พลัง AAR ในการดูงาน ของสองนคร: ขยายการดูแลเด็ก เอชไอวีที่เชียงราย


ทำ AAR กันทุกวัน เลย เพราะ การทำ AAR เป็นเทคนิคที่มีพลังสูงมากในการพัฒนางาน

เล่าให้ฟัง ใน บล็อกก่อนหน้า แล้ว 

ทีมจาก นครสวรรค์ และ นครศรี ธรรมราชได้ เรียง ลำดับไว้ถึง

จุดประสงค์และความต้องการ

  

แนวทางการ Disclosure(12)

     การดูแลแบบองค์รวม(9)

แนวทางดูแลวัยรุ่น(8)

ดูแลและประสานงานรพ.ชุมชน(6)

     ดูงานจากรพ.ต้นแบบ(4)

     ดูงานแบบ Toyota  จากทีมเชียงราย(3) 

     การจัดการเรื่องยาและการตรวจสอบ(3)

การบริการแบบ one stop service(3)

     ดูงานด้านงานด้านสังคมสงเคราะห์(3)

 

การให้คำปรึกษาครอบครัว(2)

    เครือข่ายสนับสนุน Adherence(1)

 

Home-based Care(1)

  

และเราก็ทำ AAR กันทุกวัน เลย

      จน ทั้งสองทีม คุ้นชินกับ การทำ AAR  

เพราะเราพบว่า การทำ AAR  เป็นเทคนิคการจัดการความรู้ KM  ที่มีพลังสูงมากในการพัฒนางาน  

คุณปุ๊ก ธิดาพร น้องกิ๊ก แห่ง BATS และคุณโหน่งแห่ง TUC ได้พิสูจน์โดย ททท

เธอนำไปใช้เลย  ในครั้งก่อนๆ 

 เธอกลับมาแต่ละคราวด้วยวิธีการที่ดีขึ้นเรื่อยๆ ไม่ว่าจะการประสานงาน หรือ การเตรียมช่วยเหลือทีม

ตลอดไปถึงการกำหนดข้อมูลการนำเสนอ 

คราวนี้ ที่การนำเสนอ สมบูรณ์แบบที่สุดเราสรุปกันว่า

 เพราะมีการพัฒนาไม่หยุดยั้งจากทีม BATS และ TUC เนื่องจากการทำ AAR ในครั้งที่ 1 และ 2 และนำไป ปรับปรุงโดย น้องกิ๊ก และ คุณโหน่ง

 สรุปแล้ว การดูงาน 4 วัน เราทำ AAR รวม 5 ครั้ง  

ได้นำมาเสนอให้เป็นตัวอย่างในบล็อกนี้    3 ครั้ง 

ครั้งที่ 1  

 

AAR วันแรก วันดูงาน เตรียมความพร้อม

 

สูงกว่าความคาดหมาย

 

ประทับใจ(3)

 

ความพร้อมดีมาก ตั้งใจ (2)

 

เห็นรายละเอียดสามารถประยุกต์ได้

 

ชอบลักษณะการสอน(1)

 

การใช้สื่อเข้าใจง่าย(1)

 

ญาติของผป.มีส่วนร่วม

 

เตรียมความพร้อมละเอียดดีมาก

 

ไปรับที่สนามบิน

 

อยากจะมาอีก

 

ได้เอกสารและหนังสือ

 

เป็นกันเอง

 

วิทยากรดีมาก พูดเพราะ

 

เป็นธรรมชาติทำด้วยใจ

 

ผู้เข้ากลุ่มให้ความร่วมมือดี

 

ผู้มาดูงานตั้งใจมาก

 

ทำเวลาได้ดีมาก เสร็จเร็ว

ต่ำกว่าความคาดหมาย

 

ไม่เจอเด็ก(3)

 อากาศ ไม่หนาว เอาเสื้อกันหนาวมา ไม่ได้ใช้  

จำนวนผป.กลุ่มใหญ่

ระบบและขั้นตอนของรพ.

 

อัดแน่นมากไปหน่อย

 น่าจะมีการประเมินความรู้ของผู้ดูแล 

  

สิ่งที่จะทำทันที

 

การปฏิวัติตัวเอง พัฒนาศักยภาพของรพ.ชุมชน

 

ทำone stop service เท่าที่จะทำได้

 

สร้างทีมในการทำงาน กำหนดบทบาทหน้าของแต่ละคน

 

จะขยายเครือข่ายสนับสนุน

 

ให้ผู้ดูแล ผป. มีส่วนร่วมในการนับยา

 

จัดประเมินAdh ใหม่

 

สนับสนุนพบแกนนำของศอร.

 

การทำกลุ่มแยกกันระหว่างผู้ดูแลและผป.

 

ปรับปรุงแฟ้มผป.ก่อน

 

ดึงงบประมาณสำหรับPLHA  การทำงาน

 

ทำทีมช่วยเหลือผป.ต่อไป

 

ติดตามผป.เด็กเรื่องสุขภาพ

 

ประสานงานกลุ่มองค์กรท้องถิ่นให้มากขึ้น

 

ถ่ายทอดไปให้กลุ่มรู้

 

นำประสบการณ์ที่ได้ไปประชุมทีม

 

นำรูปแบบเรื่องยาไปปรับปรุงใช้

 

การจัดเก็บแฟ้มประวัติ

 

ดูแลเรื่องการส่งต่อ

ครั้งที่ 2  AAR วันที่สอง ดูงาน รพ พญาเม็งราย

ครั้งที่ 3 AAR วันที่สาม ดูงานเชิงปฏิบัติงานที่ คลินิกยาต้าน รพ เชียงรายฯ 

 

เกินความคาดหมาย

 

ความตั้งใจ,สามารถ,สามัคคี,ความช่วยเหลือจากภายนอก

 

เด็กเปิดใจและ ผู้ดูแลมีส่วนร่วม

 

มีส่วนร่วมขององค์กรต่างๆที่รพ.ชุมชน

 

เป็นกิจกรรมยั่งยืน

 

ระบบการดูแลผป.ต่อเนื่องเป็นรูปธรรม

 

ทีมงานเข้มแข็งจัดการดี ศอร.เข้มแข็ง

 

ระบบการทำงานลื่นไหลดี

 

ความสัมพันธ์ของผป.และผู้ดูแล

 

สุขภาพจิตของผู้ดูและผป.ดีมาก

 

ยึดผป.เป็นศูนย์กลาง

 

one stop service

 

การทำงานสหวิชาชีพสมบูรณ์แบบ

 

สถานที่กว้างขวาง

 

การประสานงานส่งต่อข้อมูลดี

 

เป้าหมายเดียวกัน

 

มีคนถามมากดี

 

ทีมตั้งใจดูงานมาก

 

สนใจทุกประเด็น

 

เป็นกันเอง

 

รพ.พญาเม็งรายทำงานได้พัฒนาดีมาก

 

ได้ประสบการณ์ ความสามัคคี

 ผู้ดูงาน ไม่สนใจว่าจะกินข้าวช้า ขอถามและคุยจนเลยเวลาเที่ยง 

อยู่เต็มเวลา  มีการร่วมมือดี

 

สนใจสอบถามตลอดเวลา

 

มีหมอมาคราวนี้หลายคน

 

สหวิชาชีพมามาก

 

ได้เที่ยวต่างอำเภอ

ต่ำกว่าความคาดหมาย

ไม่เห็นรูปแบบหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องกับเอดส์ การบูรณาการงาน

 

การทำกลุ่มควรแบ่งวัยรุ่นกับเด็กเล็กออกจากกัน

 

ผป.วัยรุ่น(ไม่ชอบให้ดูงาน) ไม่ค่อยให้ความร่วมมือ

ครั้งที่ 4 

AAR ครั้งสุดท้าย ที่ผู้ดูงานเขียนความเห็นลงในกระดาษ

  

ครั้งที่ 5 กรรมการโครงการสรุปงาน 

เราลงนั่งคุยกันทีมใหญ่ ทั้งจาก BATS TUC วิทยากร และทีมเชียงราย เมื่อส่งผู้เข้าประชุมกลับกันหมดแล้ว

สิ่   สิ่งที่ เกินคาด

1.     มีความสุข/ เป็นกันเอง

 

2.     จัด Presentation ได้ดีมาก   ถ้าเก็บเป็น record จะดีมาก

 

3.     เป็นทิศทางเดียวกัน/ลดระยะเวลา

 

4.     รพ.นครศรีธรรมราช เตรียมงานมาดี ประชุมกัน แบ่งภาระการเน้นดูงานกันมาก่อน

 

5.     โครงการนี้เหมือนหนูน้อยใจดี/ขอบคุณซึ่งกันและกัน เน้นจิตใจ/ความสุข/อบอุ่น/ชื่นชม ไม่ใช่วิชาการล้วนๆ

 

6.     เดิม ทีมจาก สสจ. กังวลแต่แต่พอมาดูงานก็รู้สึกว่าคุ้มที่ได้มา เปลี่ยนทัศนคติ ตอนแรกคิดว่าคงไม่ได้อะไรเพราะว่ามีระบบreferอยู่แล้ว แต่ยังมีรูปแบบmodel ที่ยังไม่ชัดเจน

 

7.     การทำค่าย ได้รับความสนใจมาก แต่ขอให้ทำภายหลัง

 

8.     ติดใจความพยายามของ ทั้ง 8 รพ.ที่มาดูงาน

 

9.     ผู้วิพากย์หลายคน และหลากความคิด(จิตแพทย์/สสจ) มี improvement ทุกครั้ง/มีธรรมะแทรก

 

10. สสจ/สคร จะช่วยขยายต่อ

 

11. ทีมทำ Template ทำให้สะดวกในการPresent

 

12. ทีมดูงานมีความเป็นกันเอง จริงใจ สามารถสัมผัสได้

 

13. อาสาสมัครมีความเข้มแข็ง มีพลังใจดีมาก

 

14. หมอลุยเต็มที่( นพ.วิชัย/หมอนุก)

 

15. ทำเวลาได้ดี /เลิกเร็วขึ้น

 

16. เตรียมความพร้อมดีขึ้นคราวนี้ เห็นตั้งแต่เริ่มกระบวนการ

 

18. เด็กดื้อยา มีอยู่ทุกจุด ทั่วประเทศ  ต้องได้รับการป้องกันไม่ให้ดื้อ และดูแลต่อ

 

19.

      ต่ำกว่าคาด 

       วางแผนไปแม่สาย/รถไม่พร้อม

ต่ำ

1.     สัมภาษณ์ ทีม แบบ TOYOTA เวลาไม่พอ 

 

2.     วันนิเทศงาน มีเวลาว่างช่วงก่อนไป  10-11.30 น. ถ้าต่อด้วยการนำเสนอเรื่องค่ายเลยจะดีกว่า

 

3.     จะพาทีมไปเที่ยวต้องบอกให้รู้ล่วงหน้าก่อน

 

4.     ผู้ดูงานไม่ค่อยเข้าใจเรื่อง Adherence มาก่อน

 

5.     ไม่ได้ประเมินเรื่อง Adherence มาก่อน

 

6.     ผู้ป่วยเด็กที่ทีมดูงานดูแลอยู่ มีรายที่ดื้อยามากกว่าที่คาด

 

7.     วิธีคำนวณ Adherence จาก pill count ไม่แน่ใจว่าผู้ดูงานจะทำได้

 

8.     งบประมาณของ ACCESS จะหมดเดือนมิถุนายน โครงการค่ายวัยรุ่นจะไม่มีงบทำ

 

สิ่งที่จะทำต่อ

      เริ่มต้นให้ยา ให้เด็กรอดชีวิตก่อน ตอนนี้ เด็กรอด เน้นปรับปรุงคุ     คุณภาพบริการให้ดีขึ้น

 

1.     ช่วงที่ให้สัมภาษณ์ บทบาทของทีมให้พยาบาลไปพร้อมกันทั้ง 2 คน จะใช้เวลา 20 นาทีและ     ACCESS และศอร. เข้าให้สั

หมายเลขบันทึก: 155380เขียนเมื่อ 22 ธันวาคม 2007 15:08 น. ()แก้ไขเมื่อ 24 พฤษภาคม 2012 08:38 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท