์ ประมง ฯลฯ ตลอดจนการทำการเกษตรแบบผสมผสาน มาเป็นแนวคิดหรือเป็นต้นแบบ ในการพัฒนาตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้กับเกษตรกร        2.2 เรื่องที่ไม่ประสบความสำเร็จ คือ การบูรณาการ การสร้างเครือข่ายระหว่างเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกร ให้มีความยั่งยืน ที่ผ่านมาการบูรณาการ การสร้างเครือข่ายด้วยงบประมาณประจำปี เมื่อสิ้นปีหรือสิ้นสุดโครงการ ก็หยุดการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายต่างๆ เพราะฉะนั้น แนวทางการดำเนินงานเพื่อให้มีการบูรณาการ การสร้างเครือข่ายให้ประสบผลสำเร็จและยั่งยืน จะต้องพัฒนาเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรโดยใช้ทฤษฎี 8 k’s ของ ศ.ดร.จีระ ซึ่งประกอบด้วย 1.Human Capital ทุนมนุษย์ เป็นทุนที่ได้มาจากความรู้พื้นฐานของการศึกษาเล่าเรียน ที่ทุกคนจะต้องมีและสามารถสร้างต่อได้ 2.Intellectual Capital ทุนทางปัญญา มีความสามารถในการคิดเป็น วิเคราะห์เป็น แสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่อง และนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้มาสร้างมูลค่าเพิ่ม 3.Ethical Capital ทุนทางจริยธรรม ควรปลูกฝังให้เกษตรกรมีคุณธรรม จริยธรรม ในการนำความรู้ไปใช้และมีความตระหนักในการประกอบอาชีพ 4.Digital Capital ทุนทางเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร ข่าวสาร และการพัฒนาข้อมูล 5. Happiness Capital ทุนแห่งความสุข มนุษย์ทุกคนต้องการความสุข จะคิดหรือกระทำสิ่งใดก็ตามต้องคำนึงถึงความสุข จะทำให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ตนเองและผู้อื่น 6. Social Capital ทุนทางสังคม ต้องรู้จักการเข้าสังคม การรู้จักวางตัว หน้าที่และบทบาทของตนเองต่อสังคม เพื่อให้เกิดการยอมรับในสังคม 7.Talented Capital ทุนทางความรู้ ทักษะ และทัศนคติ การมีความรู้ ทักษะ และทัศนคติ ที่ดีถูกต้องสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 8.Sustainability Capital ทุนแห่งความยั่งยืน ต้องพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน เพื่อให้อยู่รอดและแข่งขันได้ในยุคโลกาภิวัฒน์
กราบเรียนท่านคณาจารย์ และสวัสดีครับพี่ เพื่อนและน้องๆทุกท่าน            มิได้หายไปไหนหรอกนะครับ ด้วยงานที่คั่งค้าง คงเหมือนๆกัน และพร้อมกับค้นหา ข้อมูล/ บทความที่จะนำมาสังเคราะห์เพื่อเป็นคำตอบ อยากบอกว่าได้ส่งมาแล้ว 1 ตอน แต่เกิดสายโทรหลุดไปเสียก่อน ซึ่งตอนนั้นพิมพ์สดๆมิได้ทำ backup file ไว้ใน Ms word (ประมาทไปหน่อย)ผมเห็นว่าคำถามการบ้านทั้งสองข้อของท่านอาจารย์จีระ นั้น มีความสัมพันธ์กันอย่างแน่นอน และวัตถุประสงค์ท่านอยากให้พวกเราได้ศึกษา หาคำตอบ และเมื่อพบคำตอบแล้วเราก็จะเข้าใจสิ่งเหล่านี้ได้ด้วยตนเองในระดับหนึ่ง คำสำคัญ             ทุนทางปัญญา(Intellectual Capital: IC)    สินทรัพย์ทางปัญญา (Intellectual Assets) (In-tangible Assests)สินทรัพย์ด้านวัตถุ(Tangible Assests)                        ทุนทางมนุษย์ (Human Capital)                                  ทุนทางโครงสร้างองค์กร(Structural Capital)                        ทุนทางการปฏิสัมพันธ์(Customer/ Relational Capital)เศรษฐกิจฐานความรู้( Knowledge Based Economy)เศรษฐกิจแบบสร้างมูลค่า( A New Value Creation Economy)                    Thomas A. Stewart (1997-2002)กับTerminologyต่างๆ

ผมขอลำดับแนวคิดเป็น 3 ลำดับ ดังนี้ครับ  

1. เหตุผล/ ที่มา : Globalization มีการเปลี่ยนแปลงในสภาพแวดล้อมของเศรษฐกิจโลก Thomas A. Stewart "นักคิดท่านหนึ่ง" สรุปไว้ว่า เศรษฐกิจโลกมีการเปลี่ยน Paradigmใหม่ จากเดิม การเพิ่มมูลค่าของเศรษฐกิจจากการลงทุนในสินทรัพย์ด้านวัตถุที่จับต้องได้ (Tangible Assests) ได้เปลี่ยนไปสู่การลงทุนใน สินทรัพย์ทางปัญญา (Intellectual Assets=In-Tangible Assests) เป็นเศรษฐกิจรูปแบบใหม่           Stewart (2001) อธิบายว่า เศรษฐกิจใหม่คือ เศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge Based Economy) ที่จะอยู่บนเสาหลัก 3 เสาคือ                1.ความรู้กลายเป็นอะไรที่เราต้องซื้อ(ลงทุน) ขาย(ทำกำไร) และต้องลงมือทำ(ศึกษาวิจัยทดสอบทดลอง) สิ่งเหล่านี้จึงเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญมากที่สุดของการผลิต          2. ผลต่อเนื่องที่ตามมาจากเสาหลักแรกคือ สินทรัพย์ความรู้นี้เป็น ทุนทางปัญญา” (Intellectual Capital) ซึ่งจะกลายเป็นสิ่งที่มีความสำคัญต่อธุรกิจมากกว่าเงินและสินทรัพย์ด้านวัตถุ และ        3. การที่จะทำให้เกิดความร่ำรวยในเศรษฐกิจใหม่และการหาประโยชน์จากสินทรัพย์ใหม่นี้ทำให้ธุรกิจนั้นๆต้องการตัวช่วย/ เทคนิคการจัดการ/ เทคโนโลยีและกลยุทธ์ใหม่ๆทั้ง 3 เสาหลักนี้จะกลายเป็นสิ่งกำหนด กฎ กติกา และกำไรของเศรษฐกิจโลกใหม่ทั้งหมด           ดังนั้น หัวใจสำคัญของเศรษฐกิจใหม่ เศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge Based Economy )หรือเศรษฐกิจแบบสร้างมูลค่า( A New Value Creation Economy) จึงอยู่ที่ การได้มาของ ทุนทางปัญญา (Intellectual Capital: IC) นั่นเอง    ซึ่ง Stewart ได้ให้แนวคิดไว้ว่า IC ขององค์กร ประกอบด้วยทุนหลักอีก 3 ทุน คือ

                    ทุนทางมนุษย์ (Human Capital) พูดเกี่ยวกับความรู้ ความสามารถในการเรียนรู้เชาว์ปัญญา และอื่นๆที่รวมเรียกว่า Talent, Competencies and Performance ของบุคลากร ซึ่งทั้งหมดเป็นทรัพยากรบุคล(HR)ในองค์กร ต้องลงทุน/ต้องคิดว่าเป็นต้นทุนและต้องรักษาคนเหล่านี้ไว้ เพื่อสร้างเทคโนโลยี นวัตกรรมที่ขายได้เป็นสินค้าขององค์กร นอกจากนี้ยังรวมถึงสิทธิบัตรทางปัญญาที่เกิดขึ้นจากองค์กร (ข้อนี้รู้สึกว่า ถ้าเราละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญาเขามากๆ เขาอาจจะเอาเราคืนเหมือนปี 2540 อีกหรือเปล่า555)

                        ทุนทางโครงสร้างองค์กร(Structural Capital)เป็นเรื่อง Non-HR พูดเกี่ยวกับ Knowhowในการบริหารจัดการองค์กรให้มีการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ ต้องใช้เครื่องมือบริหารจัดการ ต้องใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารเทศ เครื่องมือสำนักงาน  ล้วนแต่ต้องลงทุนทั้งสิ้นเช่นกัน ทั้งหมดทั้งปวงก็เพื่อสร้างความแข็งแกร่งให้แก่องค์กร                        ทุนทางลูกค้า/การปฏิสัมพันธ์ (Customer/ Relational Capital)พูดเกี่ยวกับการสร้างสรร จรรโลงและดำรงไว้ด้วยการมีปฏิบัติสัมพันธ์ที่ดี และการบริหารจัดการความสัมพันธ์ที่ดี ระหว่างทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง แม้แต่คู่แข่งก็ตาม ด้วยการมีเครือข่ายความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันทุกภาคส่วน เป็นเรื่องการสร้างแบรนด์ ความเชื่อถือด้วยนวัตกรรมทางเทคโนโลยี (น่าจะต้องมีเรื่องคุณธรรม/ จริยธรรมและธรรมาภิบาลรวมอยู่ด้วยอย่างแน่นอน, มีGive&Take ไม่ตีหัวเข้าบ้าน กำไรน้อยๆ ขายได้มากๆ ค้าขายกันนาน)                     IC จึงมีค่ายิ่งกว่าเงินและสินทรัพย์ด้านวัตถุ ธุรกิจที่ต้องการความยั่งยืนในยุคเศรษฐกิจใหม่ จึงได้ให้ความสำคัญอย่างมาก ตัวอย่างที่เห็นได้ในประเทศญี่ปุ่น      2. ในภาคส่วนการเกษตรประเทศไทย (กลับมาประเมินศักยภาพตนเอง)คำถาม ถามว่า เราจะวิธีการอย่างไร ในการสร้าง Value Creation ในกระทรวงเกษตรฯ ยกตัวอย่างเป็นรูปธรรม.....................คำตอบ ที่ได้จะเป็น Spot solution เป็นส่วนใหญ่และสามารถจับต้องได้ยาก และแก้ไขได้อย่างไม่ยั่งยืน ถึงแม้เราจะใช้การบริหารจัดการในกระบวนการต่างๆเชิงยุทธศาสตร์แล้วก็ตาม(เป็นความเห็นของผมคนเดียวนะ) ก่อนผมจะบอกเหตุผล ขออนุญาตใช้ข้อมูลบางประการประกอบ(อ้างถึงดร. ดนัย เทียนพุฒ) สภาพัฒน์ฯ (2545) สรุปถึงเศรษฐกิจใหม่ว่าเป็นภูมิทัศน์ธุรกิจและอุตสาหกรรมการแข่งขันในระดับโลก โดยประเทศจะแข่งขันได้ต้องเปลี่ยนจากการสร้างความได้เปรียบจากสินทรัพย์ที่จับต้องได้ (Tangible Assets) ไปสู่การได้เปรียบจากสินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้ (In-tangible Assets) ไม่ว่าจะเป็น ความรู้ ทักษะและเทคโนโลยี (ผมไม่แน่ใจว่าเป็นสมมติฐานของสภาพัฒน์ฯ หรือจากการวิเคราะห์เอง ซึ่งสอดคล้อง/ สอดรับกับแนวคิดของ Stewart Thomas A.มาก )โดยแผนฯ 10 เรื่องยุทธศาสตร์ชาติ 5 ปี ให้ความสำคัญในเรื่อง                              1.ฐานเศรษฐกิจที่มั่นคงและยั่งยืน                              2.เพิ่มมูลค่าผลผลิตด้วยฐานความรู้                              3.นโยบายสังคมเชิงรุก                              4.เชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลกและภูมิภาคเพื่อความมั่นคงที่ยั่งยืน โครงสร้างที่สมดุลมากขึ้นและการกระจายรายได้และความเจริญ ซึ่งน้ำหนักจะค่อนข้างไปทางด้านการแข่งขันทางการตลาดมากที่สุด  ความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ ตำแหน่งทางตลาด การผลิตตามกลุ่มCluster การสร้างมูลค่าเพิ่ม และมีประเด็นเชิงยุทธศาสตร์ใน 5 ประเด็นคือ                              1.ยกระดับคุณภาพคนไทยสู่สังคมแห่งการเรียนรู้                              2.สร้างความมั่นคงปลอดภัยทางสังคม                              3.รักษาคุณค่าของสังคมไทย                              4.เตรียมความพร้อมสู่สังคมผู้สูงอายุ                              5.ปฏิรูประบบบริหารจัดการให้เอื้อต่อการพัฒนา                          ถ้าเป็นเช่นนั้น กษ.จะต้องนำ การเพิ่มค่าผลผลิตด้วยฐานความรู้ มากำหนดเป็นประเด็นยุทธศาสตร์......ถูกต้องหรือไม่ครับ  ผมไม่แน่ใจจริง แต่ขออนุญาตพักครึ่งแรกก่อน ......ขอบคุณครับ
Thomas A. Stewart กล่าวไว้ในส่วนหนึ่งของหนังสือ Intellectual Capital : The New Wealth of Organizations ว่า ทุนทางปัญญาเปรียบดังหอก ดาบ หรือ อาวุธสำคัญในการแข่งขันของยุคสารสนเทศ ตัวอย่างของทุนทางปัญญาที่เห็นได้ชัดก็คือ ความเฉลียวฉลาดของคนในองค์กร ความภักดีของลูกค้า คุณค่าของเครื่องหมายการค้า ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร ทรัพย์สินทางปัญญา การสะสมความรู้ที่ฝังอยู่ในวัฒนธรรมไปจนถึง ระบบโครงสร้างองค์กร แต่ท้ายที่สุดแล้วคนในองค์กรจะไม่เห็นสินทรัพย์หรือทุนนี้ระบุหรือปรากฏอยู่ในงบดุลขององค์กรเลยด้วยซ้ำ เพราะมันเป็นสิ่งที่จับต้องไม่ได้ แต่ผลที่ออกมากลับหอมหวานยิ่งกว่างบดุลที่เห็นชัดเจนเสียอีกด้วยซ้ำทุนทางปัญญา : Intellectual Capital เป็นความสามารถในการคิดเป็น วิเคราะห์เป็น และการนำไปสร้างมูลค่าเพิ่ม บุคคลมีข้อมูล (Data) ต่าง ๆ มากมาย แต่หากบุคคลนั้นมีทุนทางปัญญา เขาจะสามารถนำไปสร้างเป็นข่าวสาร (Information) พัฒนาเป็นความรู้(Knowledge) และนำไปสู่การสร้างมูลค่าเพิ่ม (Value Added) ให้กับตนเอง นั่นคือสามารถนำไปวางแผน ประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ คิดค้นนวัตกรรมที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง องค์กร ประเทศชาติและมนุษยชาติ แต่ก่อนที่จะบุคคลจะมีทุนทางปัญญาได้ จะต้องมีทุนอื่นประกอบกันไปด้วย ซึ่งอันดับแรกก็คือทุนมนุษย์ (Human Capital) อันเป็นความรู้พื้นฐานที่ได้จากการศึกษา เรียนรู้ ทั้งในและนอกสถานศึกษาเพื่อที่จะได้รู้ว่าสิ่งที่กำลังคิดวิเคราะห์นั้นคืออะไร ทุนทางจริยธรรม (Ethical Capital) คือการรู้จักผิดชอบชั่วดี รู้ว่าอะไรควรทำ ไม่ควรทำ มีจิตสำนึก และความรับผิดชอบต่อประเทศชาติและประชาชน เป็นการนำเอาทุนทางปัญญาไปใช้ในทางที่เป็นประโยชน์ ไม่สร้างภาระและปัญหาให้กับสังคม ทุนแห่งความสุข (Happiness Capital) คือการใช้ทุนทางปัญญาทำในสิ่งที่เป็นประโยชน์และก่อให้เกิดความสุขแก่ตัวบุคคลและผู้อื่น รวมทั้งทำการต่าง ๆ ด้วยความสุข ไม่ก่อความทุกข์ให้กับตนเองและผู้อื่น ทุนทางสังคม (Social Capital) ทุนทางปัญญาจะเกิดไม่ได้หากมัวแต่หลงตนเองว่าตนนั้นเก่งกล้าสามารถ หรือคิดว่าตัวเองนั้นแน่ที่สุด ไม่มีใครเก่งเกิน ซึ่งความคิดนั้นจะปิดกั้นมิให้เกิดทุนทางปัญญาที่กว้างขวาง หรือที่เรียกว่า ตกหลุมพรางทางความคิด ดังนั้น สิ่งที่จะก่อให้เกิดทุนทางปัญญาที่สามารถหาทางออก หรือหนทางแก้ไขปัญหาได้จะต้องรู้จักการติดต่อสื่อสารกับผู้คนในทุกสาขาอาชีพ ในทุกสังคม รู้จักการศึกษาแบบข้ามศาสตร์ สามารถศึกษาเรียนรู้จากทุกศาสตร์ ทุกสาขา ทุกผู้คนในสังคม ทุนแห่งความยั่งยืน (Sustainability Capital) การมีทุนทางปัญญาอย่างเดียวไม่เพียงพอต่อความผันผวนและความแปรเปลี่ยนในสังคมยุคโลกาภิวัตน์ สิ่งที่จะทำให้ทุนทางปัญญามีความยั่งยืนได้ บุคคลต้องมีทุนแห่งความยั่งยืน ต้องรู้จักการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ต้องเรียนรู้ตลอดชีพ ต้องไม่หยุดยั้งที่จะเรียนรู้ ทุนทางเทคโนโลยีสารสนเทศ (Digital Capital) ในโลกยุคปัจจุบันที่มีการพัฒนาทางด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ สิ่งที่ต้องเรียนรู้และใช้ประโยชน์จากโลกยุคโลกาภิวัตน์คือ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเครื่องมือต่าง ๆ ได้อย่างคล่องแคล่ว และเกิดประโยชน์อย่างจริงจัง การติดต่อสื่อสารในยุคปัจจุบันมีความรวดเร็วและทั่วถึง ซึ่งการที่จะเกิดทุนทางปัญญาที่มีความเฉียบคมได้จะต้องรู้จักใช้ประโยชน์จากทุนทางเทคโนโลยีสารสนเทศ รู้จักว่าสิ่งใดในโลกไซเบอร์แห่งนี้คือประโยชน์ สิ่งใดคือขยะ ที่จะนำมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทุนทางความรู้ ทักษะและทัศนคติ (Talented Capital) การจะใช้ทุนทางปัญญาในการวิเคราะห์ แก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง จะต้องมีทุนทางความรู้ ทักษะ และทัศนคติ สิ่งที่จะก่อให้เกิดประโยชน์อย่างยิ่งต่อประชาชน สังคมและประเทศชาติ บุคคลจะต้องมีทัศนคติในทางที่ดี รู้จักคิดในทางบวก (Positive Thinking) มีความรู้ และทักษะที่ชำนาญและเชี่ยวชาญนอกจากนี้ การที่บุคคลจะมีทุนทางปัญญา (Intellectual Capital) ที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ จะต้องมีองค์ประกอบเกื้อหนุน ได้แก่ 8 H’s ซึ่ง H ตัวแรกคือ Heritage หมายถึง การรู้จักตนเอง รู้ว่าตนมีความรู้ความสามารถมากน้อยแค่ไหน เมื่อรู้จักตนเองแล้วก็จะรู้ว่าในตัวตนของบุคคลนั้น ยังมีสิ่งใดที่จะต้องเพิ่มเติม ต้องปรับปรุงอะไรบ้างซึ่งจะเกื้อหนุนแก่ Human Capital Head หมายถึงการมีสมอง มีความรู้ ความจำ สามารถใช้ในการศึกษาหาความรู้ ใช้ในการคิดวิเคราะห์ ใช้เหตุผล นอกจากนี้ยังใช้ในการกำกับความคิดให้เกิดสติ เกิดความคิดในทางที่ดี การมี Head จะช่วยเกื้อหนุนแก่ Human Capital, Intellectual Capital, Digital Capital, Talented Capital  Heat คือการมีจิตใจที่กว้างขวาง มีจิตใจที่ดี คิดในทางบวก รู้จักให้อภัย ซึ่งจะเกื้อหนุนให้กับ Ethical Capital  Home คือการมีครอบครัวที่อบอุ่น มีความรักความห่วงใย การให้กำลังใจแก่กันและกัน ซึ่งจะช่วยเกื้อหนุนในทุก ๆ ด้าน Harmony หมายถึงความปรองดอง ความสมานฉันท์ ความสอดคล้อง กลมกลืน ประนีประนอม ใฝ่สันติ การมี Harmony จะช่วยในด้าน Social Capital, Sustainability Capital Happiness คือการทำในสิ่งที่ก่อให้เกิดความสุข สิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อตนเอง สังคม ประเทศชาติและประชาชน รวมทั้งการทำงานด้วยความสุขกาย สบายใจ ทำด้วยความเต็มใจ ซึ่งในหัวข้อนี้ก็ตรงกับทุนแห่งความสุข Happiness Capital Health การมีสุขภาพพลานามัยที่ดี จะช่วยให้การทำงานหรือการทำสิ่งใด ๆ ประสบความสำเร็จ มีความราบรื่น ไม่ติดขัด ซึ่งจะช่วยสร้างสรรค์และเกื้อหนุนในทุก ๆ ด้าน เช่นเดียวกับHome Hand หมายถึงการเป็นมืออาชีพในการปฏิบัติงาน ซึ่งจะเกื้อหนุนแก่ Talented Capital ความเป็นมืออาชีพคือการมีทักษะ ความชำนาญที่เกิดจากการได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องและใช้เวลามานานหลาย ๆ ปีการจะสร้างมูลค่าเพิ่มจาก Intellectual Capital ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จะทำได้อย่างไร ในแนวคิดก็คือ จะต้องมีการใช้ทุนมนุษย์ในทุก ๆ สาขาทั้งในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เอง นอกกระทรวงฯ รวมไปถึงผู้รับบริการอันได้แก่ เกษตรกรในทุกสาขาอาชีพ ในกระทรวงเกษตรฯ ขณะนี้แม้มีทุนมนุษย์อยู่มากมาย แต่ทุนดังกล่าวก็เป็นเพียงองค์ความรู้ที่มีอยู่ในตำรา ยึดติดอยู่กับศาสตร์ของตนเองอย่างเหนียวแน่น ไม่ยอมที่จะรับเอาศาสตร์อื่นที่มีประโยชน์เข้ามาร่วมในการปรับคิด วิเคราะห์ อาจกล่าวได้ว่า Human Capital ของกระทรวงเกษตรฯ มี แต่ยังขาดความหลากหลายและการนำมาใช้ประโยชน์อย่างจริงจัง บุคคลที่มีความรู้    ต่าง ๆ หลบซ่อนอยู่ตามซอกมุมของตึกกระทรวงเกษตรฯ หลบอยู่ตามห้องต่าง ๆ ในหน่วยงานของกระทรวงเกษตรฯ บุคคลเหล่านี้ขาดโอกาสที่จะได้แสดงศักยภาพของตนเอง Intellectual Capital ในการคิดวิเคราะห์แก้ไขปัญหาต่าง ๆ ยังขาดในศาสตร์ที่จำเป็นต่าง ๆ อาทิเช่น ด้านเศรษฐศาสตร์ การตลาด การคาดการณ์ถึงสิ่งที่จะเกิดในอนาคต Social Capital กระทรวงเกษตรฯ ยังขาดการเข้าไปมีส่วนร่วมในสังคมและชุมชน ขาดการให้สังคมและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม  Sustainability Capital กระทรวงเกษตรฯ ยังขาดการแก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืน ยังคงมีกรอบแนวคิดการแก้ไขปัญหาในวงแคบ ๆ คิดทำในสิ่งที่ผ่านมาในอดีต เหมือนฝนตกลงมาน้ำไหลเป็นทาง ไม่รู้จักหาแนวทางใหม่ ๆ ในอดีตทำมาอย่างไรปัจจุบันก็ยังทำแบบนั้นอยู่ เกษตรกรเดือดร้อนมาขอความช่วยเหลือ ก็ช่วยแบบเอาปลาไปให้ ไม่ได้ช่วยแบบสอนวิธีตกปลา ไม่ได้ช่วยแบบสอนวิธีเลี้ยงปลา สิ่งเหล่านี้ หากจะสร้างมูลค่าเพิ่มในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ให้เกิดขึ้นได้ สิ่งที่ต้องทำคือการเพิ่มประสิทธิภาพในทุกทุนที่ได้กล่าวมาตัวอย่างเช่น ปัญหาการที่ผลผลิตตกต่ำ ในปัจจุบันจะเห็นว่ามีผลไม้บางชนิดมีราคาถูกลง ที่เป็นเช่นนี้เพราะเกษตรกรเมื่อเห็นว่าผลไม้ใดมีราคาสูง ก็จะแห่กันปลูกผลไม้นั้น กระทรวงเกษตร ฯ ก็ให้การสนับสนุน ด้วยมองภาวการณ์ตลาดในขณะนั้นเห็นว่าราคาดี แต่ไม่ได้นึกถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นมาในอนาคต เมื่อผลผลิตดี มีออกมาสู่ตลาดมากมาย ความต้องการของตลาดมีเท่าเดิม หรือเพิ่มขึ้นไม่มาก สินค้าก็ล้นตลาด ราคาก็ตก สิ่งที่กระทรวงเกษตรฯ ทำได้ในขณะนี้ก็คือ การขอร้องให้ข้าราชการและประชาชน ช่วยกันซื้อผลผลิตเหล่านั้น ซึ่งเป็นวิธีการที่เมื่อสองปีที่แล้วก็ใช้วิธีนี้ และใช้วิธีนี้มาโดยตลอด แต่ไม่ได้นึกถึงว่า ปีต่อไปจะทำอย่างไร จะแก้ไขปัญหาราคาตกต่ำนี้ได้อย่างไร ซึ่งสิ่งเหล่านี้ กระทรวงเกษตรฯ ต้องทำการศึกษาและพัฒนาหาทุนมนุษย์ ทุนทางปัญญา ทุนทางสังคมโดยปลดพันธนาการที่คิดว่าตนเองนั้นแน่ ใครก็มายุ่งเกี่ยวกับฉันไม่ได้ ก้าวกระโดดออกให้พ้นจากกรอบความคิด ที่จะทำงานไปโดยลำพังไม่ร่วมมือกับผู้ใดเลย
ทฤษฎี 8K's เป็นทฤษฏีพื้นฐานของทรัพยากรมนุษย์ที่มีอยู่แล้วในมนุษย์ทุกคน ซึ่งเป็นองค์ความรู้ของบุคลากรในองค์กร อาจจะมีมากน้อยขึ้นอยู่กับสมรรถนะของแต่ละบุคคล                ทฤษฎี 8H's เป็นทฤษฎีของลักษณะผู้นำที่ดี ที่สามารถนำพาองค์กรให้ก้าวเดินไปอย่างมีเป้าหมายที่ชัดเจน มีวิสัยทัศน์ รู้จักการวางแผนกลยุทธ์ รวมทั้งมีจริยธรรม ความเห็นอกเห็นใจผู้อื่น                Intellectual Capital (IC) ที่อธิบายโดย Stewart เป็นการเชื่อมโยงวัฏจักรของต้นทุนมนุษย์ที่มีอยู่ในตัวบุคลากรในองค์กร ได้แก่ ความรู้ความสามารถและความเฉลียวฉลาดในตัวเอง กับต้นทุนขององค์กรได้แก่ เทคโนโลยีการผลิต การตลาด ตลอดจนความรู้ต่างๆที่มีการตีพิมพ์เผยแพร่ รวมเข้ากับต้นทุนการมีความสัมพันธ์อันดีในองค์กรซึ่งจับต้องไม่ได้เพียงแต่สามารถบอกได้โดยใช้การมีส่วนแบ่งในตลาด จำนวนลูกค้าและผลกำไรเป็นต้น เพื่อนำไปสู่การบริหารงานในศตวรรษที่ 21 ที่ต้องมีการเชื่อมโยงและพัฒนาทั้งสามต้นทุนนี้ไปพร้อมๆกันจะพัฒนาเฉพาะด้านใดด้านหนึ่งไม่ได้ หลักการบริหารต้นทุนความเฉลียวฉลาดของทรัพยากรมนุษย์ในองค์กรทั้ง 10 ข้อ ล้วนนำไปสู่การมีลักษณะของผู้นำองค์กรที่สามารถนำองค์กรสู่ความก้าวหน้าและการพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้ง                                การสร้างมูลค่าเพิ่มจาก IC ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์                ในเมื่อกระทรวงเกษตรฯ มีบุคลากรจำนวนมาก ดังนั้นจึงมีต้นทุนทางปัญญามากมายทั้งที่มีอยู่ในสมองและประสบการณ์ ส่วนต้นทุนขององค์กรที่มีโครงสร้างที่แข็งแรงอันได้แก่องค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัยที่สะสมมากว่า 100 ปี มีเทคโนโลยีที่ทันสมัยทั้งจากการนำเข้ามาจากที่อื่น และจากการพัฒนาปรับปรุงให้เหมาะสม การที่จะสร้างมูลค่าเพิ่มในกระทรวงเกษตรฯได้ต้องพัฒนาต้นทุนทางปัญญาให้ทุกคนในองค์กรมีความสัมพันธ์กันให้มากขึ้น ซึ่งได้แก่การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความต้องการของกันและกันในการแก้ปัญหาที่แท้จริง โดยพื้นฐานของความรู้ของแต่ละคนที่สะสมมา ร่วมกับความรู้ที่มีอยู่ในกระทรวงเกษตรฯ และจากการพัฒนาปรับปรุงขึ้นมา เพื่อให้ได้นวัตกรรมที่สามารถนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กรในการผลิตสินค้าที่ได้มาตรฐานเป็นที่ต้องการของลูกค้า หรือการแก้ไขปัญหาความยากจนของเกษตรกร

                ตัวอย่างที่เป็นรูปธรรมในการสร้างมูลค่าเพิ่มจากต้นทุนทางปัญญาในกระทรวงเกษตรฯ เห็นได้ชัดเจนจากกลุ่มเกษตรกรในโครงการทับทิมสยาม จังหวัดสระแก้ว ที่ผลิตหน่อไม้ฝรั่งแบบเกษตรอินทรีย์ จะเห็นว่าเกษตรกร ข้าราชการ นักวิชาการ และบริษัทส่งออก ต่างก็มีต้นทุนทางปัญญาของตนเอง ซึ่งมีทั้งความรู้ที่อยู่ภายในได้แก่ประสบการณ์หรือที่เรียกว่าเคล็ดวิชาไม่สามารถเขียนเป็นสูตรสำเร็จได้แต่สามารถเรียนรู้จากการทำงานร่วมกัน และความรู้ที่ได้จากการวิจัยที่สามารถเขียนบรรยายให้ผู้อื่นนำไปใช้ได้ เมื่อนำมารวมกับต้นทุนโครงสร้างของกระทรวงเกษตรฯและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่มีการวิจัยด้านการปลูกหน่อไม้ฝรั่งทั้งที่ผลิตเป็นสื่อเผยแพร่แก่เกษตรกร และเทคโนโลยีการผลิตที่ผ่านการค้นคว้ามาอย่างต่อเนื่อง ก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน บริษัทส่งออกมีต้นทุนทางปัญญาขององค์กรที่ต้องการสินค้าเป็นหน่อไม้ฝรั่งอินทรีย์ การผลิตหน่อไม้ฝรั่งแบบอินทรีย์ของกลุ่มเกษตรกรที่มีการพัฒนาต้นทุนทางปัญญา มีการลองผิดลองถูกเพื่อให้ได้ผลผลิตที่ต้องการ ก่อให้เกิดองค์กรแห่งการเรียนรู้ จึงก่อให้เกิดนวัตกรรมการผลิตที่ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพเป็นที่ต้องการของตลาด ทำให้มีราคาสูงกว่าการผลิตหน่อไม้ฝรั่งทั่วไป และได้ผลกำไรสูง ซึ่งเป็นการแก้ปัญหาความยากจนของเกษตรกร อันเป็นเป้าหมายของกระทรวงเกษตรฯ

       วุฒิชัย วังคะฮาต กรมประมง

ทฤษฎี 8K's เป็นทฤษฏีพื้นฐานของทรัพยากรมนุษย์ที่มีอยู่แล้วในมนุษย์ทุกคน ซึ่งเป็นองค์ความรู้ของบุคลากรในองค์กร อาจจะมีมากน้อยขึ้นอยู่กับสมรรถนะของแต่ละบุคคล                ทฤษฎี 8H's เป็นทฤษฎีของลักษณะผู้นำที่ดี ที่สามารถนำพาองค์กรให้ก้าวเดินไปอย่างมีเป้าหมายที่ชัดเจน มีวิสัยทัศน์ รู้จักการวางแผนกลยุทธ์ รวมทั้งมีจริยธรรม ความเห็นอกเห็นใจผู้อื่น                Intellectual Capital (IC) ที่อธิบายโดย Stewart เป็นการเชื่อมโยงวัฏจักรของต้นทุนมนุษย์ที่มีอยู่ในตัวบุคลากรในองค์กร ได้แก่ ความรู้ความสามารถและความเฉลียวฉลาดในตัวเอง กับต้นทุนขององค์กรได้แก่ เทคโนโลยีการผลิต การตลาด ตลอดจนความรู้ต่างๆที่มีการตีพิมพ์เผยแพร่ รวมเข้ากับต้นทุนการมีความสัมพันธ์อันดีในองค์กรซึ่งจับต้องไม่ได้เพียงแต่สามารถบอกได้โดยใช้การมีส่วนแบ่งในตลาด จำนวนลูกค้าและผลกำไรเป็นต้น เพื่อนำไปสู่การบริหารงานในศตวรรษที่ 21 ที่ต้องมีการเชื่อมโยงและพัฒนาทั้งสามต้นทุนนี้ไปพร้อมๆกันจะพัฒนาเฉพาะด้านใดด้านหนึ่งไม่ได้ หลักการบริหารต้นทุนความเฉลียวฉลาดของทรัพยากรมนุษย์ในองค์กรทั้ง 10 ข้อ ล้วนนำไปสู่การมีลักษณะของผู้นำองค์กรที่สามารถนำองค์กรสู่ความก้าวหน้าและการพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้ง                                การสร้างมูลค่าเพิ่มจาก IC ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์                ในเมื่อกระทรวงเกษตรฯ มีบุคลากรจำนวนมาก ดังนั้นจึงมีต้นทุนทางปัญญามากมายทั้งที่มีอยู่ในสมองและประสบการณ์ ส่วนต้นทุนขององค์กรที่มีโครงสร้างที่แข็งแรงอันได้แก่องค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัยที่สะสมมากว่า 100 ปี มีเทคโนโลยีที่ทันสมัยทั้งจากการนำเข้ามาจากที่อื่น และจากการพัฒนาปรับปรุงให้เหมาะสม การที่จะสร้างมูลค่าเพิ่มในกระทรวงเกษตรฯได้ต้องพัฒนาต้นทุนทางปัญญาให้ทุกคนในองค์กรมีความสัมพันธ์กันให้มากขึ้น ซึ่งได้แก่การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความต้องการของกันและกันในการแก้ปัญหาที่แท้จริง โดยพื้นฐานของความรู้ของแต่ละคนที่สะสมมา ร่วมกับความรู้ที่มีอยู่ในกระทรวงเกษตรฯ และจากการพัฒนาปรับปรุงขึ้นมา เพื่อให้ได้นวัตกรรมที่สามารถนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กรในการผลิตสินค้าที่ได้มาตรฐานเป็นที่ต้องการของลูกค้า หรือการแก้ไขปัญหาความยากจนของเกษตรกร                ตัวอย่างที่เป็นรูปธรรมในการสร้างมูลค่าเพิ่มจากต้นทุนทางปัญญาในกระทรวงเกษตรฯ เห็นได้ชัดเจนจากกลุ่มเกษตรกรในโครงการทับทิมสยาม จังหวัดสระแก้ว ที่ผลิตหน่อไม้ฝรั่งแบบเกษตรอินทรีย์ จะเห็นว่าเกษตรกร ข้าราชการ นักวิชาการ และบริษัทส่งออก ต่างก็มีต้นทุนทางปัญญาของตนเอง ซึ่งมีทั้งความรู้ที่อยู่ภายในได้แก่ประสบการณ์หรือที่เรียกว่าเคล็ดวิชาไม่สามารถเขียนเป็นสูตรสำเร็จได้แต่สามารถเรียนรู้จากการทำงานร่วมกัน และความรู้ที่ได้จากการวิจัยที่สามารถเขียนบรรยายให้ผู้อื่นนำไปใช้ได้ เมื่อนำมารวมกับต้นทุนโครงสร้างของกระทรวงเกษตรฯและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่มีการวิจัยด้านการปลูกหน่อไม้ฝรั่งทั้งที่ผลิตเป็นสื่อเผยแพร่แก่เกษตรกร และเทคโนโลยีการผลิตที่ผ่านการค้นคว้ามาอย่างต่อเนื่อง ก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน บริษัทส่งออกมีต้นทุนทางปัญญาขององค์กรที่ต้องการสินค้าเป็นหน่อไม้ฝรั่งอินทรีย์ การผลิตหน่อไม้ฝรั่งแบบอินทรีย์ของกลุ่มเกษตรกรที่มีการพัฒนาต้นทุนทางปัญญา มีการลองผิดลองถูกเพื่อให้ได้ผลผลิตที่ต้องการ ก่อให้เกิดองค์กรแห่งการเรียนรู้ จึงก่อให้เกิดนวัตกรรมการผลิตที่ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพเป็นที่ต้องการของตลาด ทำให้มีราคาสูงกว่าการผลิตหน่อไม้ฝรั่งทั่วไป และได้ผลกำไรสูง ซึ่งเป็นการแก้ปัญหาความยากจนของเกษตรกร อันเป็นเป้าหมายของกระทรวงเกษตรฯ
ผศ.ดร.ภัทราภรณ์ เมฆพฤกษาวงศ์

เรียนเพื่อนร่วมรุ่นทุกท่าน

มีเพื่อนอีกหลายท่านที่ยังไม่รู้วิธีการส่งการบ้าน ถ้าทราบ E-mail ท่านใดก็ช่วยแจ้งกันบ้างเด้อ 

ภัทราภรณ์

Assignment 1.       อ่านบทความเกี่ยวกับ IC ของ Stewart เปรียบเทียบกับ 8K’s และ 8 H’s ของ คุณญิงทิพาวดีIC ของ Stewart จำแนกออกเป็น 3 ส่วน ทั้งทุนความรู้ที่อยู่ในบุคคลากรโดยตรง (Human Capital) ทุนความรู้ที่เก็บอยู่กับหน่วยงาน (Structure Capital) และทุนความรู้ความสัมพันธ์กับคนหรือหน่วยงานที่ขายบริการให้ (Customer Capital) IC ของ Stewart จะครอบคลุมส่วนที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมของหน่วยงานทั้งหมด ส่วน IC ในทฤษฏี 8K จะเน้นในการคิดเป็น วิเคราะห์เป็น และนำไปสร้างมูลค่าเพิ่ม ของบุคคล เช่นเดียวกันกับหลัก 8 H ของคุณหญิงทิพาวดี ที่เป็นการเน้นที่ตัวบุคคล ไม่ได้พิจารณาในส่วนสัมพันธ์กับผู้รับบริการ 2.       จะสร้างมูลค่าเพิ่มจาก IC ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้อย่างไร

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มจาก IC ได้โดยการจัดทำเป็นโครงการสร้างมูลค่าเพิ่มจาก IC อย่างต่อเนื่องประจำทุกปี โดยแบ่งเป็น

-                 การให้งบประมาณสนับสนุนแก่ผู้เขียนขอเสนอโครงการ โดยมีคณะกรรมการพิจาณาถึงความเหมาะสมของโครงการ ทั้งนี้ต้องแสดงให้เห็นถึง Outcome และผู้ได้รับผลประโยชน์ที่ชัดเจน

-                 จัดการสัมนาวิชาการประจำปี เพื่อให้โครงการที่ได้รับการสนับสนุนในปีงบประมาณที่ผ่านมา นำเสนอผลการดำเนินงานในที่ประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และข้อคิดเห็น โดยให้ผู้รับบริการจากกระทรวงมีโอกาสได้รับฟังด้วย เพื่อแสดงปัญหา และความต้องการ เพื่อที่กระทรวงจะได้สร้างมูลค่าเพิ่มจาก IC ให้สอดคล้องกัน แหล่งข้อมูลIntellectual Capital (IC) จากบางส่วนของบทความของ Thomas Stewart 1.       The New Concept of Capital (หลักการใหม่ของคำว่า ทุน)โดยทั่วไป ทุน ถูกมองในเทอมของการเงินหรือทางกายภาพอย่างเดียว ซึ่งแสดงถึงการเป็นเจ้าของสิ่งปลูกสร้างหรืออุปกรณ์ และพบได้ในเอกสารแสดงสมดุลการดำเนินงานเมื่อเร็วๆนี้ ทุนทางปัญญา (Intellectual Capital, IC)ได้ถูกปรับเปลี่ยนเป็นการเน้นด้านทรัพย์สินที่วัดหรือมองเห็นไม่ได้ ทุนทางปัญญา สามารถแบ่งออกเป็น 3 ส่วนใหญ่ๆ คือ 1. ทุนมนุษย์ (Human Capital) 2. ทุนลูกค้า (Customer Capital) (ในเอกสารประกอบการบรรยายเรื่องทุนทางปัญญา..ทางรอดของสังคมไทยยุคไร้พรมแดน ใช้คำว่าทุนความสัมพันธ์, Relationship Capital) และ 3.ทุนทางโครงสร้าง (Structure Capital)2.                   ทุนมนุษย์ (Human Capital) คือความรู้ที่อยู่ในหัวของบุคคลากรซึ่งเกี่ยวพันกับวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน ทุนมนุษย์ สามารถถูกกำหนดรูปแบบและพัฒนาเมื่อพรสวรรค์ของบุคคลากรได้ถูกแสดงออกมาผ่านกิจกรรมซึ่งทำให้เกิดเป็นนวัตกรรม ทุนมนุษย์เติบโตได้ 2 แนวทาง คือ เมื่อหน่วยงานใช้สิ่งที่บุคคลากรรู้มากขึ้น หรือเมื่อบุคคลากรรู้มากขึ้นในสิ่งที่เป็นประโยชน์กับหน่วยงาน3.                   ทุนลูกค้า (Customer Capital) แสดงมูลค่าของความสัมพันธ์ของบริษัทกับคนหรือหน่วยงานที่ขายบริการให้ ตัวดัชนีของทุนลูกค้า ได้แก่ ส่วนแบ่งตลาด การรักษาลูกค้าไว้ อัตราการเสียหาย และผลกำไรต่อลูกค้า ทุนลูกค้าอาจเป็นการจัดการที่แย่ที่สุดในบรรดาทรัพย์สินที่วัดหรือมองเห็นไม่ได้ทั้งหมด ธุรกิจจำนวนมากที่ไม่รู้แม้แต่ลูกค้าของตนคือใคร4.                   ทุนทางโครงสร้าง (Structure Capital) ที่ความรู้ที่อยู่ภายในหน่วยงาน มันเป็นของหน่วยงานทั้งหมดและสามารถนำมาผลิตใหม่หรือแบ่งปันได้ ทุนทางโครงสร้างรวมถึง เทคโนโลยี การประดิษฐ์ การเผยแพร่ และกระบวนการทางธุรกิจ 

ทฤษฎีทุน 8 K ที่เป็นพื้นฐานของ ทรัพยากรมนุษย์

 
หลัก 8 H ของคุณหญิงทิพาวดี
1. ทุนมนุษย์ (Human Capital) 1. Heritage (รู้จักตนเองอย่างแท้จริง)
2. ทุนทางปัญญา (Intellectual Capital) 2. Head (มีสมองที่รู้จักคิดวิเคราะห์)
3. ทุนทางจริยธรรม (Ethical Capital) 3. Heart (มีจิตใจที่ดี มีทัศนคติในเชิงบวก)
4. ทุนแห่งความสุข (Happiness Capital) 4. Happiness (ดำเนินชีวิตอย่างมีความสุข โดยไม่เบียดเบียนใคร)
5. ทุนทางสังคม (Social Capital) 5. Hand (เน้นที่การลงมือทำด้วยตนเอง)
6. ทุนแห่งความยั่งยืน (Sustainability Capital) 6. Health (สุขภาพพลานามัยที่สมบูรณ์)
7. ทุนทาง IT (Digital Capital) 7. Home (มีครอบครัวที่อบอุ่น)
8. ทุนทาง Knowledge, Skill, Mindset (Talented Capital) 8. Harmony  (สร้างความปรองดอง สมานฉันท์)
นายกวิน ตั้งจิตธาดา

กราบเรียน อาจารย์จีระที่เคารพ และเพื่อน ๆ ทุกท่าน

            (1) IC ของ STEWART เมื่อเทียบกับ 8K's และ 8H's ของคุณหญิงทิพาวดี มีแนวคิดการบริหารและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ที่คล้ายคลึงกัน กล่าวคือ มนุษย์ที่เกิดมาย่อมมีมันสมองที่สามารถรู้จักวิเคราะห์ ใช้เหตุ-ใช้ผล ทำให้เกิดปัญญาขึ้นได้ และสามารถอยู่ในสังคมได้เช่นกัน แต่เท่านั้นยังไม่เพียงพอต่อการพัฒนาตนเอง สิ่งที่จะทำให้มนุษย์เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่า จะต้องสามารถเรียนรู้ร่วมกันในสังคมที่ตนอยู่ มีการจัดการกับชีวิตของตนเองอย่างเหมาะสม และที่สำคัญ การจะทำสิ่งใดที่ได้ผลนั้น จะต้องมีการทำหรือ การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

            (2) การสร้างมูลค่าเพิ่ม จาก IC ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ความจริงภูมิปัญญาชาวบ้าน ของไทยเรามีมานานแล้ว และเป็นสิ่งดี ที่ควรสนับสนุน เช่น การทำสาโทจากแป้งข้าวเหนียว แต่ไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร เนื่องจาก การจัดการไม่ดี ไม่มีการพัฒนาและการสนับสนุนจากรัฐบาล อย่างต่อเนื่อง ดังนั้น หากจะสร้างมูลค่าเพิ่ม จาก IC รัฐบาลจะต้องเน้น การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์อย่างจริงจังและต่อเนื่อง โดยเฉพาะบุคลากรภาครัฐ และรัฐบาลเองก็ควรสนับสนุนภูมิปัญญาชาวบ้านในด้านต่าง ๆ ด้วย เช่น การสนับสนุนการขายผลิตภัณฑ์ไปยังต่างประเทศ , การยกเว้นภาษี เป็นต้น

                                กวิน

ประหยัด มะโนพะเส้า กรมส่งเสริมการเกษตร:สำนักงานเกษตรจังหวัดลำพูน
1.บทความเกี่ยวกับ IC ของ   Stewart เปรียบเทียบกับ  8K’ s และ 8H’ s               ได้ศึกษาและอ่านบทความเกี่ยวกับ ทุนทางปัญญา ( Intellectual  Capital : IC ) ของ หลายท่านไม่ว่าจะเป็น Stewart (2001,2002 )  Prof. Edvinnsson  อาจารย์ดนัย  เทีนยพุฒและเอกสารประกอบการรายงานการเข้าร่วมประชุม OECD  Conference  on  intellectual Assets Based Manangment  ของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ  เปรียบเทียบกับ 8K ของ ศ.ดร. จีระ  หงส์ลดารมภ์ ที่บรรยายในหัวข้อ HR  for  Non HR และ 8H ทฤษฎีการบริหารและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์  มีความคิดเห็นดังนี้ค่ะ              ในการแข่งขันยุคโลกาภิวัตน์  เศรษฐกิจโลกได้เปลี่ยนผ่านจากยุคสารสนเทศมาสู่ยุคเศรษฐกิจฐานความรู้  อุตสาหกรรมและงานบริการส่วนใหญ่รวมถึงภาคเกษตรด้วยต้องใช้ความรู้และเทคโนโลยีเป็นปัจจัยหลักในการขับเคลื่อนการเติบโต ประเทศต่าง ๆจึงจำเป็นจะต้องสั่งสมองค์ความรู้  สร้างขีดความสามารถทางเทคโนโลยีและมีการจัดการนวัตกรรมที่เหมาะสม  ซึ่ง Stewart (2002) ได้มอง IC เป็นความเชื่อมโยงระหว่าง Human  Capital ทุนมนุษย์  Structural Capital  โครงสร้างขององค์กรและ  Relationship  Capital ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ใช้บริการขององค์กร  ซึ่งสอดคล้องกับ  2 พลังความคิดชีวิตและงานของท่านอาจารย์  ดร. จีระ ที่มองการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์นอกจากจะมองความเชื่อมโยงเหมือนของ  Stewart แล้วยังเน้นถึงทุนทางจริยธรรม  Ethical Capital  , ทุนทาง IT Digital  Capital , ทุนทาง Knowledge Skill and Mindset  Talented  Capital , ทุนทางสังคม Social  Capital , ทุนแห่งความสุข Happiness Capital  และทุนแห่งความยั่งยืน  Sustainability  Capital  ซึ่งเหมาะสมกับสังคมไทยที่เน้นคุณธรรม  จริยธรรม  อยู่บนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบามสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว   เช่นเดียวกับทฤษฎีการบริหารและพัมนาทรัพยากรมนุษย์ 8H’s  ของคุณหญิงทิพาวดี  เมฆสวรรค์ที่เน้นในเรื่องของ Heritage  การรู้จักรากเหง้าของตนเอง , Head  มีสมองและความรู้ , Hand มีความเป็นมืออาชีพ , Heart  มีจิตใจกว้างขวาง , และต้องมี Health  ร่างกายที่แข็งแรง    ทำตรงนี้ให้แข็งแกร่งแล้วก็จะมี 3 H ตามมาคือ Home มีครอบครัวที่อบอุ่น  , Happiness การดำเนินชีวิตอย่างมีความสุขและ Harmony  ภายใต้ความปรองดอง  สามัคคีและสมานฉันท์                 โลกใบใหม่ของศตวรรษที่ 21  เป็นโลกที่หมุนเท่าเดิมในความเป็นจริง  แต่ความก้าวหน้าด้านความรู้  นวัตกรรมและเทคโนโลยีทำให้โลกใบเดิมใบนี้หมุนเร็วขึ้น  เช่นเดียวกับที่ หนังสือ Thomus.L.Friedman  เขียนเรื่อง  The World is Flat  ใครว่าโลกกลม  ขณะเดียวกันโลกใบนี้เดิมทีหนักมากเพราะมีสินทรัพย์ที่จับต้องได้ (Tangible  Assets) เป็นจำนวนมาก  แต่ปัจจุบันอนาคตสินทรัพย์ที่จับต้องได้นี้เริ่มเสื่อมค่าและไม่ใช่สิ่งที่จะทำให้เกิดความได้เปรียบในการแข่งขันของประเทศและธุรกิจ  ขณะที่สินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้(Intangible  Assets) มีมูลค่ามากขึ้นและยิ่งทวีค่ามากขึ้นทำให้โลกใบนี้เบาขึ้น  เรื่องราวของทรัพย์สินที่จับต้องไม่ได้ มีการพัฒนาและเพิ่มความสำคัญมากขึ้น  โดยปัจจุบันเรียกขานกันว่า  ทุนทางปัญญา ( IC: Intellectual  Capital ) และสำหรับประเทศไทย  IC ที่ยิ่งใหญ่และไม่มีใครก๊อปปี้ได้ง่าย ๆคือ วัฒนธรรมไทย*************2.จะสร้างมูลค่าเพิ่มจาก IC ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้อย่างไร ?                 เห็นด้วยกับท่าน ศ.ดร. จีระ  หงส์ลดารมภ์  ที่กล่าวว่า  กระทรวงเกษตรฯ ของเราเก่ง Structure  คือมีโครงสร้างที่แน่นมี Human  Capital  ที่กำลังพัฒนาอยู่คือสอนให้มีการคิด และวิเคราะห์เชิงยุทธศาสตร์มากขึ้นแต่ยังขาด Relationship Capital  คือความสัมพันธ์ระหว่างกันและหน่วยงานอื่นตลอดการสร้างเครือข่ายกับหน่วยงานภายนอก  ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงาน NGO  นักวิชาการข้ามศาสตร์ รวมทั้งต่างประเทศ  ดังนั้นการที่จะ Value Added ให้กับ  IC ในกระทรวงเกษตรฯ นั้น จะต้องมีการเปลี่ยนการคิดแบบใหม่ หมายถึง การเปลี่ยน Unit  of  Measurement จากที่เคยวัดกันแต่สิ่งที่อยู่ในองค์กร  ต้องหันมาให้ความสนใจกับสิ่งที่อยู่นอกองค์กร  ต้องให้น้ำหนักกับความเป็นเครือข่าย ( Network ) และความเป็นชุมชน ( Community ) มากขึ้นยกตัวอย่าง  การพัฒนาอาสาสมัครเกษตรของกระทรวงเกษตรฯ ให้เป็นผู้นำและสามารถทำงานส่งเสริมร่วมกับข้าราชการกระทรวงเกษตรฯทุกสาขาอาชีพไม่ว่าจะเป็น เกษตรหมู่บ้าน  เกษตรกรผู้นำ  หมอดินอาสา  ปศุสัตว์อาสา  ครูบัญชีอาสา  ปราชญ์ชาวบ้านสาขาอาชีพต่าง ๆ  GAP  อาสา ฯลฯ เกษตรกรทุกสาขาอาชีพภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ทุกภาคส่วรร่วมพัฒนาและให้ความรู้แก่บุคคลเป้าหมาย  เพื่อพัฒนาท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชน  รวมถึงการบูรณาการงาน/โครงการของหน่วยงานสังกัดกระทรวงและการทำงานร่วมกันประสบความสำเร็จหรือไม่ ?·       อย่างน้อยยังมีการบูรณาการร่วมกันของแต่ละหน่วยงาน  ไม่ทำงานซ้ำซ้อน·       เกษตรกรไม่ต้องเสียเวลาและไม่ต้องใส่หมวกหลายใบ    แต่.....ยังขาด·       การสร้างเครือข่าย·       การบูรณาการความรู้ข้ามศาสตร์·       การมองแบบองค์รวมสรุปปัจจัยความสำเร็จในการพัฒนาทุนทางปัญญา·       คน   Human  Capital·       ดรรชนีวัดความสำเร็จ  KPIs·       ฐานข้อมูลที่ครบถ้วนและสะดวกในการค้นหา  Repository·       เทคโนโลยีสารสนเทศ  Portal   e-form  e-table·       กระบวนการทำงาน  Process – Structural  Capital·       ผู้ใช้บริการ  Relationship  Capital·       งบประมาณที่พอเพียง  Financial  Capitalปัจจัยแห่งความล้มเหลว·       การไม่ยอมรับความเปลี่ยนแปลงของคนหมู่มาก·       ผู้บริหารระดับสูงไม่เข้าใจ·       ความไม่กระจ่างในหลักการและกระบวนการ·       ความไม่ ต่อเนื่อง ในการทำกิจกรรม·       งบประมาณไม่เพียงพอ ************

 

กราบเรียนอาจารย์จีระ และสวัสดีสมาชิกร่วมรุ่น 1 กษ.ทุกท่าน & น้องๆ Chira Academy          ต้องขออภัยท่านอาจารย์ด้วยนะคะที่มิสามารถส่งการบ้านได้ทันตามเวลาที่กำหนดไว้  เนื่องด้วยมีภารกิจต้องจัดอบรมเจ้าหน้าที่จังหวัด 2 รุ่น ซึ่งก็ได้ดำเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้วเมื่อวันศุกร์ที่ผ่านมานี้เอง  แล้วจึงได้มารีบเร่งตอบโจทย์การบ้านของอาจารย์ที่ได้ฝากไว้ 2 ข้อเมื่อเสาร์อาทิตย์นี้เองค่ะ โจทย์ข้อ 1 : ให้ทำการเปรียบเทียบ IC (Intellectual Capital : ทุนทางปัญญา) ของ Stewart กับ 8 K’s ของอาจารย์จีระ หงษ์ลดารมณ์ และ 8 H’s ของคุณหญิงทิพาวดี เมฆสวรรค์  คำตอบ : ผลการเปรียบเทียบ IC กับ 8 K’s และ 8 H’s  มีดังนี้  สรุปทฤษฎีทั้ง 3 มีความสัมพันธ์กันอย่างเชื่อมโยงและมีผลเอื้อต่อกันในการส่งเสริมและสนับสนุนให้การสร้างมูลค่าเพิ่มของคนและองค์กรได้เป็นอย่างดี ดังในภาพแสดงความสัมพันธ์นี้  ภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง IC กับ 8 H’s และ 8 K’s
คสพ.8 H’s & 8 K’s 8 H’s IC 8 K’s
(3.1) 2.1 Heritage (1) Human C. 3.1 Human C.
(3.1/2/3/7)               2.2 Head (2) Customer C. 3.2 Intellectual C.
(3.3) 2.3 Hand (3) Structural C. 3.3 Talented C.
(3.4) 2.4 Heart   3.4 Ethical C.
(all 3.1-3.8) 2.5 Health   3.5 Happiness C.
(all 3.1-3.8) 2.6 Home   3.6 Social C.
(3.5) 2.7 Happiness   3.7 Digital C.
(3.6/3.8) 2.8. Harmony   3.8 Sustainability C.
 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบ  การเปรียบเทียบ 8 H’s กับ IC ของ Steward  มีความคิดเห็นว่า : 8 H’s มีผลเอื้อ/สนับสนุนต่อการพัฒนา IC ในองค์ประกอบหลักที่ 1 คือ Human Capital (ทุนด้านมนุษย์)ของ Steward เป็นอย่างมาก ถ้าหากสามารถทำให้ 8 H’s มีอยู่ในความคิด/จิตใจ/การประพฤติปฏิบัติของทุก ๆ คนในองค์กรและสังคมได้ (ทั้งที่เป็นผู้นำ/ผู้บริหาร/ผู้ปฏิบัติงาน/ผู้เกี่ยวข้อง/คนทั่วไป) จะทำให้มีแต่คนดี มีคุณภาพ และประสิทธิภาพอย่างดีเยี่ยมในองค์กรและสังคม ซึ่งเป็นการสร้างรากฐานที่ดีและมั่นคงอันเป็นแก่นแท้ของการพัฒนาคน/องค์กร/สังคมต่อไป ซึ่งเมื่อจะทำกิจกรรมใด ๆ ก็ตามเพื่อพัฒนาให้มีการสร้างมูลค่าเพิ่มในเรื่องต่าง ๆ ก็จะได้รับความร่วมมือ/ร่วมแรง/ร่วมใจเป็นอย่างดี ทำให้มีโอกาสได้รับความสำเร็จในทุกด้านเป็นอย่างมาก  ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------การเปรียบเทียบ 8 H’s กับ ทฤษฎี 8 K’s  มีความคิดเห็นว่า : องค์ประกอบ 8 H’s เป็นคุณสมบัติส่วนบุคคลที่ควรจะต้องมีเป็นพื้นฐานที่ดีซึ่งจะสามารถเอื้อ/สนับสนุนส่งผลต่อการพัฒนาของทุนด้านต่าง ๆ ให้เกิดผลดียิ่งขึ้น โดยสามารถแสดงความสัมพันธ์กันได้ ดังนี้2.1    Heritage (รากเหง้า /ตระกูล / ที่มาที่ไป)      เอื้อต่อ 3.1 Human Capital  2.2    Head (สมอง)                                          เอื้อต่อ 3.1 Human Capital / 3.2 Intellectual Capital / 3.3 Talented Capital และ 3.7 Digital Capital  2.3  Hand (มืออาชีพ)                                      เอื้อต่อ 3.3 Talented Capital  2.4  Heart ((จิตใจ / หัวใจ)                              เอื้อต่อ 3.4 Ethical Capital  2.5  Health (สุขภาพ)                                      เอื้อต่อ All 3.1 – 3.8  2.6  Home (ครอบครัว)                                    เอื้อต่อ All 3.1 – 3.8  2.7  Happiness (ความสุข)                              เอื้อต่อ 3.5 Happiness Capital  2.8  Harmony (ความปรองดอง สมานฉันท์ สอดคล้อง กลมเกลียว ประนีประนอม ใฝ่สันติ)เอื้อต่อ 3.6 Social Capital และ 3.8 Sustainability Capital  ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------การเปรียบเทียบ 8 K’s กับ IC ของ Steward มีความคิดเห็นดังนี้ :     ทุนใน 8 K’s จะจำแนกเป็นทุนที่ละเอียดมากขึ้น โดยมองถึงคุณสมบัติที่ควรมีอยู่ในตัวบุคคล (8 H’s ) เข้ามาเป็นทุนหลักในทุน 8 K’s ด้วย ทำให้มีความสมบูรณ์ขององค์ประกอบของทุนในทุกด้านที่ควรมีอยู่ในทุนมนุษย์  ซึ่งสามารถส่งผลเอื้อ/สนับสนุนต่อพัฒนา IC ของ Steward ในการสร้างมูลค่าเพิ่มของคนและองค์กร ได้อย่างครบถ้วน ซึ่งมีตัวอย่างความสัมพันธ์ดังนี้  1. ทุนของ 8 K’s ในรายการที่ 3.1 3.5 เอื้อและสนับสนุนใน IC ใน ของ Steward ในองค์ประกอบหลักที่ 1 Human Capital (ทุนด้านมนุษย์)              2. ทุนของ 8 K’s ในรายการที่ 3.4 3.6 เอื้อและสนับสนุนใน IC ใน ของ Steward ในองค์ประกอบหลักที่ 2 Customer Capital (ทุนด้านลูกค้า)              3. ทุนของ 8 K’s ในรายการที่ 3.7 3.8 เอื้อและสนับสนุนใน IC ใน ของ Steward ในองค์ประกอบหลักที่ 3 Structural Capital (ทุนทางโครงสร้าง)  ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------สำหรับสาระสำคัญในแต่ละทฤษฎี สรุปได้ดังนี้                 1. Thomas A. Stewart  ได้กล่าวในหนังสือ “The New Wealth of Organizations”เกี่ยวกับ Intellectual Capital (IC : ทุนทางปัญญา) ไว้ว่า ทุนทางปัญญา เปรียบเป็นอาวุธที่สำคัญในการแข่งขันในยุคเศรษฐกิจใหม่(เศรษฐกิจฐานความรู้) โดยในปัจจุบันให้ความสำคัญในเรื่องของ intangible asset (ทรัพย์สินที่จับต้องไม่ได้ เช่น Leadership , Knowledge , Relationship , Brand) และ Intellectual Capital (IC : ทุนทางปัญญา) มากกว่า tangible asset (ทรัพย์สินที่จับต้องได้ เช่น Land , Bulding , Inventory , Account Receiveable) เช่นดังแต่ก่อนมา  ส่วนของIntellectual Capital (IC : ทุนทางปัญญา) นั้น Thomas A. Stewart  ได้กล่าวไว้ว่า เป็นความรู้ความสามารถของคนและองค์กร ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการสร้างคุณค่าเพิ่ม โดยแบ่งออกเป็น 3 องค์ประกอบหลัก คือ (1) Human Capital  (2) Customer Capital  (3) Structural Capital โดยแต่ละองค์ประกอบหลักมีรายละเอียด ดังนี้  (1)   Human Capital (ทุนด้านมนุษย์) : Thomas A. Stewart  กล่าวไว้ว่า เป็นความรู้ที่อยู่ใน Head (ความรู้ และ ประสบการณ์) ของพนักงานที่ตรงกับpurpose (เป้าหมาย) ขององค์กร ซึ่งเมื่อเวลาผ่านไปมากขึ้นได้มีพัฒนาโดยมีการแสวงหาความรู้ใหม่ ๆ ผนวกกับประสบการณ์ที่สั่งสมมาตลอด รวมทั้งการอุทิศตนของคนเพื่อองค์กร ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ที่จะส่งผลทำให้เกิดนวัตกรรม(innovation) ในองค์กร  ตัวอย่าง IC ที่เห็นได้ชัด :  - ความเฉลียวฉลาดของคนในองค์กร / การเกิดนวัตกรรม  (2)   Customer Capital (ทุนด้านลูกค้า) : Thomas A. Stewart  กล่าวไว้ว่า เป็นความสัมพันธ์ที่กำลังดำเนินไปอย่างฉันท์มิตรระหว่างผู้คน/องค์กร กับลูกค้าที่ติดต่อกัน ซึ่งในปัจจุบันเรื่องนี้มีความสำคัญมากขึ้น โดยตัวชี้วัดของCustomer Capital ที่เห็นได้ชัด คือ Market Share (ส่วนเหลื่อมการตลาด) / Customer retention / defection rate / profit per cutomer ตัวอย่าง IC ที่เห็นได้ชัด :  - ความภักดีของลูกค้า  (3)  Structural Capital (ทุนทางโครงสร้าง) : Thomas A. Stewart กล่าวไว้ว่า เป็นความรู้ที่เก็บอยู่ในองค์กรซึ่งจะต้องมีการแลกปลี่ยนและเรียนรู้ร่วมกัน รวมถึงtechnology (เทคโนโลยี) / invention (การประดิษฐ์) / publication (สิ่งพิมพ์/ประกาศ/โฆษณา) / business process (กระบวนการทางธุรกิจ)  ตัวอย่าง IC ที่เห็นได้ชัด :  - ระบบโครงสร้างขององค์กร / - ฐานข้อมูลทางความรู้-สารสนเทศ-เทคโนโลยี / - คุณค่าของเครื่องหมายการค้า - ลิขสิทธิ์ - สิทธิบัตร - ทรัพย์สินทางปัญญา - คุณสมบัติเฉพาะผลิตภัณฑ์ / - กระบวนการทำงาน - ทำธุรกิจ ทำกิจกรรม / - publication (สิ่งพิมพ์ - ประกาศ - โฆษณา)  ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------2. ทฤษฎี 8 H’s ของ คุณหญิงทิพาวดี เมฆสวรรค์ : ท่านได้กล่าวถึงคุณสมบัติของผู้นำที่ดี ประกอบด้วย 8 ประการ ดังนี้           2.1  Heritage (รากเหง้า /ตระกูล / ที่มาที่ไป) ได้แก่  การรู้จักตนเองอย่างถ่องแท้ (อย่าปฏิเสธรากเหง้าของตนเอง) / - รู้จักเรียนรู้ - ดึงจุดดีในตนเองออกมาใช้ - พัฒนาปรับปรุงจุดด้อย / - ให้มีความภาคภูมิใจในตนเอง  2.2  Head (สมอง) ได้แก่  การใช้สมอง จะได้ความคิดมีความรู้ ต้องมีสติกำกับ เมื่อคิดป็นต้องคิดดีด้วย เรียกว่ามีสมองรู้จักวิเคราะห์ ใช้เหตุผล ทำให้เกิดปัญญา / ต้องฉลาดอย่างลึกซึ้ง / - รู้จักฝึกจิต กำกับความคิด / ต้องฝึกใช้จินตนาการ  2.3  Hand (มืออาชีพ) ) ได้แก่  มีความเป็นมืออาชีพในการปฏิบัติงาน เน้นที่การลงมือทำด้วยตนเองได้                          2.4  Heart ((จิตใจ / หัวใจ) ) ได้แก่  มีจิตใจดี มีทัศนคติในเชิงบวก มองโลกในแง่ดี ใจกว้าง โอบอ้อมอารี เอาใจเขามาใส่ใจเรา มีเมตตา&กรุณา ไม่โหดร้าย มีศีลธรรม&คุณธรรม มีความกล้าหาญ รู้จักให้ เสียสละ และ คำนึงถึงประโยชน์ของส่วนรวม  2.5  Health (สุขภาพ) ) ได้แก่  มีสุขภาพพลานามัยทีสมบูรณ์ เพราะ สุขภาพดีคือทุกสิ่งทุกอย่างหากเราปรารถนาที่จะประสบความสำเร็จในทุก ๆ ด้านของชีวิต  2.6  Home (ครอบครัว) ) ได้แก่  มีบ้านและครอบครัวที่อบอุ่น เพราะเป็นพื้นฐานสำคัญที่สุดในชีวิตของทุกคน  โดยการให้ใจให้ความรัก ความเอาใจใส่ดูแล มีน้ำใจต่อกัน ซื่อตรงและซื่อสัตย์ ต่อคนในครอบครัว  2.7  Happiness (ความสุข) ) ได้แก่  มีการดำเนินชีวิตอย่างมีความสุข โดยไม่เบียดเบียนใคร และไม่ทำให้ใครเดือดร้อน  2.8  Harmony (ความปรองดอง สมานฉันท์ สอดคล้อง กลมเกลียว ประนีประนอม ใฝ่สันติ) ) ได้แก่  ต้องมีศิลปะในการสร้างความปรองดอง  และ ต้องเข้าใจในธรรมชาติ / - ต้องมีความเป็นกลาง มีจุดยืน มีจิตใจมั่นคง หนักแน่น เด็ดขาด และกล้าแสดงออก----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------3.  ทฤษฎี 8 K’s ของ อาจารย์จีระ หงษ์ลดารมณ์ : ท่านได้กล่าวถึงทุน 8 ประการที่เป็นพื้นฐานของทรัพยากรมนุษย์ ดังนี้  3.1     Human Capital (ทุนด้านมนุษย์)  คือ ทุนที่ได้มาจากความรู้ขั้นพื้นฐานของการศึกษา ที่ทุกคนต้องมี  3.2     Intellectual Capital (ทุนทางปัญญา)  คือ ความสามารถในการคิดเป็น วิเคราะห์เป็น และการนำไปสร้างมูลค่าเพิ่ม  3.3     Talented Capital (ทุนทางความรู้ ทักษะ และทัศนคติ)  เป็นทุนที่สำคัญและขาดไม่ได้สำหรับทรัพยากรมนุษย์ในยุคนี้  ซึ่งการมีความรู้ ทักษะ และทัศนคติ (Mindset) ที่ถูกต้องในการทำงาน จะทำให้บุคคลจะสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ  3.4     Ethical Capital (ทุนทางจริยธรรม)  ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ควรให้มีการปลูกฝังให้มีทุนทางจริยธรรม มิฉะนั้นจะทำให้ไม่สามารถพัฒนาองค์กรหรือประเทศให้ดีได้ อีกทั้งยังนำความเสียหายและสร้างปัญหาให้กับสังคมมากยิ่งขึ้น  3.5     Happiness Capital (ทุนแห่งความสุข) มนุษย์ทุกคนล้วนมีความปรารถนาจะทำในสิ่งที่ตนทำแล้วมีความสุข (สุขกายและสุขใจ) ดังนั้นไม่ว่าจะคิดหรือทำสิ่งใดก็ตามก็จะต้องคำนึงถึงความสุขกับสิ่งที่ทำด้วย จึงจะทำให้เกิดประโยชน์สูงสุดทั้งแก่ตนเองและผู้อื่น  3.6     Social Capital  หมายถึง การรู้จักเข้าสังคม การรู้จักวางตัว การรู้หน้าที่และบทบาทของตนเองต่อสังคม  ซึ่งก็จะเป็นการสร้างให้เกิดการยอมรับในสังคม  3.7     Digital Capital (ทุนเทคโนโลยี สารสนเทศ)  โลกยุคปัจจุบันเป็นยุคของข้อมูล ข่าวสาร และเทคโนโลยี เป็นยุคโลกาภิวัฒน์ ดังนั้นจำเป็นต้องพัฒนาบุคคลากรให้มีความรู้ ความสามารถทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศด้วย จึงจะสามารถที่จะพัฒนาและแข่งขันกับประเทศอื่น ๆ ได้  3.8     Sustainability Capital (ทุนแห่งความยั่งยืน) เป็นทุนที่สำคัญของทรัพยากรมนุษย์ในยุคโลกาภิวัฒน์  เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงและการแข่งขันเกิดขึ้นรวดเร็วมาก ถ้าหากเราไม่พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนแล้วไซร้ เราก็จะไม่สามารถอยู่รอดและแข่งขันได้ในโลกยุคไร้พรมแดนแห่งนี้  ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โจทย์ข้อ 2 : การสร้างมูลค่าเพิ่มจาก IC ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้อย่างไร (ยกตัวอย่างที่เป็นรูปธรรม)  คำตอบ : Thomas A. Stewart กล่าวไว้ว่า Intellectual Capital (IC : ทุนทางปัญญา) ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ  คือ (1) Human Capital  (2) Customer Capital  (3) Structural Capital  นั้น  ดังนั้นคิดว่า การที่จะสร้างมูลค่าเพิ่มจาก IC ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ให้เกิดผลแท้จริงอย่างเป็นรูปธรรมนั้น มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องดำเนินการพัฒนาทั้ง 3 องค์ประกอบให้สามารถดำเนินงานไปร่วมกันได้อย่างเชื่อมโยงและสอดประสานกันเป็นอย่างดี โดยต้องพิจารณาการจัดการใน 4 เรื่องที่สำคัญ ดังนี้  1.      ปัจจัยนำเข้า : ต้นทุนทางปัญญาของหน่วยงานที่มีอยู่ในปัจจุบัน เช่น คนในองค์กร
กราบเรียนอาจารย์จีระ และสวัสดีสมาชิกร่วมรุ่น 1 กษ.ทุกท่าน & น้องๆ Chira Academy          เนื่องด้วยพื้นที่ใน Blog ไม่สามารถเก็บข้อมูลได้ทั้งหมด  จึงขอส่งคำตอบในโจทย์ข้อ 2 ใหม่นะคะโจทย์ข้อ 2 : การสร้างมูลค่าเพิ่มจาก IC ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้อย่างไร (ยกตัวอย่างที่เป็นรูปธรรม)  คำตอบ : Thomas A. Stewart กล่าวไว้ว่า Intellectual Capital (IC : ทุนทางปัญญา) ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ  คือ (1) Human Capital  (2) Customer Capital  (3) Structural Capital  นั้น  ดังนั้นคิดว่า การที่จะสร้างมูลค่าเพิ่มจาก IC ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ให้เกิดผลแท้จริงอย่างเป็นรูปธรรมนั้น มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องดำเนินการพัฒนาทั้ง 3 องค์ประกอบให้สามารถดำเนินงานไปร่วมกันได้อย่างเชื่อมโยงและสอดประสานกันเป็นอย่างดี โดยต้องพิจารณาการจัดการใน 4 เรื่องที่สำคัญ ดังนี้  1.      ปัจจัยนำเข้า : ต้นทุนทางปัญญาของหน่วยงานที่มีอยู่ในปัจจุบัน เช่น คนในองค์กรความรู้ในองค์กร  เป็นต้น  2.      กระบวนการ : เป็นกระบวนการที่ใช้ดำเนินการพัฒนาในแต่ละเรื่อง เช่น คนในองค์กร (อาจใช้ทฤษฎี 8 H’s)  ความรู้ในองค์กร (อาจใช้การจัดการความรู้ KM) เป็นต้น  3.      ปัจจัยที่เอื้อและส่งเสริมการจัดการความรู้ IC ได้แก่  Leadership(ภาวะผู้นำ) Structure(โครงสร้าง) Culture,Behavior,Communication(วัฒนธรรม,พฤติกรรมและการสื่อสาร) Technology,Process(เทคโนโลยีและกระบวนการ) Rewarding,Recognition (การให้รางวัลและการยอมรับ) Measurement(การวัดและประเมินผล) Knowledge,Skill,Abilities,Competencies(ความรู้,ทักษะ,ความพร้อม และความสามารถของทีมงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้) Management(การจัดการ)  4   ผลลัพธ์ที่ต้องการบรรลุ : ผลลัพธ์ความเปลี่ยนแปลงในการปฏิบัติงาน / ผลทางด้านการเงินที่เปลี่ยนแปลง / ผลผลิตที่เปลี่ยนแปลง / คุณภาพที่เปลี่ยนแปลง  เป็นต้น        ซึ่งสิ่งที่ต้องทำเป็นลำดับแรก คือการพัฒนาทุนตัวที่เป็นรากฐานอันสำคัญที่สุดให้มีความพร้อมและแข็งแกร่งก่อน นั่นคือ Human Capital (ทุนด้านมนุษย์) ซึ่งหมายถึง เจ้าหน้าที่ภายในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เอง โดยการสร้างและพัฒนาให้มีการใช้ความรู้ความสามารถ / ใช้ศักยภาพที่มีอยู่ในตัว และมีใจในการทำงานร่วมกันอย่างเต็มที่และจริงจัง เพื่อช่วยพี่น้องเกษตรกรร่วมชาติที่เขายังลำบากกันอยู่มากมายทั่วประเทศให้มีชีวิตที่ดี-มีความสุข-ไม่ถูกเอาเปรียบจากสังคมภายนอก  อันเป็นการสร้างฐานรากของสังคมฐานไทยให้มีความแข็งแรงอย่างยั่งยืนและสามารถพัฒนาต่อไปได้เป็นอย่างดี  รวมทั้งการใช้ 3 H ในตัวเจ้าหน้าที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์  ซึ่งได้แก่  (1)   Head : มีการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ มีความสนใจในปัญหาร่วมกัน  (2)   Heart : มีความรู้สึกมีส่วนร่วม และมีความไว้วางใจกัน  (3)   Hand : มีกิจกรรมที่ลงมือทำร่วมกันในการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ และแก้ไขปัญหา  ลำดับที่ต้องพัฒนาควบคู่กันไป คือ การพัฒนา Customer Capital (ทุนด้านลูกค้า) ซึ่งหมายถึงเกษตรกร รวมถึงหน่วยงานอื่น ๆ / องค์กร  ที่เป็นภาคีร่วมในการทำงานประสานเชื่อมโยงกัน ที่ต้องมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันและมีข้อมูลแต่ละฝ่ายที่ชัดเจน และ มีการใช้หลักในการพิจารณาจัดการทั้ง 4 ประการนั้นเช่นเดียวกันในการพัฒนา  ในส่วนของ Structural Capital (ทุนทางโครงสร้าง) ก็ต้องได้รับการพัฒนาเช่นเดียวกัน  ซึ่งได้แก่ ระบบโครงสร้างขององค์กร / ฐานข้อมูลทางความรู้-สารสนเทศ-เทคโนโลยี / คุณค่าของเครื่องหมายการค้า,ลิขสิทธิ์,สิทธิบัตร,ทรัพย์สินทางปัญญา,คุณสมบัติเฉพาะผลิตภัณฑ์ / กระบวนการทำงานและกิจกรรม / publication (สิ่งพิมพ์,ประกาศ,โฆษณา) โดยใช้หลักในการพิจารณาจัดการทั้ง 4 ประการด้วยเช่นกันสรุป สำหรับการสร้างมูลค่าเพิ่มจาก IC ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อให้บังเกิดผลอย่างเป็นรูปธรรมนั้น กระทรวงเกษตร ฯ ต้องมีความพร้อมที่จะเปลี่ยนแปลงทั้งระบบ และ ต้องมีการดำเนินการอย่างจริงจัง  โดย  1. ผู้บริหารสูงสุดในระดับกระทรวงต้องกำหนดเป็นนโยบายสำคัญของกระทรวงเกษตร  2. ผู้บริหารในระดับกระทรวงและหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรฯ ทุกหน่วยต้องทำความเข้าใจ ปรึกษาหารือ และหาแนวคิดในการพัฒนาเรื่องนี้ร่วมกันอย่างจริงจัง รวมทั้งต้องเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง ต้องสามารถรวมใจและสร้างศรัทธาให้เกิดในหมู่เจ้าหน้าที่ในสังกัด และเป็นต้นแบบที่ดีในหน่วยงาน จึงจะเกิดการพัฒนาในองค์รวมของระดับกระทรวงได้อย่างแท้จริง  3. มีการจัดทำแผนกลยุทธ์แผนปฏิบัติงาน-แผนติดตาม&ประเมินผล ในเรื่องการจัดการทุนทางปัญญาในกระทรวงเกษตร ฯ ให้มีมูลค่าเพิ่ม โดยใช้บุคคลกรที่มีความรู้ ความสามารถ และเชี่ยวชาญ/มีประสบการณ์ มาเป็นแกนนำและรวมทีมงานในการดำเนินการ  โดยจะต้องเป็นแผนทั้งในระดับกระทรวงและหน่วยงานภายใต้สังกัดกระทรวง ที่มีความชัดเจน / สามารถปฏิบัติได้จริง / สามารถเชื่อมโยงกันได้ เพื่อให้เกิดผลการพัฒนาในภาพรวมอย่างแท้จริง (โดยนำหลักทฤษฎีทั้ง 3 : IC / 8 K’s / 8 H’s /อื่น ๆ มาประยุกต์ใช้ร่วมกันในการจัดทำแผนต่าง ๆ ให้มีความสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติได้ และเกิดผลสัมฤทธิ์ )  4. มอบหมายให้มีการนำแผน ฯ ไปปฏิบัติการในแต่ละหน่วยงาน  5. มีทีมที่ปรึกษาคอยให้คำชี้แนะ ดูแล และปรับปรุงแก้ไข ในระหว่างการปฏิบัติการ  6. มีการจัดทำแผนเพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และต่อยอด เพื่อสู่จุดหมายที่วางไว้  7. มีการรวมความคิด ร่วมแรง ร่วมใจ และดำเนินการกันอย่างจริงจังทุกภาคส่วน  ตัวอย่างที่เห็นเป็นรูปธรรมในการสร้างมูลค่าเพิ่มจาก IC ในกระทรวงเกษตร เป็นการดำเนินงานและโครงการใหม่ ๆ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่ตอบสนองต่อสถานการณ์ปัจจุบันของโลก / ความต้องการของเกษตรกร รวมทั้งเป็นการแก้ไขปัญหาโดยตรงในพื้นที่  โดยเน้นการทำงานในรูปแบบใหม่ที่มีหน่วยงานต่าง ๆ มาช่วยคิด ช่วยทำ และร่วมใจในทำงานกันอย่างบูรณาการทั้งคน งาน และเงิน เพื่อประโยชน์สุขของพี่น้องเกษตรกรไทย (มิใช่ต่างคนต่างคิดต่างทำ เหมือนเช่นแต่ก่อน) ถึงแม้จะไม่ได้ผลอย่างชัดเจนเท่าที่ควรแต่ก็เป็นนิมิตหมายที่ดี  ยกตัวอย่างเช่น  โครงการอาหารปลอดภัย  โครงการเกษตรอินทรีย์  โครงการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน  โครงการส่งเสริมการผลิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง  โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว  โครงการการพัฒนายางพาราไทย  โครงการน้ำแก้จน  โครงการดินแก้จน โครงการเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็งด้วยการสหกรณ์  โครงการตามยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้  เป็นต้น----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------พัฒนาความคิด พัฒนาจิต พัฒนาตน พัฒนาองค์กร เพื่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------                                                                                    ด้วยความเคารพและระลึกถึง

                                                                        สรัญญา  เมืองแก้ว : กรมส่งเสริมการเกษตร

 

เรียน อาจารย์ ที่เคารพ

สวัสดี เพื่อนๆ

ขออภัยที่ไม่มีข่าวคราวเลย เพราะมัวแต่สะสาง สิ่งสะสมอยู่ซะนานค่ะ  ก่อนอื่นขอส่งการบ้านก่อนนะคะ

การบ้าน ครั้งที่11. Search ใน Internet อ่านบทความเกี่ยวกับ IC ของ Stewart เปรียบเทียบ กับ 8K’s และ 8H’s ของคุณหญิงทิพาวดีThomas A. Stewart กล่าวไว้ในส่วนหนึ่งของหนังสือ Intellectual Capital : The New Wealth of Organizations ว่า ทุนทางปัญญาเปรียบดังหอก ดาบ หรือ อาวุธสำคัญในการแข่งขันของยุคสารสนเทศ ตัวอย่างของทุนทางปัญญาที่เห็นได้ชัดก็คือ ความเฉลียวฉลาดของคนในองค์กร ความภักดีของลูกค้า คุณค่าของเครื่องหมายการค้า ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร ทรัพย์สินทางปัญญา การสะสมความรู้ที่ฝังอยู่ในวัฒนธรรม ไปจนถึงระบบโครงสร้างองค์กร อย่างไรก็ตาม ท้ายที่สุดแล้ว คนในองค์กรจะไม่เห็นสินทรัพย์ หรือทุนนี้ระบุหรือปรากฏอยู่ในงบดุลขององค์กร เพราะเป็นทรัพย์สินที่จับต้องไม่ได้ (Intangible assets) หากจะเปรียบเทียบกับ ทฤษฎีทุน 8 ประการ(8K’s) ที่เป็นพื้นฐานของทรัพยากรมนุษย์ และ ทฤษฎี 8H’s ที่เป็นปรัชญาในการทำงาน นั้น จะเห็นได้ว่า ทุนทางปัญญา (Intellectual Capital) เป็นส่วนหนึ่งของทฤษฎี 8K’s  ส่วนทฤษฎี 8H’s ก็เป็นส่วนหนึ่งของทุนมนุษย์ (Human Capital)  แต่ทุนทางปัญญา นั้นเป็นสิ่งที่จับต้องไม่ได้ บางครั้งองค์กรจึงไม่คำนึงถึง 2. จะสร้างมูลค่าเพิ่มจาก IC ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้อย่างไร? ยกตัวอย่างที่เป็นรูปธรรม                แนวคิดในการสร้างมูลค่าเพิ่ม กล่าวคือ องค์กรภายในกระทรวงเกษตรมี ทุนทางปัญญา มากมาย ประเด็นจึงอยู่ที่ว่าทำอย่างไร จะสามารถนำ ทุนทางปัญญา องค์ความรู้ ทุนมนุษย์ ฯลฯ มาประสานร้อยเรียง ให้กลมกลืน เป็นรูปธรรม สิ่งที่คาดว่าจะมีความเป็นไปได้ก็คือ ทำให้บุคลากรในกระทรวงเกษตรฯ มีความตระหนัก ในวัตถุประสงค์เดียวกัน เข้าใจถึง จุดมุ่งหมายร่วมกัน  เพื่อให้สามารถนำองค์ความรู้ที่มีอยู่มาปรับใช้ได้

 

ประเวศน์ ศิริศิลป์
รียน ท่านอาจารย์ ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์  ข้อ 1.   การเปรียบเทียบ IC (Intellectual Capital : ทุนทางปัญญา) ของ Thomas  Stewart กับ 8 K’s ของอาจารย์จีระ หงส์ลดารมภ์ และ 8 H’s ของคุณหญิงทิพาวดี เมฆสวรรค์  ดังนี้
  ทฤษฎีทุน 8 K’s  ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์   หลัก 8 H’s      ของคุณหญิงทิพาวดี    เมฆสวรรค์
1 ทุนมนุษย์ (Human Capital) Heritage (รู้จักตนเองอย่างแท้จริง รากเหง้า  มีมรดก ทางวัฒนธรรม)
2 ทุนทางปัญญา (Intellectual Capital) Head (มีสมอง ที่รู้จักคิดวิเคราะห์ ใช้เหตุผล ทำให้เกิดปัญญา)
3 ทุนทางจริยธรรม (Ethical Capital) Heart (มีจิตใจที่ดี มีทัศนคติในเชิงบวก มองโลกในแง่ดี เอาใจเขาใส่ใจเรา)
4 ทุนแห่งความสุข (Happiness Capital) Happiness (ดำเนินชีวิตอย่างมีความสุข โดยไม่เบียดเบียนใคร)
5 ทุนทางสังคม (Social Capital) Hand (เน้นที่การลงมือทำด้วยตนเอง ความเป็นมืออาชีพ )
6 ทุนแห่งความยั่งยืน (Sustainability Capital) Health (สุขภาพพลานามัยที่สมบูรณ์)
7 ทุนทาง IT (Digital Capital) Home (มีครอบครัวที่อบอุ่น ซื่อสัตย์ เสียสละ)
8 ทุนทาง Knowledge, Skill, Mindset (Talented Capital) Harmony(ความปรองดอง สมานฉันท์ สอดคล้องกลมเกลียว)
(Intellectual Capital : ทุนทางปัญญา) ของ Thomas A. Stewart                  Intellectual Capital ของ Thomas Stewart   ได้เสนอ The new concept of  capital   3  ส่วน  คือ 1. ทุนมนุษย์ (Human Capital) 2. ทุนลูกค้า (Customer Capital) และ 3.ทุนทางโครงสร้าง (Structure Capital)
  •  Human Capital  :  เป็นความรู้ที่อยู่ใน Head (ความรู้ และ ประสบการณ์) ของพนักงานที่ตรงกับpurpose (เป้าหมาย) ขององค์กร ซึ่งเมื่อเวลาผ่านไปมากขึ้นได้มีพัฒนาโดยมีการแสวงหาความรู้ใหม่ ๆ ผนวกกับประสบการณ์ที่สั่งสมมาตลอด รวมทั้งการอุทิศตนของคนเพื่อองค์กร ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ที่จะส่งผลทำให้เกิด นวัตกรรม  ความเฉลียวฉลาดของคนในองค์กร  การเกิดนวัตกรรม 
  •   Customer Capital  :  เป็นความสัมพันธ์ที่กำลังดำเนินไปอย่างฉันท์มิตรระหว่างผู้คน/องค์กร กับลูกค้าที่ติดต่อกัน  โดยวัดจากส่วนแบ่งการตลาด    ความภักดีของลูกค้า 
  •   Structural Capital (ทุนทางโครงสร้าง)  เป็นความรู้ที่เก็บอยู่ในองค์กรซึ่งจะต้องมีการแลกเปลี่ยนและเรียนรู้ร่วมกัน รวมถึง เทคโนโลยี  สิ่งการประดิษฐ์ สิ่งพิมพ์/ประกาศ/โฆษณา  กระบวนการทางธุรกิจ  ระบบโครงสร้างขององค์กร  ฐานข้อมูลทางความรู้ สารสนเทศ-เทคโนโลยี  คุณค่าของเครื่องหมายการค้า  ลิขสิทธิ์  สิทธิบัตร  ทรัพย์สินทางปัญญา คุณสมบัติเฉพาะผลิตภัณฑ์
  ข้อ 2  การสร้างมูลค่าเพิ่มจาก IC ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์  ได้อย่างไร ?·       นำเอาทุนทางปัญญา (Intellectual Capital) ที่เป็นภูมิปัญญาดั้งเดิม มาปรับใช้ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตปัจจุบัน  โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง·       พัฒนาทุนมนุษย์ (Human Capital)  ให้ได้รับ ความรู้ จากการศึกษา เรียนรู้ ให้รู้จักคิดวิเคราะห์ ใช้เหตุผล ทำให้เกิดปัญญา  ในขณะเดียวกันจะต้อง พัฒนาทุนทางจริยธรรม (Ethical Capital) คือการรู้จักผิดชอบชั่วดี รู้ว่าอะไรควรทำ ไม่ควรทำ มีจิตสำนึก และความรับผิดชอบต่อประเทศชาติและสังคม·       สร้างค่านิยมให้เจ้าหน้าที่ ทำงานบนฐานขององค์ความรู้และข้อมูลสารสนเทศ อย่างเป็นระบบ  ภายใต้ กฎระเบียบข้อบังคับต่างๆ  ให้สอดคล้องกับ   พันธกิจ ของ กระทรวงฯ   นโยบายของรัฐบาล และแผนพัฒนาประเทศ  เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ปรับปรุงพัฒนาการทำงานภายใต้ความรับผิดชอบ   ด้วยความละเอียดรอบคอบ   ยึดหลักบูรณาการ  ด้วยการประสานงานทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน  ด้วยความเสียสละ อุสาหะ  ไม่ย่อท้อต่อความยากลำบาก  ความพร้อมที่จะปฏิบัติงานทั้งในเวลาและนอกเวลาราชการ เน้นความรับผิดชอบต่อประชานชน  ใช้งบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ  เพื่อให้ได้ผลงานที่เป็นประโยชน์ต่อการดำรงชีวิต   ทุกกิจกรรมคำนึงถึงความประหยัด   มีประสิทธิภาพ  ก่อให้เกิดประสิทธิผลและคุ้มค่า มีความเที่ยงธรรมและเสมอภาค  รักษาผลประโยชน์สาธารณะ  เพื่อสร้างความผาสุกและคุณภาพชีวิตของประชาชนอย่างยั่งยืน   ภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และการมีส่วนร่วมของประชาชน·       ปรับโครงสร้างหน่วยงานที่มี ขนาดใหญ่โต ภารกิจซ้ำซ้อนกับหน่วยงานอื่น ให้มีขนาดที่เหมาะสม

เรียน ท่านอาจารย์จีระ และเพื่อน ๆ ร่วมรุ่นทุกคน

ณัฐวีย์  ชัยมาลา อ.ต.ก.

                จากการอ่านบทความเกี่ยวกับ ICของ Stewart  เปรียบเทียบกับ 8 k’ s และ 8 h’s –ของคุณหญิงทิพาวดี จะเห็นว่า IC ของ Stewart แบ่งเป็น 3 ประเภท 1. ทุนทางด้านบุคลากร(Human Capital) 2. ทุนด้านความรู้ความสัมพันธ์กับลูกค้า(Customer Capital) 3.ทุนความรู้ความสามารถที่ประกอบขึ้นเป็นหน่วยงาน (Structural Capital)  ซึ่งมองว่ามูลค่าของทุนความรู้ทางปัญญานี้จะเกิดขึ้นต่อเมื่อเราสามารถแยกแยะและใช้ประโยชน์จากมันได้ และทีหลักการ 10 ข้อที่ใช้ในการจัดการทรัพย์สินทางปัญญา โดยเน้นในเรื่องการใช้ประโยชน์ของบุคลากร โดยคำนึงถึงความจำเป็นที่ต้องมีทีมงานที่เข้มแข็ง  มีรูปแบบการเรียนรู้ที่ชัดเจน  สนใจข้อมูลที่ลูกค้าต้องการมากกว่ามีความรู้มากมายแต่ใช้ประโยชน์ไม่ได้ มองเห็นว่า ข้อมูลและองค์ความรู้จัดเป็นทรัพย์สินที่สำคัญที่ควรมีไว้แทนทรัพย์สินทางกายภาพหรื่อทางการเงิน ให้ความสำคัญกับกระแสของข้อมูลมากกว่ากระแสของวัตถุ  และที่สำคัญ ต้นทุนทั้ง 3 ประเภทต้องทำไปด้วยกัน ไม่ควรลงทุนเฉพาะด้านใดด้านหนึ่ง

                1.สรุปได้ว่า IC ของStewart จะเห็นความสำคัญของคนในการทำประโยชน์ให้หน่วยงาน เน้นการทำกิจกรรมเพื่อประโยชน์ต่อลูกค้าและหน่วยงาน  ต่างจากทฤษฎี 8 h’s ของคุณหญิงทิพาวดี  เมฆสวรรค์ ที่มองเห็นความสำคัญของคน

ว่าคนต้องรู้จักตัวตนของตัวเองก่อนและใช้สมองให้คิดและสร้างสรรค์หาความรู้ตลอดเวลาเพื่อต่อยอดในการสร้างมูลค่าเพิ่ม

และมีสติในการแก้ปัญหาได้ทุกอย่าง  เมื่อคิดขึ้นมาแล้วต้องทำและต่อยอดจนเป็นมืออาชีพ   ที่สำคัญที่สุดต้องมีจิตใจที่ดี ไม่เอาเปรียบใคร  มีคุณธรรม คิดแต่ในทางบวกและในทางสร้างสรรค์  ทำตัวให้มีแต่ความสุข ทำงานอย่างมีความสุข ทำให้คนรอบข้างมีความสุขไปด้วย รวมทั้งครอบครัวก็อบอุ่นและมีความสุข  มีความปรองดองกัน ขัดแย้งกันได้ในทางความคิดแต่อย่าให้เกิดการแตกแยก   ต้องแก้ไขให้ win win ทั้งสองฝ่าย เพื่อความสงบสุขในการอยู่ร่วมกันในหน่วยงานและในสังคม

ส่วนทฤษฎี 8 k’s นั้น เป็นทุน 8  แบบ ซึ่งทุนทางปัญญาก็เป็นส่วนหนึ่งของ 8 k’s  และคล้ายกับของคุณหญิงทิพาวดี ต่างกันตรงที่ว่ามีทุนทางสังคม จะต้องมีการสร้างเครือข่าย ประสานสัมพันธ์กับหน่วยงานต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นกระทรวงเดียวกันหรือต่างกระทรวงกัน  จะทำให้งานสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี เพราะแต่ละหน่วยงานมีความชำนาญที่ไม่เหมือนกัน  ส่วนทุนทางเทคโนโลยีและสารสนเทศ ก็มีความสำคัญเป็นอย่างมาก โลกของนวัตกรรมเกิดสิ่งใหม่ ๆ เสมอ ตลอดเวลา โดยมีเทคโนโลยีหรือ IT เป็นส่วนสร้างเสริมขึ้นมา  ดังนั้นเราต้องใช้ ITให้เกิดประโยชน์สูงสุด  เป็นผลตามมาคือทุนแห่งความยั่งยืน เมื่อวิจัยพัฒนาสิ่งใหม่ ๆ ที่เกิดประโยชน์จนเป็นผลสำเร็จ ก็ต้องดูแลและสร้างมูลค่าเพิ่มไปเรื่อย ๆ ก็จะเกิดทุนแห่งความยั่งยืนตลอดไป 

                2.ในความคิดเห็นที่ว่า จะสร้างมูลค่าเพิ่มจาก IC ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้อย่างไร ขอเสนอความคิดเห็นดังนี้  ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของเรานี้ มีบุคลากรที่มีความสามารถในทุก ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านการเกษตร

ในเรื่องของน้ำ ดิน และป่าไม้ รวมทั้งพืชและสัตว์  เช่น กรมชลประทาน,กรมพัฒนาที่ดิน,กรมปฏิรูปที่ดิน,กรมประมง ,กรมข้าว,กรมปศุสัตว์ และองค์การสวนยาง   ด้านการบริการทางวิชาการและการควบคุมดูแล เช่น กรมส่งเสริมการเกษตร,กรมส่งเสริมสหกรณ์ ด้านการบริการการเงิน เช่น กรมตรวจบัญชีสหกรณ์  ,ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ ,อ.ต.ก (ด้านสินเชื่อในการผลิตสินค้าเกษตร) ,ด้านการบริการทางการตลาด เช่น อ.ต.ก. ,องค์การสะพานปลา,องค์การโคนม ถ้าเราสามารถเชื่อมโยงทุกหน่วยงานโดยจับมือกันมาช่วยกันคิด ช่วยกันทำ ในด้านที่แต่ละหน่วยงานถนัด   โดยจัดให้มีการอบรมร่วมกันอย่างที่สำนักงานเกษตราธิการ สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ร่วมกับ มูลนิธิพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศ

ได้อบรมโครงการพัฒนาภาวะผู้นำฯ จะได้ประโยชน์เป็นอย่างมากมาย  จะเห็นได้ว่า อาจารย์สร้างความมั่นใจให้กับทุกคนโดยหาวิทยากรที่มีความสามารถมากในปัจจุบัน และหาความรู้ใหม่ ๆมาให้ตลอดเวลา ทำให้เราได้รู้ความรู้ที่ชัดเจนและคิดว่าจะนำมาต่อยอดได้อย่างมั่นใจ เพราะได้ผ่านสนามฝึกอันแข็งแกร่ง ถึงแม้ว่าจะเป็นเวลา แค่ 10 วันก็ตามแต่เป็นเวลาที่มีคุณค่าและไม่มีวันลืม เพื่อเป็นการตอบแทน จึงขอปฏิญาณว่าจะเป็น พนักงานของรัฐที่ทำประโยชน์เพื่อเกษตรกร ประชาชน และเพื่อบ้านเมือง อย่างจริงใจ จะไม่คิดเอาเปรียบประเทศชาติ มีคุณธรรม จะให้บริการเกษตรกรอย่างจริงใจ พยายามคิดหาวิธีเพื่อช่วยให้เกษตรกรไทยของเรา เป็นเกษตรกรที่มั่งคั่งในอนาคตอันใกล้นี้  ขอให้พวกเราชาวเกษตรทุกคน มีจิตใจที่แน่วแน่และมั่นคงช่วยกันคิดช่วยกันทำเพื่อพ่อหลวงของเรา

อารีรัตน์ สีคล้าย

กราบเรียน อาจารย์จีระ หงส์ลดารมภ์ที่เคารพ

          ตามสัญญาที่มีไว้ค่ะ เพราะกว่าจะสรุปได้ลงตัวเกี่ยวกับการบ้านและข้อมูลที่หามาได้ในเรื่องของ IC ของ Stewart, 8K's และ 8H's แต่ถ้าจะกล่าวถึง Concepts เรื่องของ 8K's และ 8H's ของคุณหญิงทิพาวดี มีความคล้ายคลึงกันหลายประการ ซึ่งล้วนแล้วแต่กำหนดขึ้น เพื่อให้องค์กรต่าง ๆ นำไปใช้ในการพัฒนาบุคลากร เมื่อบุคลากรได้รับการพัฒนาที่ดี ผลงานขององค์กรก็จะสัมฤทธิ์ผลตามวัตถุประสงค์ และได้รับการพัฒนาให้ก้าวหน้ายิ่ง ๆ ขึ้นทันกับสถานการณ์ของโลก ซึ่งเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา องค์กรในยุคโลกาภิวัฒน์ (globalization) ถ้าการประกอบกิจกรรมต่างๆ มีลักษณะหยุดอยู่กับที่ก็เท่ากับถอยหลังไปหลายสิบเก้า หากองค์กรรอบข้างทั้งในประเทศและนอกประเทศมีการพัฒนา (development) เกิดขึ้น ไม่ว่าจะอยู่ในระดับมากหรือน้อย

          อย่างไรก็ตาม concepts ของ 8K's และ 8H's ถ้าจะสรุปตามความคิดของข้าพเจ้า จะเห็นว่ามีส่วนที่คล้ายคลึงกัน และแตกต่างกัน หรืออาจ group ให้เป็นกลุ่มเดียวกันได้ดังนี้

     Intellectual Capital     = Head

     Ethical Capital           = Heart

     Happiness Capital    = Happiness

     Social Capital            = Home + Harmony

     Human Capital           = Heritage +Health

     Talented Capital        = Hand

     สำหรับ Sustainability Capital และ Digital  8H's ไม่ได้บรรจุเอาไว้ให้ชัดเจน ดังนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่า 8K's มีแนวปฏิบัติมากกว่า 8H's และ 8H's รู้สึกว่าจะเน้นไปในเรื่องของพัฒนาเฉพาะตัวของบุคลากร โดยหวังว่าหากบุคลากรได้รับการพัฒนาและทำตัวเป็นคนดี องค์กรก็จะดีตามไปด้วย ซึ่งผลสุดท้ายประเทศก็ย่อมได้รับการพัฒนาที่ดีในทำนองเดียวกัน ส่วน IC ของ Stewart ประกอบด้วย 3 ส่วนคือ 1.Human Capital ทุนมนุษย์ 2.Structural Capital ทุนโครงสร้างหรือต้นทุนขายองค์กร 3.Customer Capital ทุนลูกค้าหรือความสัมพันธ์ของการจัดการ  ซึ่งทั้ง 3 ข้อได้เชื่อมโยงเป็นวัฏจักรของความรู้ที่มีอยู่ในบุคลากรกับต้นทุนขององค์กร (เช่น เทคโนโลยีและความรู้ต่างๆ ที่มีการตีพิมพ์เผยแพร่) เข้ากับทุนลูกค้า โดยมีความสัมพันธ์ในการจัดการในองค์กร โดยรวมแล้วก็คือ เพื่อนำองค์กรไปสู่การบริหารงานที่ก้าวหน้าและมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องนั่นเอง

การสร้างมูลค่าเพิ่มจาก IC ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

     ความจริง IC เป็นหัวข้อหนึ่งของ 8K's ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้เข้าสู่ความเป็นเลิศ ดังนั้นการสร้างมูลค่าเพิ่มของ IC จึงไม่ประสบความสำเร็จในกระทรวงเกษตรฯเลย ถ้า Factor อื่นๆ อีก 7 Factor ไม่ได้รับการจัดการให้สอดคล้องกัน

     ยกตัวอย่างเช่น IC ย่อมไม่บรรลุผล หาก Human Capital เกิดมาจากการจัดสรร หรือการแต่งตั้งมาจากระบบอุปถัมภ์ (Patranage system) แทนที่จะมาจากการใช้ระบบคุณธรรม (Merit system) ซึ่งทราบกันดีว่ามาจากอิทธิพลทางการเมืองและระบบเส้นสายซึ่งมีมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน

     การสร้างมูลค่าเพิ่มของ IC ของข้าราชการในกระทรวงเกษตรฯ โดยจะสมมติว่า Factor อื่นๆ อีก 7 Factor สมบูรณ์ตามทฤษฎีหรือเกือบสมบูรณ์ตามทฤษฎี 8k's การสร้างมูลค่าเพิ่มของ IC ของข้าราชการในกระทรวงเกษตรฯ สิ่งสำคัญที่จะต้องดำเนินการเป็นอันดับแรกคือ การให้ความสำคัญทางด้านวิชาการที่เป็นข้อจริง (fact) ทางวิทยาศาสตร์ นั่นคือ ต้องรู้จริง ซึ่งวิชาการทางการเกษตรต้องได้มาจาก observation เพื่อนำไปสู่ R (research) and D (development) ซึ่งการดำเนินการดังกล่าว กระทรวงเกษตรฯ ต้องไม่เสียดายในเรื่องของงบประมาณ และการสรรหาบุคลากร แต่ต้องทำในลักษณะประหยัด สมเหตุสมผล และมีความพอเพียงตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

     การดำเนินการดังกล่าวในเรื่องของ R and D สามารถกระทำได้โดยเริ่มตั้งแต่การคัดพันธุ์พืชตามตลาดต้องการ (variety screening) มีการจัดการพืช น้ำ และดินที่ดี (good crop, water and soil management) เพื่อเพิ่มผลผลิต (high productivity) และได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ (good quanlity) มีการบรรจุหีบห่อที่ดี (good packaging) และมีการส่งเสริมการตลาด (marketing promotion) เพื่อให้ผู้ปลูกได้ราคาที่ยุติธรรม ไม่ถูกเอารัดเอาเปรียบโดยพ่อค้าคนกลาง ซึ่งเรื่องราคาผลผลิตในปัจจุบันมีปัญหาอย่างใหญ่หลวงต่อผู้ผลิต และเป็นที่น่าแปลกอย่างยิ่งที่สินค้าเกษตรเป็นสินค้าอย่างเดียวในประเทศไทยที่ผู้ผลิตไม่สามารถกำหนดราคาได้ ไม่เหมือนสินค้าอุตสาหกรรมอื่นๆ ซึ่งปัญหานี้ดูเหมือนว่าจะเป็นปัญหาซ้ำซากซึ่งไม่เคยได้รับการแก้ไขไม่ว่าจะเป็นรัฐบาลยุคใด ๆ

     การสร้างมูลค่าเพิ่มจาก IC ถ้าจะให้ยกตัวอย่างจะขอยกเรื่อง การผลิตข้าว ซึ่งข้าวที่ตลาดโลกต้องการ คือ ข้าวหอมมะลิ (jasmine rice) เหตุที่ต้องการคือ รสดี หุงง่าย และมีความหอม ดังนั้นเรื่องการคัดพันธุ์ข้าวหอมมะลิให้ได้คุณภาพตามตลาดต้องการ จึงเป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องทำให้ได้พันธุ์ข้าวหอมมะลิที่ปลูกแล้วไม่ว่าจะในที่ใดของประเทศให้ได้คุณภาพที่ต้องการและมีผลผลิตสูง เหตุที่ต้องทำเรื่องนี้เพราะพันธุ์ข้าวหอมมะลิ ในปัจจุบันที่ปลูกกันอยู่ตามภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศ ยังมีความแปรปรวนมากในเรื่องของคุณภาพและผลผลิต และที่เป็นปัญหาต่อมาคือ เมื่อปลูกไปแล้วจะจัดการดิน น้ำ และพืชอย่างไร จึงจะให้ผลผลิตสูง และมีคุณภาพดีตามที่กำหนด เมื่อได้ผลผลิตแล้วจะทำอย่างไรจึงจะบรรจุหีบห่อเพื่อให้ลูกค้าเห็นแล้วชอบอยากซื้อหา ซึ่งคงไม่พ้นเรื่องการจัดการด้านการตลาดไม่ว่าจะเป็นในประเทศหรือต่างประเทศ และที่สำคัญที่สุดจะทำอย่างไรให้ผู้ปลูกขายได้ในราคายุติธรรม ไม่ถูกกดขี่โดยพ่อค้าคนกลางเหมือนที่เป็นอยู่มาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน

     จากการที่ได้กล่าวมาทั้งหมดเป็นเพียงความเข้าใจและความคิดเห็นของข้าพเจ้า ซึ่งเกิดขึ้นหลังจากได้รับการเรียนรู้และถ่ายทอดจากอาจารย์ทุก ๆ ท่านในหลักสูตร พัฒนาภาวะผู้นำและเตรียมความพร้อมสู่การเป็นผู้บริหารมืออาชีพของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์  ทำให้ตัวเองรู้สึกมีการเปลี่ยนแปลงและปรับปรุงในด้านความคิดและการพัฒนาตัวเองไปสู่ความเป็นจริงมากขึ้น ทั้งนี้จึงต้องขอกราบขอบพระคุณอาจารย์ทุก ๆ ท่านที่ได้ให้ความรู้และความเข้าใจในเรื่องต่างๆ เป็นอย่างดี และสัญญาว่าจะนำไปประยุกต์ใช้เพื่อให้องค์กรได้รับความก้าวหน้าและ IT มากยิ่งขึ้น  ทั้งนี้หวังว่าหากมีโอกาสคงได้รับความรู้ที่เป็นเลิศทันสมัยและก้าวหน้าอีกครั้ง

                                        ด้วยความเคารพอย่างสูง

                                              อารีรัตน์  สีคล้าย

                                              ตุ๊ก : กรมพัฒนาที่ดิน

                                              4  กันยายน 2550

อารีรัตน์ สีคล้าย

ถึง  ทีมงาน academy และน้อง ๆ ทุกคน

        คิดถึงอีกแล้ว   เพราะคงอาจจะมีพี่ตุ๊กคนเดียวที่ไม่ได้รับทำเนียบรุ่น  หรือโกรธอะไรพี่หรือเปล่า (น้อยใจนะ)  แต่ไม่เป็นไรพี่คงต้องรบกวนให้น้อง ๆ ส่งให้พี่ใหม่โดยส่งมาที่ [email protected]  นะจ้ะ  ส่วนการบ้านพี่ก็ส่งแล้วนะ แล้วทุกๆ คนสบายดีหรือเปล่า แต่คงจะยกเว้นเอ เพราะรายนั้นอุ้มอีกหนึ่งคน ยังไงพี่ก็ขอให้น้องๆ มีความสุขกับการทำงานนะ และถ้ามีอะไรที่พี่คนนี้จะช่วยอะไรน้องได้ ก็ขอให้บอก (ยกเว้นเรื่องเงิน) และที่สุดก็หวังว่าเราคงได้มีโอกาสได้เจอกันอีกนะ

                                                คิดถึงเสมอ

                                                พี่ตุ๊ก : พด.

                                                4/กย/2550

กราบเรียน ศ.ดร.จีระ  หงส์ลดารมภ์

ผมขอส่งการบ้านครับ   หาไม่เจอมานานแล้ว  มาเจอใน google  9 กันยายน 50 นี่เอง ขอแสดงความคิดเห็นเลยนะครับ

1. เปรียบเทียบ IC ของ Stewart  กับ ทฤษฎี 8 K's และ 8H's

 ทฤษฎี 8 K's จะเน้นในเรื่องของทุนทั้ง 8 คือ ทุนมนุษย์ ปัญญา  จริยธรรม  สังคม  ความสุข  ความยั่งยืน  เทคโนโลยี  และความรู้  ทั้งหมดเป็นทุน  แต่จะต้องมีคนมาจัดการทุนเหล่านี้ให้ขับเคลื่อนไปอยางมีประสิทธิภาพ  ทฤษฎี 8 H's พูดถึง รากเหง้า  สมอง  มืออาชีพ  จิตใจ  สุขภาพ  ครอบครัว  ความสุข  และปรองดอง  เป็นคุณสมบัติของผู้ที่จะเป็นผู้นำ  หรือผู้จัดการทุน  และ Stewart  ได้พูดถึง IC (Intellectual  capital)  หรือทุนทางปัญญา อันประกอบไปด้วย 3 องค์ประกอหลัก คือ มนุษย์  ลูกค้า  และองค์กร / โครงสร้าง  ซึ่งเป็นการมองในเรื่องของผลประโยชน์ในทางธุรกิจ  อาจปรับใช้ในการจัดการบริหารประเทศได้ หากมองประเทศเป็นองค์กร / บริษัท

2. จะสร้างมูลค่าเพิ่มจาก IC ในกระทรวงเกษตร ฯ ได้อย่างไร  ยกตัวอย่าง

กระทรวง ฯ มีทุนทุกอย่างพร้อมแล้ว  แต่ยังขาดการจัดการทุนที่มีประสิทธิภาพ  ส่วนหนึ่งมาจากการบริหารเชิงโครงสร้างอำนาจ  มีผลทำให้ข้าราชการส่วนหนึ่งขาดกระบวนการเรียนรู้ปัญหาที่ดีพอ  คือไม่เข้าใจ  ไม่เข้าถึง  ในสถานการณ์เศรษฐกิจ  สังคม ของโลกที่เปลี่ยนไป รวมถึงกลุ่มเป้าหมายเกษตรกร  การใช้ประโยชน์จาก IC  กระทรวงจะต้องมองในเรื่องของทุน ว่ามีอะไร  เท่าไหร่  อยู่ตรงไหน ตัวอย่าง เช่น ปัญหาราคาข้าวตกตำ จะต้องวิเคราะห์ตลาด  เปิดตลาดใหม่  วิเคราะห์คู่แข่ง ลดต้นทุนการผลิต  พัฒนาพันธุ์ที่ให้ผลผลิตสูง ลดต้นทุนทางด้านLogistic พัฒนาเทคโนโลยีเพิ่มผลผลิต  เป็นต้น

 

สมชาย  เชื้อจีน

สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 3  กรมวิชาการเกษตร

9  กันยายน 2550   

สวัสดีลูกศิษย์ที่รักทุกคน            
          ผมมีหนังสือของ Stewart แล้ว ชื่อเรื่อง The Wealth of Knowledge ซึ่งผมจะซีรอคและฝากไว้ที่ดร.วนิดา (ประธานรุ่น) ถ้าใครสนใจก็ขอให้ประสานกับท่านประธานฯ และต้องขอชมเชยลูกศิษย์หลาย ๆ ท่านที่ส่งการบ้านเข้ามาเรื่องการวิเคราะห์แนวคิดเรื่อง Intellectual Capital ของ Stewart กับทฤษฎี 8 K’s ของผมและทฤษฎี 8 H’s ของคุณหญิงทิพาวดี หลาย ๆ ท่านวิเคราะห์ได้ดีมาก สำหรับคนที่ยังไม่ได้ส่งมาผมจะให้เวลาอีก 7 วัน และจะมอบการบ้านในครั้งที่ 2 ต่อไป และก็จะได้เตรียมตัวที่สำหรับโครงการต่อไปในปีหน้า
                                                                       จีระ หงส์ลดารมภ์

 

นายอาทิตย์ สุกเหลือ
เรียน   ศ.ดร. จีระ หงส์ลดารมภ์ ที่เคารพอย่างสูง                ต้องกราบขออภัยท่านอาจารย์ที่ส่งการบ้านช้าไป แต่อย่างไรก็ตาม ยังมีความพร้อมที่จะเรียนรู้ ติดตามผลงานและเป็นลูกศิษย์ที่ดีของอาจารย์ตลอดไป ขอเรียนอาจารย์ที่เคารพว่า ผมได้อ่านการวิเคราะห์ของเพื่อน ๆ เป็นส่วนใหญ่แล้ว เห็นว่า กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ยังมีบุคลากรที่พร้อมจะเป็นผู้นำรุ่นใหม่ และพร้อมจะเป็นส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศในแนวคิดและทิศทางแห่งการเปลี่ยนแปลงแน่นอน ขอให้พวกเราได้มีโอกาสได้รับการเรียนรู้ ปรับเปลี่ยนแนวความคิด และพัฒนาสู่การเป็นผู้นำมืออาชีพอย่างแท้จริง                 สำหรับบทความทุนทางปัญญาของ Stewart กับทฤษฎี 8 K’s และ 8 H’s นั้น 8 H’s มีความเห็นดังนี้ ทุนทางปัญญา เป็นเรื่อง ที่แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงระหว่างทุนมนุษย์ โครงสร้างองค์กร และผู้ใช้บริการองค์กร ส่วน 8 K’s เป็นทฤษฎีที่เป็นพื้นฐานของทรัพยกรมนุษย์ คือ ทุนมนุษย์ ทุนทางปัญญา ทุนทางจริยธรรม ทุนแห่งความสุข ทุนทางสังคม ทุนแห่งความยั่งยืน ทุนทาง IT และทุนทาง Knowledge, Skill และ Mindset  ส่วน   8 H’s เป็นทฤษฎีการบริหารและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์  ที่เน้นเรื่อง การรู้จักรากเหง้าของตนเอง มีสมองและความรู้ มีความเป็นมืออาชีพ มีจิตใจกว้างขวาง ร่างกายที่แข็งแรง มีครอบครัวที่อบอุ่น มีการดำเนินชีวิตอย่างมีความสุข ภายใต้ความปรองดองและสมานฉันท์ ซึ่งทั้ง 3 ส่วนนี้ มีความเห็นว่า เป็นทฤษฎีที่ดีสำหรับสำหรับมนุษย์ที่ใช้ชีวิตอยู่ในโลกแห่งการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน ไม่ว่าจะอยู่ในฐานะอะไร จะเป็นผู้บริหาร หรือพนักงาน หรือผู้มีอาชีพอิสระ ชาวไร่ ชาวนา กรรมกร หากสามารถประยุกต์ใช้หรือประพฤติปฏิบัติตนตามหลักนี้แล้ว ชีวิต สังคม และประเทศชาติจะเจริญ แต่อย่างไรก็ตามการบูรณาการหรือผสมผสานและการเลือกใช้หรือเลือกปฏิบัติตนให้เหมาะสมตามสถานการณ์จะเป็นเรื่องที่ดีที่สุด ไม่มีเรื่องใดดีที่สุด และไม่มีการทำอะไรให้สำเร็จโดยตัวคนเดียว สิ่งเดียว และเรื่องเดียว จะต้องประสานความร่วมมือและผลประโยชน์ และเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมและทันสมัย จึงจะทำให้การดำเนินงาน การบริหารประสบความสำเร็จได้

                สำหรับประเด็นการสร้างมูลค่าเพิ่มจากทุนทางปัญญา ในกระทวงเกษตรและสหกรณ์ มีความเห็นว่า การพัฒนาด้านการเกษตรให้ประสบความสำเร็จนั้น จะต้องอาศัยเทคโนโลยี และภูมิปัญญาท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้าน ผสมผสานเป็นหนึ่งเดียวในการพัฒนา ยกตัวอย่าง ในเรื่อง การผลิตเกษตรอินทรีย์  ซึ่งถ้าเป็นทุนทางปัญญาหรือภูมิปัญญาชาวบ้าน การผลิตดั้งเดิม ก็คือ การผลิตที่ปราศจากการใช้ปุ๋ยเคมี ซึ่งเป็นภูมิปัญญา ที่ใช้การคัดเลือกเมล็ดพันธ์เก็บไว้เพาะปลูกเอง ใช้ปุ๋ยจากมูลสัตว์ และเศษพืช รู้จักบำรุงรักษาดิน น้ำ ไว้ตามธรรมชาติ เหล่านี้เป็นต้น ซึ่งในปัจจุบัน เกษตรอินทรีย์ มีแนวโน้มมีผู้บริโภคมาก ไม่เพียงพอ จึงเห็นว่า ถ้าได้ใช้การผลิตแบบภูมิปัญญาดั้งเดิม ซึ่งก็คือเกษตรอินทรีย์ในปัจจุบัน โดยการรวมกลุ่มการผลิต และสร้างพันธมิตรทางการค้า ในรูป Contract Farming ด้วยแล้ว ก็จะเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มได้ เป็นต้น

            ด้วยความเคารพ

                   อาทิตย์ สุกเหลือ

นายธนันท์ หาญเกริกไกร

เรียน อาจารย์ จีระ ที่เคารพ จบหลักสูตรกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เดือนกว่าแล้วติดตามอาจารย์พบว่ามีกิจกรรมอบรมตลอดรวมถึงกิจกรรมอื่นๆมากมายขอให้อาจารย์มีสุขภาพแข็งแรงนะครับ สำหรับการบ้านครั้งที่ 1 ผมส่งทางอีเมล์ของอาจารย์ตั้งแต่เดือนสค. แล้วครับวันนี้จะนำขึ้นblogด้วยครับ

สวัสดีเพื่อนๆพี่ๆน้องๆหลักสูตรผู้นำและผู้บริหารมืออาชีพฯทุกท่าน เดือนกว่าแล้วนะครับคิดว่าทุกท่านกำลังสะสางงานกันอยู่เพราะใกล้สิ้นปีงบประมาณ 2550แล้ว ถ้าว่าหรือมีข่าวเรื่องราวใดๆก็เมล์มาคุยกันได้นะครับคิดว่าทุกท่านคงได้ทำเนียบรุ่นจากเมล์ที่ประธานรุ่นส่งให้แล้วนะครับ 

การบ้าน ของ นาย ธนันท์  หาญเกริกไกร กรมการข้าว  กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หลักสูตร พัฒนาภาวะผู้นำและเตรียมความพร้อมสู่การเป็นผู้บริหารมืออาชีพ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สำหรับข้าราชการระดับ 71. IC ของ Stewart เปรียบเทียบกับ 8K’S และ 8H’S ของคุณหญิงทิพาวดี  เมฆสวรรค์                หลักทฤษฎีของคุณหญิงทิพาวดี จะอธิบายพื้นฐานของทรัพยากรมนุษย์ได้ครอบคลุมทุกด้าน กล่าวคือ ทุนทั้งภายในตัวมนุษย์ ทุนภายนอกที่แวดล้อมตัวมนุษย์ที่มีอยู่ สามารถนำมาใช้ประโยชน์ หรือปรับปรุง ป้องกัน ทั้งตนเอง และองค์กรอย่างสอดคล้องและยั่งยืนได้ โดยเฉพาะ  8H’S ที่ทำให้ผู้ที่ปฏิบัติได้จริงสามารถเป็นผู้นำที่ดีได้ บริหารองค์กรนำไปสู่ความสำเร็จได้ดี หรืออย่างน้อยที่สุดก็สามารถเปลี่ยนMind set เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่พัฒนาให้มีคุณค่าที่ดีต่อองค์กรและประเทศชาติได้ครับ                หลักทฤษฎีของ Stewart จะเน้นเฉพาะเรื่องทุนทางปัญญา(Intellectual Capital) ที่จะมุ่งสร้างมูลค่าเพิ่มจากทุนทางปัญญากล่าวคือทุนมนูษย์ (human capital : การศึกษา, ความชำนาญ , ความเชี่ยวชาญ , การฝึกอบรม , สมรรถนะ ฯลฯ) ทุนทางโครงสร้าง (Structural capital : โครงสร้างองค์กร หัวใจขององค์กร ได้แก่ การบริหารจัดการ , เครือข่าย , วัฒนธรรมองค์กร ฯลฯ) ทุนทางความสัมพันธ์หรือความสัมพันธ์กับลูกค้า/หุ้นส่วน (relationships or costomer capital : ความสัมพันธ์กับลูกค้า , ควมซื่อสัตย์ , เครื่องหมายการค้า ฯลฯ) และหลักการบริหารจัดการ IC ในเชิงธุรกิจมากกว่า ดังนั้น จึงไม่ครอบคลุมในทุกเรื่องของความเป็นพื้นฐานของ ทรัพยากรมนุษย์ เป็นเพียงแนวทางที่นำเอา IC และข้อมูลในยุคปัจจุบันมาใช้เป็นเครื่องมือ ในการผลิตแทนยุคก่อนที่ให้ความสำคัญกับเรื่องเงินทุน และแรงงานซึ่งไม่สามารถทำให้ธุรกิจมั่นคงและยั่งยืนได้ครับ2.สร้างมูลค่าเพิ่มจาก IC ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ค้นหา/สำรวจทุนทางปัญญา (ขององค์กร/บุคลากร) ภายในหน่วยงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อนำมาใช้จัดการองค์ความรู้ด้านต่างๆ ขององค์กรภายในหน่วยงานกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ก่อน เพื่อให้พร้อมที่จะนำไปใช้ประโยชน์ในการถ่ายทอดสู่การปฏิบัติที่ถูกต้อง และเหมาะสมเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มแก่เกษตรกร (ลูกค้า) โดยมีการนำข้อมูลทุนทางความสัมพันธ์และความต้องการของลูกค้า นำมาทำเป็นเมนูองค์ความรู้ใส่ในลิ้นชักต่างๆ ให้เจ้าหน้าที่สามารถเข้าดูและ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้จากแหล่งเดียวในการให้บริการ แบบจุดเดียวครบทุกด้านบน Internet แบบ One Stop Service เป็นจุดขายใหม่ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เพื่อพัฒนาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ให้เกิดประสิทธิภาพของเจ้าหน้าที่และการให้บริการแก่เกษตรกร ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

 

ณัฐภาส กุลเรืองทรัพย์
HOMEWORKจากคำถามข้อ1คำตอบ  โดยสรุปจากความคิดเห็นส่วนตัว  ประเด็นแรก มุมมองของ stewart ให้ความสำคัญถึง  1.คุณค่ามนุษย์  ที่มีสิ่งดีๆอยู่ในตัว(เพื่อการพัฒนา สร้างสรรค์สังคม)  มีฐานแนวคิดในเชิงปัญญานิยม  ให้ความสำคัญและเคารพในเกียรติและศักดิ์ศรีในคุณค่ามนุษย์  หรือ Human  capital2.ระบบขององค์กร หรือโครงสร้างขององค์กร  ที่มีการจัดการ(management) โดยกำหนด  บทบาทภาระหน้าที่  สายการบริหาร   ความรู้(หรือการจัดการองค์ความรู้) กระบวนการ  วิธีการ เป็นต้น(Function   Mission   Line   knowledge   Process  Methed ) หรือ Structural  Capital3.เครือข่าย หรือการสร้างเครือข่ายที่มั่นคงเกี่ยวข้องโดยตรงกับ  การบูรณาการ และทีมงานหรือการบริหารทีมงาน   กับ การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม  (Integration & Teamwork on  Participle  Action Research : I&T on  PAR)  หรือ Customer  Capital  ทุนนี้เป็นการเกิดขึ้นแบบสืบต่อเนื่องจากทุนมนุษย์ และทุนโครงสร้าง หากทุนทั้งสองไม่เกิด  โอกาสที่จะเกิดทุนเครือข่าย  ย่อมจะยากประเด็นที่สอง เปรียบเทียบมุมมอง ระหว่าง  stewart กับ  ศ.ดร.จีระ และ คุณหญิง  ทิพาวดี  มุมมอง ศ.ดร.จีระ  ให้ความสำคัญ กับ Human Capital    Customer  Capital   และStructural  Capital   ตามลำดับ        ทุนมนุษย์  ทุนทางปัญญา   ทุนทางจริยธรรม   และทุนความรู้ ทักษะ  ความเชื่อที่มีผลต่อพฤติกรรม    มีคุณค่าเดียวกันกับ  Human Capital  ของ stewartทุนแห่งความสุข  ทุนทางสังคม  ทุนแห่งความยั่งยืน  มีคุณค่าเดียวกันกับ  Customer  Capital   ของ stewartทุนทาง IT  มีคุณค่าเดียวกันกับ  Structural  Capital ของ stewartมุมมองของ คุณหญิง  ทิพาวดี  ให้ความสำคัญอย่างยิ่งกับ  Human Capital    และถัดมาคือ  Customer  Capital Heritage  Head  Hand   Heart  Health  มีคุณค่าเดียวกันกับ  Human Capital    ของ stewart            Home  Happiness  Harmony  มีคุณค่าเดียวกันกับ  Customer  Capital  ของ stewart          ข้อสังเกต             มุมมองของคุณหญิง  ไม่มีความเห็นเกี่ยวกับ  Structural  Capital            จากหลักคิด 8 H ' s ของ คุณหญิง  เน้นหนักในทางคุณค่ามนุษย์ (มนุษย์นิยม  หรือจิตนิยม  หรือ  ปัญญานิยม)  แนวคิดนี้ สื่อโยงไปถึง การอนุรักษ์ในอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม  คงไว้ซึ่งนิเวศน์วัฒนธรรม ไม่ให้เสื่อมสลาย  พร้อมกับการสร้างเครือข่ายในสังคม    โดยที่ท่านไม่มีความเห็นด้าน Structural  Capital   จากคำถามข้อ2คำตอบ  โดยสรุปจากความคิดเห็นส่วนตัว  แนวทางการสร้างมูลค่าเพิ่มจาก IC    ในกระทรวงเกษตรฯ  มีหลักคิด  พอสังเขป ดังนี้ คือ ใช้วิธีการ  I&T on  PAR  แยกเป็น 2 ประเด็น คือ   องค์กรรัฐกับองค์กรรัฐ  หมายถึงการบูรณาการ หน่วยงาน(ในกระทรวงเกษตร รวมไปถึงต่างกระทรวง)  แผนงาน/โครงการ   ปฏิทินงาน(ระยะเวลา)   งบประมาณ   จนท.    ซึ่งการบูรณาการจำเป็นจะต้องมีความต่อเนื่องของการดำเนินการ และจะอยู่บนพื้นฐานของแนวคิด การมีส่วนร่วมของ จนท.อย่างแท้จริง  หมายความว่า   การบูรณาการจะต้องอิสระทางความคิด  และเกิดจากความคิด ความต้องการ  ที่จะให้เกิดการพัฒนาสู่สังคม  ของจนท.อย่างแท้จริง  ซึ่งในการทำงานจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องสร้าง  teamwork  ให้มีประสิทธิภาพ และองค์กรรัฐ กับ องค์กรทางภาคเอกชน/สถาบันการเงิน/ประชาชน/เกษตรกร/กลุ่ม/สื่อมวลชนตย. เช่น  กรณี   OTOP  หากต้องการทำโครงการยกระดับคุณภาพสินค้า สู่ 5 ดาว เพื่อ Go Inter  สามารถเพิ่มประสิทธิภาพ และประสิทธิผล  แก่โครงการให้ถึงขีดสุดได้ ด้วยการปรับปรุง  พัฒนา และ  วางแผนในเรื่อง  I&T on  PAR  โดยมีเป้าหมายสุดท้ายคือ เพื่อคุณภาพชีวิตที่สงบสุขในวิถีชีวิตที่ยั่งยืน(ไม่ใช่การพานิชย์ที่ทำลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม) เริ่มจากการจัดการเรื่อง  Structural  Capital  ต่อด้วย  Customer  Capital   โดยอยู่บนพื้นฐานของแนวคิด  Human  capital  กำหนดบทบาทภาระหน้าที่ วัตถุประสงค์  เป้าหมาย  กระบวนการ  วิธีการ  ให้ชัดเจน รวมทั้งแผนสำรอง และแผนพัฒนาการผลิต การตลาดในอนาคต การดำเนินงานสามารถร่วมกันได้หลายหน่วยงาน เช่น กสก.  กวก.  พด.  สกก.  ชป.  ฯ พานิชย์  มหาดไทย  สถาบันการเงิน  และชุมชน เพื่อดำเนินการตั้งแต่การผลิตวัตถุดิบหรือการจัดหาวัตถุดิบ  การจัดการดูแลแก้ปัญหาในแต่ละขั้นตอนของการผลิต    การเตรียมการด้านคัดเกรด บรรจุหีบห่อ  ด้านตลาดในกลุ่มเป้าหมาย การจัดการเรื่อง E-COMMERCE   เป็นต้น  ทั้งหมดจะร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมศึกษา ร่วมเรียนรู้  ร่วมแก้ปัญหา  และร่วมพัฒนาจากหลักคิดพอสังเขป ดังกล่าวนี้  คิดว่าน่าจะเป็นวิธีการหนึ่งที่จะช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มของแนวคิด  รูปแบบการทำงานบนพื้นฐานแนวคิดของการพัฒนาร่วมกันได้ข้อคิดเห็นเพิ่มเติม          หลักแนวคิด Structural  Capital  และ  Customer  Capital   ยังคงดำเนินไปภายใต้ การหยิบดึง หลักแนวคิดการบริหาร แบบ POSDCoORB  มาจัดการ   และยึดในเรื่องของ Human  capital  ซึ่งเป็นเรื่องของ  จิตวิญญาณ  ที่จะทำให้สังคมมีความสงบสุข(สงบสุข ต่างกับคำว่า สุข).                                     นัท. 
ชนชนก จันทร์เพ็ง (เจ้าหน้าที่ของสถาบันเกษตราธิการ กษ)

กราบเรียน ดร.จีระ และสวัสดีค่ะ พี่ ๆ นักบริหารมืออาชีพทุกท่าน

               เพิ่งเข้ามาใน Blog ของอาจารย์เป็นครั้งแรกค่ะ แต่ก่อนหน้านี้ ก็อ่านข้อมูลและสิ่งที่พี่ ๆ ทุกท่านเขียนลงในนี้เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน จากคุณวราพร ซึ่งพิมพ์ข้อมูลทั้งหมดออกมาเย็บเล่มให้อ่าน ในฐานะผู้จัดการอบรม รู้สึกดีใจมากค่ะ ที่ผู้เข้าอบรมทุกท่านยังให้ความสนใจในหลักสูตรและยังศึกษาหาความรู้และส่งการบ้านอาจารย์อย่างต่อเนื่อง แล้วในฐานะผู้ที่จะต้องรับผิดชอบโครงการนี้ต่อไปในปีงบประมาณหน้า ก็อยากจะขอเรียนให้พี่ ๆ ทุกท่านได้ทราบถึงความคืบหน้าของโครงการว่ามีโอกาสแค่ไหนที่โครงการนี้จะได้ดำเนินการต่อไป ต้องบอกว่าแน่นอน ร้อยเปอร์เซ็นต์ค่ะ เพราะเพียงแค่ยังมีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องอยู่เช่นนี้ เราก็ถือว่ากำลังดำเนินโครงการอยู่ ส่วนโอกาสที่จะได้ไปต่างประเทศนั้น ต้องสารภาพว่า ยากเหมือนกันค่ะ เพราะขนาดหลักสูตรนักบริหารระดับสูงของกระทรวงเกษตรฯ ยังไม่ได้ไปเมืองนอกเลย แต่ผู้อำนวยการสถาบันเกษตราธิการก็บอกว่า อยากให้หลักสูตรผู้บริหารมืออาชีพไปเมืองนอกให้ได้ค่ะ ตอนนี้ก็เลยคิดโครงการไว้คร่าว ๆ แต่ยังขาดงบประมาณอีกเยอะเลยค่ะ เพราะถ้าจะไปเมืองนอกกันจริง ๆ งบที่มีอยู่ล้านกว่าบาทคงไม่พอนะคะ และสิ่งที่อยากแจ้งให้พี่ ๆ ทราบก็คือ เราอาจไม่ได้ไปต่างประเทศด้วยกันทั้ง 60 คนนะคะ ด้วยงบประมาณที่มีอยู่อย่างจำกัด และการเดินทางไปต่างประเทศกลุ่มใหญ่ก็เป็นเรื่องที่ยากต่อการบริหารจัดการอย่างมาก ดังนั้น เราอาจจะต้องมีการคัดเลือก ซึ่งมันจะเป็นเหตุผลสำคัญอีกข้อที่จะอ้างได้ว่า เราได้มีการคัดสรรคนที่มีความตั้งใจจริงในการเรียนรู้อย่างไม่หยุดนิ่งและคนที่ว่านี้จะนำความรู้ไปพัฒนากระทรวงเกษตรได้จริง ดังนั้น สิ่งแรกที่จะนำมาเป็นเกณฑ์ในการคัดเลือกคือ การส่งการบ้านของพวกพี่ ๆ นี่ละคะ เพราะสถาบันเกษตราธิการก็ไม่สามารถไปติดตามพี่ ๆ ถึงที่ทำงานได้ว่าใครทำงานเป็นอย่างไร ดังนั้น เราจึงขอพิจารณาคัดเลือกคนที่จะเข้าร่วมโครงการต่อเนื่องจากรายชื่อคนที่ส่งการบ้านก่อนนะคะ ส่วนกำหนดการ และรายละเอียดอื่น ๆ ทางสถาบันเกษตราธิการต้องขอปรึกษาหารือกับทาง ดร.จีระ อีกครั้งค่ะ

แล้วพบกันในโครงการต่อเนื่องนะคะ

 

ชนชนก  จันทร์เพ็ง

เรียน  ท่านอาจารย์ ดร. จีระ หงส์ลดารมภ์  และ เพื่อนร่วมรุ่น ทุกท่าน

                    

             ต้องขออภัย ครับที่ส่งการบ้านของอาจารย์ล่าช้าไปหน่อย  ส่วนหนึ่งเป็นผลพวงจากงานในความรับผิดชอบเดิมที่คั่งค้างอยู่  ซึ่งต้องเร่งดำเนินการให้แล้วเสร็จทันสิ้นปีงบประมาณ  ทั้งนี้ก็ขอฝากความคิดถึงเพื่อนๆและน้องๆทีมงาน Chira academy ทุกท่านด้วย ......... ตอนนี้    ขอส่งการบ้านก่อนนะครับ Assignment  1 (1) อ่านบทความเกี่ยวกับ IC ของ Stewart  เปรียบเทียบกับทฤษฎี  8 K’s ของ ศ. ดร. จีระหงส์ลดารมภ์ และทฤษฎี 8H’s ของคุณหญิงทิพาวดี  เมฆสวรรค์         Stewart เน้นให้เห็นว่า IC เป็นสิ่งที่จะเชื่อมโยงระหว่าง ทุนมนุษย์ (Human Capital), โครงสร้างขององค์กร (Stuctural  Capital) และความสัมพันธ์ระหว่างผู้ใช้บริการขององค์กร  ( Relationship  Capital) ซึ่งสอดคล้องกับ8K’s ของท่านอาจารย์ดร.จีระฯ ที่เน้นถึงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ซึ่งมีความเชื่อมโยงเหมือนของ Stewart แล้วยังเน้นถึง ทุนทางจริยธรรม (Ethical Capital) , ทุนแห่งความสุข (Happiness Capital) และทุนแห่งความยั่งยืน  (Sustainabillity Capital) ซึ่งเหมาะสมกับสังคมไทยที่มุ่งเน้นคุณธรรม  จริยธรรมบนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมด็จพระเจ้าอยู่หัว  เช่นเดียวกับ  ทฤษฏีการบริหารและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 8H,s ของคุณหญิงทิพาวดี  เมฆสวรรค์ ที่เน้นในส่วนของตัวบุคคล อันเกี่ยวกับ การรู้จักรากเหง้าของตนเอง (Heritage) ,การรู้จักคิดวิเคราะห์ใช้เหตุผล( Head ), มุ่งเน้นที่ความเป็นมืออาชีพ (Hand)  ,มีจิตใจที่ดี มีทัศนคติในเชิงบวก (Heart),  และต้อง มีสุขภาพ พลานามัยที่แข็งแรงสมบูรณ์( Health) ก็จะส่งผลให้เกิด 3H ตามมา  คือ Home มีครอบครัวที่อบอุ่น , Happiness การดำเนินชีวิตอย่างมีความสุข และ Harmony ภายใต้ความปรองดอง สามัคคีและสมานฉันท์(2)  จะสร้างมูลค่าเพิ่มจาก IC ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้อย่างไร             ผมขอแสดงข้อคิดเห็นซึ่งอาจจะดูแตกต่างกว่าเพื่อนๆคนอื่นอยู่สักหน่อย        ดังนี้ครับ     กระทรวงเกษตรฯของเรานี้ถ้าดูกันจริงๆแล้วจะเห็นได้ชัดว่า  ในเรื่องของ IC แล้ว ไม่ว่าจะเป็น Human Capital , Structural Capital  รวมไปถึง  Customer/Relational Capital  ซึ่งกระทรวงเกษตรฯของเรามีอยู่ค่อนข้างจะครบถ้วนแล้ว เพียงแต่ว่าในวันนี้ ทิศทางการดำเนินงานของกระทรวงฯตกไปอยู่ภายใต้อิทธิพลของนักการเมืองที่เข้ามาครอบงำ / แสวงหาผลประโยชน์จากการดำเนินงานของกระทรวงฯมาโดยตลอด  ไม่ว่าจะเป็นรัฐบาลชุดไหนๆ ก็มองเห็นเกษตรกรไทย คือ  เหยื่อ รวมไปถึง เจ้าหน้าที่ของ กรม กอง ต่างๆของกระทรวงฯเป็นเครื่องมือที่จะใช้จัดการกับ เหยื่อ  อยู่ร่ำไป  โดยปราศจากภูมิคุ้มกันใดๆ     ดังนั้นผมเห็นว่า มี วิธีเดียว  คือ ทำให้ข้าราชการประจำของกระทรวงเข้มแข็งไม่ตกไปอยู่ภายใต้อิทธิพลของนักการเมืองให้ได้ แล้วยึด ประโยชน์ของเกษตรกรเป็นหลัก เพื่อให้ ICของกระทรวงฯที่มีอยู่แล้วได้มีโอกาสแสดงพลังออกมา                                ธนาไชย  ภาณุพินทุ  : กรมชลประทาน"ธนาชัย ภาณุพินทุ" <[email protected]>

เรียน  ผู้เข้ารับการอบรมกระทรวงแรงงาน ซี7 ทุกท่าน

ผมได้เปิด Blog และได้เห็นความมุ่งมั่นของลูกศิษย์ที่ได้ทำการบ้านอย่างเข้มข้น และสม่ำเสมอ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความสนใจอย่างต่อเนื่อง  สำหรับผู้ที่ยังไม่ส่งการบ้านขอให้ส่งด้วย

ผมได้รับ Feedback ว่าทุกคนอยากทำงานต่อเนื่อง และไปต่างประเทศ ซึ่งผมได้รับข้อมูลว่าทางกระทรวงกำลังพิจารณาอยู่ที่จะให้รุ่น 1 นี้ได้ต่อยอด สำหรับผู้ที่ส่งข้อมูลมาแล้ว ผมจะมีการบ้านเพิ่มเติม เรื่อง ภาวะผู้นำ ซึ่งจะส่งผ่านไปที่คุณวนิดา ประธานรุ่น ในเร็ว ๆ นี้ 

ผมคิดถึงทุก ๆ ท่าน และยังจำบรรยากาศที่อยู่ร่วมกันได้ดี ผมหวังว่าจะได้ทำงานอย่างต่อเนื่องต่อไป

                                      จีระ  หงส์ลดารมภ์

เรียน ท่านอาจารย์ ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์            

ก่อนอื่นต้องขอขอบพระคุณท่านอาจารย์ที่ยังให้โอกาสลูกศิษย์ตาดำ ๆ ในการส่งการบ้านที่ล่าช้ากว่ากำหนดมานาน ขอส่งการบ้านที่ท่านอาจารย์ได้ให้ไว้ดังนี้ค่ะ             ข้อ 1.  การเปรียบเทียบ IC ของ Stewart, 8K's และ 8H's   Concepts ของ 8K's และ 8H's คล้ายคลึงกันโดยจะเน้นหรือให้น้ำหนักไปที่การพัฒนาคน ที่จำเป็นสำหรับการทำงาน ซึ่งเป็นส่วนสำคัญขององค์กร และประเทศชาติ ซึ่งต้องได้รับการพัฒนาตั้งแต่ในวัยเด็ก หรือตั้งแต่ที่บ้านกันเลย พัฒนาทั้งความรู้ ความสามารถ ความคิด จิตใจ และที่สำคัญต้องไม่ลืมความเป็นไทย เป็นทฤษฎีที่เหมาะสมกับคนไทยอย่างยิ่ง โดยสามารถเปรียบเทียบแต่ละข้อของทฤษฎีทั้ง 2 เข้าด้วยกันได้ดังนี้

8 H’s 8 K’s
Heritage Sustainable C.
Head Intellectual C.
Hand Talent C.
Heart Ethical C.
Home + Health Human C.
Happiness Happiness C.
Harmony Social C.  

สำหรับ Digital C. ทุนทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ใน 8H's ไม่ได้กล่าวถึง เนื่องจาก 8H's  จะมองที่ตัวเองมากกว่า ส่วน 8K's  จะมองกว้างไปถึงการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีที่ไม่หยุดนิ่ง ซึ่งมีส่วนช่วยอำนวยความสะดวกในการพัฒนาตนเอง              ส่วน IC ของ Stewart ประกอบด้วย 3 ส่วนคือ 1.Human Capital 2.Structural Capital 3.Customer Capital เป็นทฤษฎีที่เน้นพัฒนาคนให้มีความรู้ ความสามารถ เพื่อการสร้างมูลค่าเพื่ม บรรลุผลในเชิงธุรกิจหรือขององค์กรมากกว่า ถือได้ว่า IC ของ Stewart เป็นส่วนหนึ่งของ Head ใน 8 H’s และ Intellectual C. ของ 8K's              ข้อ 2. จะสร้างมูลค่าเพิ่มจาก IC ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้อย่างไร             IC ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ทั้ง 3 ส่วน ถือได้ว่ามีอยู่มากมาย ทั้ง Human Capital Structural Capital และ Customer Capital เพียงแต่ไม่มีการจัดการที่เป็นระบบ การจัดการความรู้หรือ KM จึงเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นำความรู้ทางวิชาการที่บุคลากรมีมากอยู่แล้ว มาผนวกกับความรู้หรือปัญหาของเกษตรกร ซึ่งเกิดจากการปฏิบัติ มาร่วมกันคิด ช่วยกันแก้ปัญหานั้น ๆ ทำให้เกิดความรู้ใหม่ ๆ เกิดนวัตกรรมในด้านการเกษตร นำความรู้ที่เกิดขึ้นใหม่นั้น ๆ ไปถ่ายทอด แลกเปลี่ยน เรียนรู้ร่วมกันในองค์กร สร้างนวัตกรรม ต่อไป 

 วลีพร นนทิการ  สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

นายอรรณพ เสือกระจ่าง ด่านกักกันสัตว์อุตรดิตถ์ กรมปศุสัตว์

กราบเรียนอาจารย์ ศ.ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์ ที่เคารพรัก กระผมขอส่งการบ้านไม่ทราบว่าจะช้าไปหรือเปล่า หริอว่าเป็นคนสุดท้าย  

1.เปรียบเทียบ  ICของStewartกับทฤษฎี8k'sและ   8H's ทุนทางปัญญา(Intellectual Capital)ของStewart เชื่อมโยงกับทฤษฎี8K'sและ8H's ได้อย่างเป็นระบบ ถ้ามีการบริหารจัดการที่ดีก็จะมีประสิทธิภาพและก่อประโยชน์สูงสุดกับตัวเองและองค์กรเอกชนในเชิงพาณิชย์ กล่าวคือ ทฤษฎี8H's เป็นนักบริหารที่ดีคิดอย่างผู้นำ ถ้าเปรียบเทียบการทำธุรกิจเชิงพาณิชย์ไม่ว่าเป็นธุรกิจการค้าภายในประเทศหรือระหว่างประเทศ การบริหารองค์กรภาครัฐและเอกชน โดยนำความคิดอย่างผู้นำ 8H's ประกอบด้วย

 

 

อรรณพ เสือกระจ่าง ด่านกักกันสัตว์อุตรดิตถ์ กรมปศุสัตว์
Heritage(รากเหง้า) Head(สมอง) Heart(จิตใจ) Home(บ้าน) Harmony(สมานฉันท์) Hapiness(ความสุข) Health(สุขภาพ) Hand(มือ) เชื่อมโยงกับ8K's  ทุนมนุษย์ ทุนทางปัญญา ทุนทางจริยธรรม ทุนแห่งความสุข ทุนทางสังคม ทุนแห่งความยั่งยืน ทุนทางเทคโนโลยี ทุนทางความรู้โดยนำ 8K's มาปรับใช้กับยุคปัจจุบัน ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เป็นยุคแห่งโลกาภิวัฒน์ จำเป็นต้องเรียนรู้ นำเทคโนโลยีมาใช้ให้เป็นระบบ ทำให้การเป็นผู้นำ ผู้บริหารประสบ ความสำเร็จ และมีความสุขกับตนเองและครอบครัว  แต่ทั้งนี้ทฤษฎีของ Stewart (ทุนทางมนุษย์ ลูกค้า องค์กร/โครงสร้าง) ต้องแข็งแกร่งสามารถพึ่งตนเองได้ และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
นายอรรณพ เสือกระจ่าง

กราบเรียนอาจารย์ ศ.ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์ ที่เคารพรัก กระผมขอส่งการบ้านไม่ทราบว่าจะช้าไปหรือเปล่า หริอว่าเป็นคนสุดท้าย  

1.เปรียบเทียบ  ICของStewartกับทฤษฎี8k'sและ   8H's ทุนทางปัญญา(Intellectual Capital)ของStewart เชื่อมโยงกับทฤษฎี8K'sและ8H's ได้อย่างเป็นระบบ ถ้ามีการบริหารจัดการที่ดีก็จะมีประสิทธิภาพและก่อประโยชน์สูงสุดกับตัวเองและองค์กรเอกชนในเชิงพาณิชย์ กล่าวคือ ทฤษฎี8H's เป็นนักบริหารที่ดีคิดอย่างผู้นำ ถ้าเปรียบเทียบการทำธุรกิจเชิงพาณิชย์ไม่ว่าเป็นธุรกิจการค้าภายในประเทศหรือระหว่างประเทศ การบริหารองค์กรภาครัฐและเอกชน โดยนำความคิดอย่างผู้นำ 8H's ประกอบด้วย Heritage(รากเหง้า) Head(สมอง) Heart(จิตใจ) Home(บ้าน) Harmony(สมานฉันท์) Hapiness(ความสุข) Health(สุขภาพ) Hand(มือ) เชื่อมโยงกับ8K's  ทุนมนุษย์ ทุนทางปัญญา ทุนทางจริยธรรม ทุนแห่งความสุข ทุนทางสังคม ทุนแห่งความยั่งยืน ทุนทางเทคโนโลยี ทุนทางความรู้โดยนำ 8K's มาปรับใช้กับยุคปัจจุบัน ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เป็นยุคแห่งโลกาภิวัฒน์ จำเป็นต้องเรียนรู้ นำเทคโนโลยีมาใช้ให้เป็นระบบ ทำให้การเป็นผู้นำ ผู้บริหารประสบ ความสำเร็จ และมีความสุขกับตนเองและครอบครัว  แต่ทั้งนี้ทฤษฎีของ Stewart (ทุนทางมนุษย์ ลูกค้า องค์กร/โครงสร้าง) ต้องแข็งแกร่งสามารถพึ่งตนเองได้ และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

      ข้อ.2 จะสร้างมูลค่าเพิ่มจาก IC ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้อย่างไร ยกตัวอย่างที่เป็นรูปธรรม แนวคิดในการสร้างมูลค่าเพิ่ม กล่าวคือ ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีหลายหน่วยงานหลายองค์กร ต้องมีการเชื่อมโยงระหว่างหน่วยงานอย่างเป็นระบบร่วมปฏิบัติงาน เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อเกษตรกร แต่ทั้งนี้ต้องมีIC ทุนทางปัญญา เพื่อเชื่อมโยงไปสู่8K'sทุนมนุษย์(Human Capital)ทุนทางจริยธรรม(Ethical Capital)ทุนแห่งความสุข(Happiness Capital)ทุนทางสังคม(Social Capital)ทุนแห่งความยั่งยืน(Sustainability Capital)ทุนทางIT(Digital Capital)ทุนทางKnowledge Skill(Talented Capital)เพื่อร่วมทำงานนำความรู้แต่ละหน่วยงาน ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีโครงการมากมายที่ให้เกษตรกรนำไปปฏิบัติ ไม่ว่าจะเป็นโครงการ เกษตรอินทรีย์ ความปลอดภัยด้านอาหาร (พืช สัตว์)เป็นต้น
เจ้าหน้าที่หน่วยงานของรัฐแต่ละหน่วยงาน องค์กร
ต่างๆต้องบรูณาการร่วมกัน โดยการนำความรู้ด้าน
วิชาการที่มีอยู่ ร่วมกันคิดแก้ไขปัญหานำความรู้ใหม่ๆ
ในด้านการเกษตรและการปศุสัตว์ให้กับเกษตรกรต่อไป เพราะโลกแห่งปัจจุบันเป็นยุคITและยุคโลกาภิวัตน์

สวัสดีครับ ท่านอาจารย์จีระ  ทีมงาน  และเพื่อน ๆ ที่รักทุกท่าน

                ก็ต้องบอกว่าพวกเราเงียบหายกันไปนานนะครับ  อาจจะเป็นเพราะงานชุมช่วงปลายปีงบประมาณก็ได้ เพราะผมเองก็ยังค้างจัดซื้อ/จัดจ้างอยู่หลายรายการ อย่างไรก็ตามคงจะเข้ามาใน Blog. บ่อยขึ้นแน่ครับ สำหรับการบ้านที่ต้องส่งก็คงจะช้าไปหน่อยเหมือนหลาย ๆ ท่าน ผมเข้ามาอ่านแล้ว ต๊กดีใจ ที่เพื่อน ๆ ตั้งใจทำกันมาก ข้อมูลเพียบ ผมคงขออนุญาตไม่ส่งในรายละเอียดมากนักเพราะตำราเดียวกัน คงเหมือนๆ กัน สรุปว่า ถ้าเปรียบเทียบ IC ของ Steward   8K’s อาจารย์จีระ และ 8H’s คุณหญิงทิพาวดี  ซึ่งล้วนเป็นแนวคิดในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ แต่มองจากแง่มุมที่ต่างกัน ซึ่งอาจจะเป็นไปได้ว่าแต่ละท่านมีพื้นฐานทางสังคม และการดำเนินชีวิตที่ต่างกัน    8K’s อาจารย์จีระ และ 8H’s คุณหญิงทิพาวดี  จะมีแนวคิดเป็นฝั่งตะวันออก ซึ่งมองถึงภายใน ความเป็นตัวตน และคุณค่าของมนุษย์ (Humanistic)  ในขณะที่ Steward นั้นมีแนวคิดทางฝั่งตะวันตก ซึ่งมองถึงภายนอก วัตถุต่าง ๆ และความสัมพันธ์ระหว่างกันอย่างมีเหตุผลและพิสูจน์ได้ (Sciencetific)  อันจะนำไปสู่การแข่งขันทางเศรษฐกิจและสังคม   และถ้าหากจะให้พิเคราะห์ดูว่า แนวคิดแบบไหนจะดีกว่ากัน สำหรับตัวผมเองก็ต้องบอกว่าทางฝั่งตะวันออก ของอาจารย์จีระ และคุณหญิงทิพาวดี  คงจะดีกว่า เพราะผมก็เป็นคนทางฝั่งนี้ มีวิถีการดำเนินชีวิตแบบตะวันออก ชอบการพัฒนาคุณภาพรากเหง้าชีวิตตนเองที่มีทั้งทุนทางปัญญา สุขภาพ จริยธรรม วัฒนธรรม ความปรองดองทางสังคม มีความสุขอย่างพอเพียงและยั่งยืน  มากกว่าที่จะถูกมองเป็นเพียงวัตถุหนึ่ง(Human Cap.) ของการพัฒนาองค์ประกอบ 3 อย่าง ทางฝั่งตะวันตก ของ Steward    แต่อย่างไรก็ตามความเหมาะสมที่สุดน่าจะเกิดขึ้นได้ จากการนำแนวคิดต่าง ๆ มาปรับใช้การดำเนินชีวิตของตนเอง  สภาพและโครงสร้างของหน่วยงาน และภาวะแวดล้อมที่ดำเนินอยู่

                สำหรับประเด็นเรื่องของทุนของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นั้น ผมเองมีความเห็นว่า ที่เราได้ดำเนินการมาแล้วหลายปี (แผนพัฒนฯ 1-8)  เป็นการพัฒนาที่มุ่งเน้นไปตามแนวคิดของตะวันตก  มีการพัฒนาวัตถุต่าง ๆ เช่น  มนุษย์(เฉพาะลักษณะ และสิ่งจำเป็นในการทำงาน)   โครงสร้างพื้นฐาน  ความสัมพันธ์ ของผู้มีส่วนได้/เสีย  ซึ่งทำให้กระทรวงเกษตรฯ มีปัจจัยเหล่านี้ค่อนข้างพร้อม  ถึงบางครั้งมากเกินความจำเป็น  เป็นระบบที่อ้วน หนา เทอะทะ   การดำเนินงานก็ยังได้ผลไม่ดีนัก บุคคลากรมุ่งสู่วัตถุนิยม  พวกพ้อง และอำนาจ ระบบการบริหารกระจุกตัวอยู่ตามขั้วต่าง ๆ    แต่เมื่อเริ่มแผนฯ 9  เราเริ่มมองการพัฒนาเข้าไปในรากเหง้าความเป็นตัวตนของมนุษย์มากขึ้น การพัฒนาความรู้สึก นึกคิด อารมณ์ ศีลธรรม จริยธรรม วัฒนาธรรม ฯลฯ ถูกนำมาเป็นประเด็นในการพิจารณากำหนดแผน ซึ่งน่าจะมีผลนำไปสู่ความยั่งยืนของสังคมต่อไป
ชลธิศักดิ์ ชาวปากน้ำ: กรมประมง

1.เปรียบเทียบ IC ของ Stearch กับ 8K's และ 8H's

Thomas A. Stewart

ทฤษฎีทุน 8 K ที่เป็นพื้นฐานของ ทรัพยากรมนุษย์ หลัก 8 H ของคุณหญิงทิพาวดี
(1) Human C. 1 ทุนมนุษย์ (Human Capital) 1 Heritage (รู้จักตนเองอย่างแท้จริง)
      2 Hand (เน้นที่การลงมือทำด้วยตนเอง)
  2 ทุนทางปัญญา (Intellectual Capital) 3 Head (มีสมองที่รู้จักคิดวิเคราะห์)
      2 Hand (เน้นที่การลงมือทำด้วยตนเอง)
  3 ทุนทางจริยธรรม (Ethical Capital) 4 Heart (มีจิตใจที่ดี มีทัศนคติในเชิงบวก)
  4 ทุนแห่งความสุข (Happiness Capital) 5 Happiness (ดำเนินชีวิตอย่างมีความสุข โดยไม่เบียดเบียนใคร)
      6 Home (มีครอบครัวที่อบอุ่น)
      7 Health (สุขภาพพลานามัยที่สมบูรณ์)
(2) Structural C. 5 ทุนทาง IT (Digital Capital) 2 Hand (เน้นที่การลงมือทำด้วยตนเอง)
      3 Head (มีสมองที่รู้จักคิดวิเคราะห์)
  6 ทุนทางสังคม (Social Capital) 8 Harmony  (สร้างความปรองดอง สมานฉันท์)
  7 ทุนทาง Knowledge, Skill, Mindset (Talented Capital) 3 Head (มีสมองที่รู้จักคิดวิเคราะห์)
      2 Hand (เน้นที่การลงมือทำด้วยตนเอง)
      4 Heart (มีจิตใจที่ดี มีทัศนคติในเชิงบวก)
(3) Customer C. 6 ทุนทางสังคม (Social Capital) 8 Harmony  (สร้างความปรองดอง สมานฉันท์)
  8 ทุนแห่งความยั่งยืน (Sustainability Capital) 3 Head (มีสมองที่รู้จักคิดวิเคราะห์)
      2 Hand (เน้นที่การลงมือทำด้วยตนเอง)
      8 Harmony  (สร้างความปรองดอง สมานฉันท์)
  3 ทุนทางจริยธรรม (Ethical Capital) 4 Heart (มีจิตใจที่ดี มีทัศนคติในเชิงบวก)
2.การสร้างมูลค่าเพิ่มจาก ทุนทางปัญญาในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์รื่องที่ประสบความสำเร็จ เรื่องวัฒธรรมองค์กรที่พิจารณาความรู้ความสามารถของบุคลากรเพื่อส่งเสริมให้มีความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน มากกว่าที่พิจารณาจากสถาบันที่จบการศึกษา กรมประมงมีแนวโน้มการปรับตัวในด้านนี้ในทิศทางที่ดีเมื่อเทียบกับในยุคก่อนๆ ทำให้หน่วยงานเริ่มที่จะปรับทิศทางการทำงานให้มีผลถึงเกษตรกรได้อย่างแท้จริง

รื่องที่ไม่ประสบความสำเร็จ ในส่วนของกรมประมงคือเรื่องของการแสดงให้ทุกภาคส่วนของสังคมได้เข้าใจว่าการกระทำหรือกิจกรรมของมนุษย์มีผลกระทบต่อสัตว์น้ำอย่างมาก  คุณค่าของทรัพยากรสัตว์น้ำจึงไม่ค่อยได้รับการเอาใจใส่มากนักในสังคม จะสนใจกันก็ต่อเมื่อเกิดปัญหาสัตว์น้ำตายเป็นจำนวนมากแต่ก็เป็นเพียงระยะสั้น ทั้งๆที่กรมประมงก็มีองค์ความรู้เหล่านี้อยู่มาก

เนื่องจากว่าสัตว์น้ำมีถิ่นที่อยู่ในแหล่งน้ำซึ่งมีสภาพแวดล้อมที่แตกต่างไปจากที่มนุษย์อาศัยอยู่  การทำความเข้าใจในเรื่องอะไรก็มักจะใช้ความเคยชินในการตัดสินใจเพื่อเชื่อและปฏิบัติตาม เช่นเรื่องใกล้ตัวของเราคือเรื่องปัญหาน้ำเน่าเสียในกรุงเทพฯ หรือแม่น้ำสายใหญ่เช่น แม่น้ำแม่กลอง แม่น้ำท่าจีน มาจากน้ำทิ้งจากบ้านเรือนที่ปล่อยสารอินทรีย์ลงมาสะสมในแหล่งน้ำจนถึงจุดที่เกินกว่าจะกำจัดได้ตามธรรมชาติ แต่ไม่มีใครเห็นเพราะสิ่งเหล่านี้จมอยู่ใต้น้ำไม่เหมือนกองขยะที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาทันทีที่มีการสะสม และสิ่งเหล่านี้ได้ทำลายแหล่งที่อยู่อาศัย แหล่งผสมพันธุ์และเลี้ยงตัวอ่อนของสัตว์น้ำไปอย่างมาก ทำให้ชนิดและจำนวนสัตว์น้ำที่เคยมีอยู่อย่างอุดมสมบูรณ์ ชาวประมงต้องใช้เวลาใช้แรงงานและค่าใช้จ่ายในการจับสัตว์น้ำมากขึ้นแต่ได้ผลผลิตน้อยลง มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจตั้งแต่ระดับครัวเรือนจนถึงชุมชน กลายเป็นปัญหาหนี้สิน และอาชญากรรม ที่ซ้ำร้ายกว่านั้นคือมีการใช้วิธีทำการประมงที่ผิดกฎหมายเช่น วางยาเบื่อเมาหรือระเบิด ซึ่งเป็นการทำลายสัตว์น้ำโดยตรง

สำหรับกิจกรรมที่ก่อให้เกิดปัญหาในระดับที่กว้างไปกว่านั้นก็คือ โครงการพัฒนาประเทศทั้งหลายที่ประเมินผลตอบแทนที่เป็นตัวเลขของเงินเท่านั้น เช่นการสร้างเขื่อน มักประเมินคุณค่าของทรัพยากรประมงเป็นจำนวนเงิน แล้วใช้วิธีซื้อพันธุ์สัตว์น้ำที่เกิดจากการเพาะพันธุ์ปล่อยลงไปแทน ซึ่งกรมประมงยังไม่สามารถทำความเข้าใจให้กับผู้ประเมินได้ว่า สัตว์น้ำที่เพาะพันธุ์ได้ในปัจจุบันมีจำนวนชนิดน้อยกว่าที่มีอยู่ในธรรมชาติ และสัตว์น้ำชนิดหนึ่งไม่สามารถไปทดแทนสัตว์น้ำชนิดหนึ่งได้ ปลายี่สกเทศไม่สามารถไปทดแทนปลานวลจันทร์น้ำจืดได้ และการทุ่มปล่อยสัตว์น้ำชนิดใดชนิดหนึ่งเป็นจำนวนมากก็จะเกิดผลกระทบต่อสัตว์น้ำชนิดอื่นด้วย กรมประมงยังทำไม่ได้แม้กระทั่งการพบกันครึ่งทางระหว่างการก่อสร้างโครงการต่างๆในลำน้ำกับการบริหารจัดการทรัพยากรประมงให้คงอยู่ โดยการสร้างทางผ่านของสัตว์น้ำ(บันไดปลาโจน)ให้เหมาะสมในโครงการสร้างเขื่อนที่สร้างขวางลำน้ำ ที่มีอยู่ในปัจจุบันไม่สามารถใช้งานได้จริงเนื่องจากตำแหน่งที่ตั้งรูปร่างและขนาดของบันไดปลาโจนไม่สามารถชักนำให้สัตว์น้ำเข้ามาเดินทางผ่านเพื่อกลับไปยังแหล่งเลี้ยงตัววางไข่ที่อยู่ต้นน้ำได้ ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความมั่นคงทางอาหารของคนในพื้นที่ทำวิถีชีวิตต้องเปลี่ยนไป พึ่งพาตนเองได้น้อยลง และการชดเชยด้วยการซื้อพันธุ์สัตว์น้ำปล่อยลงไปไม่สามารถแก้ปัญหาได้จริงและไม่คุ้มค่า   

                โดยภาพรวมเรื่องที่ไม่ประสบความสำเร็จดูจะเป็นเรื่องใหญ่กว่าเรื่องที่ประสบความสำเร็จซึ่งก็ต้องอาศัยการทำงานเป็นทีมที่ต่อยอดและต่อเนื่องไปอีกยาวนาน เพื่อที่จะมีแนวทางแก้ไขปัญหาให้เกษตรกร เมื่อภาวะโลกร้อนส่งผลกระทบจนน้ำทะเลขึ้นมาถึงเขื่อนเจ้าพระยา

 

กราบเรียน...ท่านอาจารย์ ดร.จีระและทีมงานค่ะ

            เข้ามาเยี่ยมเยียนอาจารย์ใน Web อย่างสม่ำเสมอค่ะ  ท่านอาจารย์และทีมงานคงสบายดีนะคะ  ทางเหนืออากาศจะเริ่มหนาวแล้วค่ะหมดฝนก็คงเข้าหนาวพอดี อาจารย์คงมีงานเยอะเหมือนเช่นเคยนะคะ  รักษาสุขภาพด้วยนะคะและกำลังรอการบ้านของอาจารย์เกี่ยวกับภาวะผู้นำอยู่ด้วยใจระทึกค่ะ

                                 ด้วยความเคารพค่ะ

                    ประหยัด  สำนักงานเกษตรจ.ลำพูน      

นุศิษย์ วิลาศกาญจน์ , องค์การสวนยาง ,นครศรี ฯ

เรียน  อาจารย์  จิระ ฯ ด้วยความเคารพอย่างสูง

  ผมต้องขอโทษอาจารย์เป็นอย่างสูง ที่ไม่สามารถส่งงานได้ตามกำหนด  ต้องเรียนว่าระบบ IT ของหน่วยงานของผม  ยังมีปัญหาอยู่มาก สามวันดีสี่วันไข้ ไม่สามารถใช้งานได้ตลอดเวลา เหมือนเพื่อน ๆ อีกหลายคนที่อยู่ส่วนกลาง  จะประสานเพื่อน ๆ ก็ไม่มีทำเนียบรุ่น ( คิดว่าอีกหลายคนคงมีปัญหาเหมือนกับผม )  งานชิ้นต่อไปของอาจารย์ เรื่องภาวะผู้นำ จะประสานกับประธาน ( คุณวนิดา ) ก็ไม่ทราบว่าจะประสานได้หรือเปล่า

1. เปรียบเทียบ 8 K "s และ 8 H " s ของ อ.จิระ และคุณหญิงทิพภาวดี กับ Intellectual Capital ของ THomas Stewart

ซึ่งในส่วนของ 8K"s ซึ่งมีความแตกต่างน้อยมากเมื่อเปรียบเทียบกับ 8 H"s  ความต่างก็คือทุนทางสังคม ซึ่งจะเน้นให้ทุกภาคส่วนมีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน เพื่อเสริมส้รางเครือข่ายโดยไม่จำกัดว่าจะเป็นหน่ายงานเดียวกันหรือไม่ ทั้งนี้จะต้องนำเอาระบบ IT มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ทั้งนี้เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป

ในขณะที่IC ( IntellecTual Capital ) ของ Thomas Stewart ได้แบ่งแนวคิดออกเป็น 3 ส่วนคือ Human Capital ,Customer Capital , Structure Capital  ซึ่งจะมองเน้นที่ผลประโยชน์ทางธุรกิจเป็นสำคัญ โดยใช้ทุนทั้งสามประเภทเป็นกรอบในการดำเนินนโยบาย ซึ่งความต่างจะเห็นชัด เพราะเป็นการดำเนินงานที่ไม่มีความยังยืนและอาจจะขาดจริยธรรม

2.  จะสร้างมูลค่าเพิ่มจาก IC ในกระทรวงเกษตร ฯ ได้อย่างไร

จะต้องยอมรับความจริงประการหนึ่งว่า กษ. เป็นหน่วยงานที่ใหญ่ จึงประกอบไปด้วยบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ แต่สิ่งที่ขาดคือ การบูรณาการร่วมกันของทุกภาคส่วน ไม่มีการสร้างเครือข่าย  ทำงานซำซ้อนกัน

กษ. จะต้องปรับปรุงโดยการนำ IT มาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่ ผู้บริหารระดับสูงจะต้องให้ความสำคัญต่อการบริหาร KM ให้เกิดเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน

 

 

มูลนิธิพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศ

ขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา“ปัจจัยท้าทายประเทศไทยปี 2553 อยู่รอดหรือยั่งยืน?”

วันที่ 8 ธันวาคม 2552

ณ มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด แคมปัสพระรามเก้า 

มีรายละเอียดในลิ้งค์นี้

http://gotoknow.org/blog/chiraacademy/317427

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท