ผศ.ดร. เมธา หริมเทพาธิป


อาจารย์ประจำหลักสูตร
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
Username
0818150908
สมาชิกเลขที่
211956
เป็นสมาชิกเมื่อ
เข้าระบบเมื่อ
ประวัติย่อ

ชื่อ-นามสกุล: นายเมธา หริมเทพาธิป

ตำแหน่งงานปัจจุบัน  
: อาจารย์ประจำหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตและศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาปรัชญาและจริยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

: กรรมการและเลขาธิการมูลนิธิสหธรรมิกชน

: ผู้รับผิดชอบโครงการสถาบันพอดี และ Oneness Academy (MOU) มูลนิธิสหธรรมิกชน 

: กรรมการพิจารณาผลงานการดำเนินโครงการส่งเสริมและสนับสนุนแก่เยาวชนในการเตรียมพร้อมเพื่อเข้าสู่อาชีพด้านวิทยุ โทรทัศน์ โดยการเปิดช่องทางสื่อสารเพื่อเป็นเวทีให้กับเยาวชน ในการจัดทำรายการภายใต้หลักจริยธรรมและคุณธรรม และพิจารณาผลการดำเนินโครงการ ประจำงวดที่ 1 สำนักงาน กสทช.

: หัวหน้าโครงการทุนวิจัย ปชส. สนับสนุนการส่งเสริมสร้างความเข้าใจเพื่อความมั่นคงในการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจำปีงบประมาณ 2565 จากศูนย์ประสานงานการปฏิบัติที่ 5 กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร (ศปป.5 กอ.รมน.) 

ประวัติการศึกษา

: พ.ศ. 2560  : หลักสูตร เทคนิคการพูดและการเป็นวิทยากรมืออาชีพระบบทฤษฎีธรีซาวด์ โรงเรียนสอนการพูดจอมพล กระทรวงศึกษาธิการ

: พ.ศ. 2557  : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญาและจริยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

: พ.ศ. 2553  : ศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

: พ.ศ. 2550 : ศาสนศาสตรบัณฑิต (ศน.บ.) คณะศาสนาและปรัชญา เอกพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

: พ.ศ. 2549 : ประกาศนียบัตรวิชาชีพครู (ปว.ค.) มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

: พ.ศ. 2548 : นักธรรมชั้นเอก (น.ธ. เอก) สำนักเรียนราชบพิธ กรุงเทพฯ 
 

ประสบการณ์การทำงาน

ก. ด้านการบริหาร

: อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาปรัชญาและจริยศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพฯ

: กรรมการบริหารและเลขาธิการมูลนิธิสหธรรมิกชน

: ประธานกรรมการอิสระฝ่ายสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน บริษัทไฟเบอร์วัน จำกัด (มหาชน)

: ผู้รับผิดชอบสถาบันพอดี มูลนิธิสหธรรมิกชน 

: ผู้รับผิดชอบโครงการ Oneness Academy (MOU) มูลนิธิสหธรรมิกชน 

: คณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการเฝ้าระวังสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ กระทรวงวัฒนธรรม (2564-2565)

: คณะทำงาน “คู่มือเครือข่ายเฝ้าระวังสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์” สนับสนุนโดย กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ กระทรวงวัฒนธรรม (2565)

: บรรณาธิการฝ่ายเนื้อหา หนังสือเรื่อง “คิดอย่างไรให้ได้นวัตกรรม (Innovation Thinking)” เขียนโดย ดร.ชัยโรจน์ นพเฉลิมโรจน์ (2564)

: หัวหน้าโครงการทุนวิจัย ปชส. สนับสนุนการส่งเสริมสร้างความเข้าใจเพื่อความมั่นคงในการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจำปีงบประมาณ 2564 จากศูนย์ประสานงานการปฏิบัติที่ 5 กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร (ศปป.5 กอ.รมน.) 

: คณะทำงานติดตามและประเมินผลโครงการหรือกิจกรรมตามสัญญาให้ทุนสนับสนุนจากกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ ประจำปี 2563 กระทรวงวัฒนธรรม 

ข. ด้านการสอน

: อาจารย์ประจำหลักสูตร สอนรายวิชาจริยศึกษา, วิชาศาสนศึกษา, วิชาปรัชญาและจริยศาสตร์สมัยใหม่, วิชาปรัชญาและจริยศาสตร์ยุคกลาง, วิชาปรัชญาศึกษา, วิชาปรัชญาและจริยศาสตร์หลังนวยุค ในหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาปรัชญาและจริยศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพฯ (ปี 2559-ปัจจุบัน)

: อาจารย์พิเศษ สอนรายวิชาทฤษฎีและปัญหาจริยศาสตร์, วิชาสัมมนาญาณวิทยา ในระดับบัณฑิตศึกษา สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย (ส่วนกลาง) (ปี 2558)

ค. ด้านวิทยากร/กระบวนกร

พ.ศ. 2559-ปัจจุบัน

: เป็นวิทยากรให้กับสำนักงานเลขาธิการสาการศึกษา ในการประชุมพัฒนาระบบกลไกการมีส่วนร่วม “สมัชชาสภาการศึกษาระดับภูมิภาค (Regional Education Assembly)” 

: เป็นวิทยากรอบรม ในโครงการต่างๆ ของมูลนิธิสหธรรมิกชน เช่น โครงการ we oneness, Club of ONE (สนับสนุนทุนโดย สสส.) เป็นต้น

: เป็นวิทยากรรับเชิญให้กับสถานีวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์รัฐสภา (ช่อง 10)

: เป็นวิทยากรอบรมให้กับสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์ และกิจการคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.)

: เป็นวิทยากรรับเชิญรายการ “เปลี่ยน เป็น เปลี่ยน” ช่อง WBTV

: เป็นวิทยากรนำเสนอผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการนานาชาติ ครั้งที่ 6 เนื่องในวันสหวิทยาการประจำปีเรื่อง “บรรทัดฐานใหม่ของสังคมสารสนเทศเพื่อธรรมาภิบาล” และเรื่อง “ธรรมาภิบาลกับการแก้ปัญหาคอรัปชั่น” จัดโดยสำนักงานราชบัณฑิตยสภา คณะกรรมการสหวิทยาการเพื่อการวิจัยและพัฒนา ร่วมกับมูลนิธิสหวิทยาการเพื่อการวิจัยและพัฒนา เครือข่ายสหวิทยาการ สำนักงานราชบัณฑิตยสภา ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี กรมการแพทย์กระทรวงสาธารณสุข และสำนักคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

: เป็น Speaker ในงาน The Sixth Interdisciplinary Day Conference (Thailand and the UN 2030 Sustainable Development Goals) July 5-6, 2016, Thailand

: เป็นวิทยากรอบรมให้กับสำนักงานตรวจสอบภายในทหารบก ถนนราชวิถี เขตดุสิต กรุงเทพฯ

: เป็นวิทยากรกระบวนการถอดบทเรียนผู้นำชุมชนให้กับสถาบันมะเร็งแห่งชาติ

: เป็นวิทยากรอบรมให้กับผู้บริหารระดับสูง (CEO) ของธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน)

: เป็นวิทยากรอบรมให้กับผู้บริหารระดับสูง (CEO) ของบริษัท เอส.บี. เฟอร์นิเจอร์ จำกัด

: เป็นวิทยากรอบรมให้กับพนักงานบริษัท ล.ธนวงศ์ (1997) จำกัด (สาขาที่ 00006) 

: เป็นวิทยากรอบรมให้กับบุคลากรทางการแพทย์ โรงพยาบาล ป.แพทย์ จังหวัดนครราชสีมา

: เป็นทีมกระบวนกร (อำนวยการวงเสวนา) ในกิจกรรม “ความจริง ความงาม ความรัก เพื่อจักรวาลของเรา” สนับสนุนโดยมูลนิธิสหธรรมิกชน และกองทุน สสส.

: เป็นวิทยากรรับเชิญในงานเสวนาเพื่อการค้นพบความจริงหนึ่งเดียวของมนุษย์ เรื่อง “วิทยาศาสตร์ ปรัชญา จิตวิญญาณ สู่หนึ่งเดียวกัน” ภายใต้กิจกรรม Club of ONE ของโครงการ we oneness มูลนิธิสหธรรมิกชน สนับสนุนโดยกองทุน สสส.

: เป็นวิทยากรรับเชิญ รายการ “ของขวัญจากพ่อ” (Facebook Live) จัดโดยศูนย์ประสานงานเครือข่ายภาคประชาสังคม (กอ.รมน.) ร่วมกับมูลนิธิสหธรรมิกชน

: เป็นผู้อำนวยการอบรม Club of Wisdom กิจกรรมเพื่อเปิดพื้นที่การเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วมบนพื้นฐานปรัชญาและจริยศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง 3 องค์กร ได้แก่ (1) หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตและศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาปรัชญาและจริยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (2) สถาบันพอดี มูลนิธิสหธรรมิกชน (3) ศูนย์วิจัยธรรมศึกษา วัดอาวุธวิกสิตาราม

ง. ด้านวิชาการ

ประกอบด้วยเอกสารการสอน งานวิจัย บทความวิจัย/บทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารต่างๆ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

เอกสารการสอน

: เอกสารการสอนรายวิชา PHE 8104 “จริยศึกษา” มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (2562)

: เอกสารการสอนรายวิชา GS 2312 “ทฤษฎีและปัญหาจริยศาสตร์” มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย (2558)

รายงานวิจัย/สารานุกรมออนไลน์ 

(1) ทุนจากมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ประกอบด้วย

: เมธา หริมเทพาธิป. (2563). การพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนด้วยปรัชญาหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช. รายงานการวิจัย. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

: เมธา หริมเทพาธิป. (2561). การจูงใจตนเองในแนวทางหลังนวยุค. รายงานการวิจัย. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

เมธา  หริมเทพาธิป. (2560). การมีส่วนร่วมในมุมมองหลังนวยุค. รายงานการวิจัย. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. 

: กีรติ บุญเจือ, เมธา หริมเทพาธิป และคณะ. (2558). ความเป็นหลังนวยุคของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. รายงานการวิจัย. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

(2) ทุนจาก กอ.รมน.

: รวิช ตาแก้ว, เมธา หริมเทพาธิป และคณะ. (2565). ปัจจัยพลังอำนาจของชาติด้านเศรษฐกิจตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง : การศึกษาเชิงวิเคราะห์ วิจักษ์ และวิธาน. รายงานการวิจัย. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

: รวิช ตาแก้ว, เมธา หริมเทพาธิป และคณะ. (2565). ปัจจัยพลังอำนาจของชาติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง : การศึกษาเชิงวิเคราะห์ วิจักษ์ และวิธาน.. รายงานการวิจัย. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

: เมธา หริมเทพาธิป, รวิช ตาแก้ว. (2565). สังคมแบ่งปันตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง : การศึกษาเชิงวิเคราะห์ วิจักษ์ และวิธาน.. รายงานการวิจัย. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

(3) จาก สำนักงานคณะกรรมการเลขาธิการสภาการศึกษา

: รวิช ตาแก้ว, เมธา  หริมเทพาธิป และ อเนก สุวรรณบัณฑิต. (2562). โครงการส่งเสริมและพัฒนาแนวทางการมีส่วนร่วมและสมัชชาการศึกษา. รายงานการวิจัย. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการเลขาธิการสภาการศึกษา.

(4) ทุนจาก สกว.

กีรติ บุญเจือ, เมธา หริมเทพาธิป และคณะ. (2558). สารานุกรมปรัชญาสู่ประชาชนคนทำดีมีสุข. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

(5) ทุนส่วนตัว

: เมธา หริมเทพาธิป. รวิช ตาแก้ว, สิริกร อมฤตวาริน. (2559). ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญาและจริยศาสตร์ มรภ.สวนสุนันทา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

บทความวิจัย/บทความวิชาการ 

: พระมหาสุริยา สุเมโธ (ด้วงติลี), กีรติ บุญเจือ และ เมธา หริมเทพาธิป. (2564). ทศพิธราชธรรม: การศึกษาเชิงวิเคราะห์ วิจักษ์ และวิธาน. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 (มกราคม-กุมภาพันธ์)

: เมธา หริมเทพาธิป. (2563). การจูงใจตนเองในแนวทางหลังนวยุค. วารสารพุทธมัคค์ ศูนย์วิจัยธรรมศึกษา สำนักเรียนวัดอาวุธวิกสิตาราม ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน)

: ณัฐสุดา เชี่ยวเวช, กีรติ บุญเจือ และเมธา หริมเทพาธิป. (2563). อรรถปริวรรตการรักษาศีลแปดตามหลักปรัชญาหลังนวยุค : การศึกษาเชิงวิเคราะห์ วิจักษ์ และวิธาน. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 (มกราคม-กุมภาพันธ์)

: กีรติ  บุญเจือ และเมธา  หริมเทพาธิป. (2562). The Caring of Terminal Stage Patient According to Postmodern Philosophy. การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 10 "Global Goals, Local Actions : Looking Back and Moving Forward" ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา วันที่ 29 มีนาคม 2562

: กีรติ  บุญเจือ และเมธา  หริมเทพาธิป. (2562). Interpretation of The Eight Precepts According to Postmodern Philosophy. การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 10 "Global Goals, Local Actions : Looking Back and Moving Forward" ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา วันที่ 29 มีนาคม 2562

: เมธา หริมเทพาธิป. (2561). การมีส่วนร่วมในมุมมองหลังนวยุค. วารสารรมยสาร. ปีที่ 16. ฉบับที่ 3. (กันยายน-ธันวาคม)

: พระครูธรรมศาสนโฆสิต (ภิญโญ ปานดำรงค์), เมธา หริมเทพาธิป, กีรติ บุญเจือ. (2560). การตีความมรรคมีองค์ 8 ตามหลักหลังนวยุคสายกลาง : การศึกษาเชิงวิเคราะห์วิจักษ์ และวิธาน. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน. ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม–สิงหาคม)

: เมธา  หริมเทพาธิป, พระมงคลธรรมวิธาน, พระมหามฆวินทร์ ปุริสุตฺตโม และคณะ. (2560). ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร. ปีที่ 5  ฉบับที่พิเศษ 1  เลขหน้า : 457-468  ปี พ.ศ. 2560

: เมธา หริมเทพาธิป. (2559). การศึกษาตามหลักปรัชญาหลังนวยุคนิยมสายกลาง: วิเคราะห์จากหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรภูมิพลอดุลเดช รัชกาลที่ 9. วารสาร ศึกษาศาสตร์ มมร. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน) 

จ. ด้านอื่นๆ

: แอดมินเพจสังคมแห่งการแบ่งปัน

: ที่ปรึกษามูลนิธิศูนย์บูรณาการพัฒนามนุษย์ (iHDC)

: กรรมการตัดสินภาพยนตร์สั้นระดับประเทศ (Short Film of Parliament 2016) ในหัวข้อเรื่อง “ขอ-รับ-ท่าน” (Corruption) จัดโดย สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ร่วมกับ กสทช.

: เขียนบทความเพื่อการตระหนักรู้ เผยแพร่ในเว็บไซต์ https://weoneness.com/author/metha-harimtepathip/

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท