อนุทิน 126240


ดร. ธวัชชัย ปิยะวัฒน์
เขียนเมื่อ

คิดขึ้นมาได้ว่า

"การเรียนการสอนในระดับมหาวิทยาลัยนั้น งานหนักควรอยู่ที่นักศึกษา ไม่ได้อยู่ที่อาจารย์"

ถ้าอาจารย์ทำทุกอย่าง ย่อยความรู้จนละเอียดเพื่อไปป้อนนักศึกษา เท่ากับอาจารย์กำลังทำร้ายนักศึกษาไม่ให้มีความสามารถในการเรียนรู้



ความเห็น (3)

คงคิดกันคนละมุมนะครับ อาจารย์

คนที่เป็นอาจารย์ส่วนใหญ่ก็จะคิดแบบนี้

ในขณะที่นักศึกษาส่วนใหญ่กลับคิดตรงกันข้าม นั่นก็คือ คิดว่าตัวเองยังเป็นลูกนกตัวเล็กๆ อยู่ ต้องรอให้ครูหรืออาจารย์นำอาหาร(วิชาการ/ความรู้)ที่สำเร็จรูปมาป้อนให้ จนกว่าตนเองจะปีกกล้าขาแข็งและกระพือปีกบินได้

อาจารย์ก็เลยงานหนักตามไปด้วยครับ 555

การเรียนการสอนจึงกลายเป็นกระบวนการเรียนการสอนไป

ที่ไม่ใช่ "บรรยาย" อย่างเดียวไงครับ ;)...

Perhaps, there is a need to look at 'upstream' (foundational) and 'downstream'(derivarive) learning. It goes without argument that 'foundational knowledge' must be carefully crafted and applied to learners so that it forms a 'good tool set' for learners to develop 'derivative knowledge' on their own.

Whar is 'foundational knowledge'? That is a 'good question'!

'I say' from a Buddhists' point of view, understanding the 3 characteristics of the world [anicca,m; dukkhu.m; anatta], "the 4 ariya-sacca" (how to solve a ptoblem - dukkha), (the 4 parts [look under cover; test and tell, use with confidence; and 'repeat'] of) Gaalaamasutta and "the heart of Buddhism" [do no evil; do only good; purify the mind] form the core of foundational knowledge for living and learning. Lives can build on from this base. Other learning too,

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท