บันทึกหน้าแรกของ CoP “เคมีบำบัด”


CoP เคมีบำบัด

 บันทึกหน้าแรกของ CoP “เคมีบำบัด

หน้าแรกของ CoP เป็นการนำเสนอที่มาของประเด็นปัญหา สมาชิกกลุ่ม และผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตจากการทำ KM

ชื่อ CoP เคมีบำบัด
ประเด็นหลักที่จะดำเนินการ
เพื่อพัฒนาการดูแลผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัดให้ได้มาตรฐานระดับสากล

ที่มาของประเด็นที่ดำเนินการ
**จากการที่มีผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัดเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมาก ทำให้ผู้ป่วยต้องเข้ารับการรักษา ในหลายหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ 

 ** เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง   พยาบาลที่ดูแลผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด     

จึงรวมกลุ่มกันเป็น ชุมชนนักปฏิบัติ(CoP) : เคมีบำบัด   เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด  เป็นการรวบรวมความรู้จากประสบการณ์การทำงานของบุคลากรมาเผยแพร่  ทำให้เกิดความรู้ใหม่ และนำความรู้นั้นไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กร รวมทั้งเป็น      กลยุทธ์สำคัญในการพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศ  

สมาชิกของกลุ่ม

1. หัวหน้ากลุ่มคือ  นางอุบล  จ๋วงพานิช
2. สมาชิกกลุ่ม ตัวแทนพยาบาลประจำหอผู้ป่วยทุกหอผู้ป่วย
 

รายชื่อสมาชิกชุมชนนักปฏิบัติ (CoPs’  Member)

1.      นางดวงพร  สีจร              ที่ปรึกษา

2.      นางอุบล จ๋วงพานิช          facilitator (ผู้ดำเนินการหลัก)

3.      นางสาวรัชนีพร คนชุม        Historian (ผู้ประมวลความรู้)  

4.      นางสมฤดี  ศรีนา                  Historian  (ผู้ประมวลความรู้)

5.      นางคณิตา  ชาดี                             สมาชิกCoP                          

6.    นางนาถอนงค์ น้อยน้ำคำ              สมาชิกCoP       

 7.      นางอภิญญา  คารมปราชญ์          สมาชิก  CoP

8.      นางสาวสมรักษ์ บุญจันทร์            สมาชิก CoP 

9.   พยาบาลหอผู้ป่วยเคมีบำบัด 5จ   สมาชิก CoP 

คุณลิขิตของกลุ่ม
1.  นางสาวรัชนีพร คนชุม

2.  นางสมฤดี  ศรีนา 

ผู้ประสานงาน       นางอภิญญา  คารมปราชญ์   

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเมื่อโครงการนี้เสร็จสิ้น คือ

นำความรู้ที่ได้จากการแลกเปลี่ยนสู่การปฏิบัติ

ปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงานเพื่อพัฒนาไปสู่   Best practice 

หมายเลขบันทึก: 88778เขียนเมื่อ 5 เมษายน 2007 19:36 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 17:55 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (14)
  • ดิฉันในฐานะหัวหน้ากลุ่มได้รับการสนับสนุนจากคณะกรรมการ KM คณะแพทยศาสตร์เป็นอย่างดี
  • CoP เคมีบำบัด มีการประชุมร่วมกันแล้วหลายครั้ง
  • จะรายงานความก้าวหน้าอีกครั้งค่ะ

CoP เคมีบำบัด

  • มีการเปิดตัวกับกลุ่ม และมีการประชุมไปแล้ว 3 ครั้ง
  • ครั้งที่1 เราได้เชิญตัวแทนจากภาคฯศัลย์ คือ อาจารย์ธเนศ มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันแล้วจะสรุปให้ทราบในโอกาสต่อไป
  • ครั้งที่ 2 เราแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันภายในกลุ่มและเตรียมประชุมวิชาการของงานบริการพยาบาล เรื่อง Excellence nursing :บทบาทที่ท้าทายวิชาชีพในวันที่ 7-9 มีนาคม 2550  และดิฉันซึ่งเป็น Farcillitator ได้ไปอภิปรายร่วมในที่ประชุมครั้งนั้นด้วย
  • และครั้งที่ 3 เราได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสมาชิก CoPของเราและเครือข่ายจากโรงพยาบาลจังหวัดเลย เพชรบูรณ์และกาฬสินธุ์ ได้ Knowledge assets หลายประเด็น
    • ทำได้ดีมาก
    • เป็นกำลังใจให้
    • รออ่านบันทึกต่อไป 
    สวัสดีค่ะ
    P
    • เชิญติดตามตอนต่อไปนะคะ
     ประเด็นในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
    (ครั้งที่1 วันที่ 4 มกราคม 2550)
    ระบบการดูแลผู้ป่วยเคมีที่ OPD / Day Chemo/IPD1. การเบิกยาเงื่อนไขพิเศษ2. การจองเตียง3. การสั่งยาเคมีบำบัด (จาก Computer และแพทย์ผู้รับผิดชอบ)4. ระบบการบริหารยาเคมีบำบัด5. ระบบการดูแลผู้ป่วย

    ผู้ประสาน PCT เคมีบำบัด
    นำประเด็นที่ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้เข้าหารือในที่ประชุมภาคฯวิชาศัลย์ฯ

    ได้แนวปฏิบัติเรื่องต่างๆ ดังนี้

             การรับใบยานอกบัญชีของยาเงื่อนไขพิเศษ         ข้อตกลงในการนัด admitted ผู้ป่วย         การสั่ง order ยาเคมี 

    ประเด็นที่เป็นโอกาสพัฒนา
    ในการดูแลผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด

             การบริหารยาเคมีบำบัด         การให้ข้อมูล         การดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวม         สมุดบันทึกสุขภาพ         การบันทึกการดูแลเพื่อให้การดูแลต่อเนื่อง         การประเมินผล
    • สำหรับการประชุมครั้งต่อไปจะรายงานให้ทราบอีกครั้งค่ะ

    ประชุมครั้งแรก 4 มกราคม 2550

     อ. ธเนศ PCT ศัลย์ฯ มาร่วมแรกเปลี่ยนเรียนรู้

    • ขอเชิญ CoP เคมีบำบัดประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ วันที่ 8 พฤษภาคม 2550 เวลา 14.00-16.00น.ที่หอผู้ป่วย 5จ ค่ะ

    CoP เคมีบำบัดร่วมประชุมกับภาคศัลย์ทุกเดือน

    เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน

     11 เมษายน 2550

    ดิฉัน อุบล จ๋วงพานิช หัวหน้ากลุ่ม CoP เคมีบำบัดเข้าร่วมประชุมกับภาคศัลย์ทุก 1 เดือน

    • หัวหน้าภาคฯศัลย์ อาจารย์โอวตือ ได้สรุปว่า
    • การให้ยาเคมีบำบัด ควรมี Guide line
    • จะปรับปรุงระบบการสั่งยาด้วยระบบคอมพิวเตอร์ใหม่
    • จากการที่  อ.วัชรพงศ์ ได้ไป Round ที่หอผู้ป่วยเคมี 5จ พบปัญหาอะไรบ้าง
    • หัวหน้าภาคฯ จะปรึกษา อ. วัชรพงศ์ ก่อนหาแนวทางแก้ปัญหาร่วมกัน
    • ใบยานอกบัญชี สามารถรับได้ที่ภาคฯศัลย์และ OPD 4

    วันที่ 13 มิถุนายน 2550

    ประชุมกับ CLT ศัลยกรรม

    อ. โอวตือ หัวหน้าภาคฯ แจ้งว่าได้คุยกับ อ. วัชรพงศ์ พุทธิสวัสดิ์แล้ว ได้ให้ใช้คำสั่งการรักษาด้วยยาเคมีบำบัด ของภาคศัลฯได้

    แต่ให้แพทย์ปรับขนาดของยาเคมีบำบัดให้เหมาะสมกับขนาดบรรจุของยา

    ส่วนใบยานอกบัญชีที่ใช้แนบเบิกยาพิเศษเฉพาะ Case

    เพื่อความสะดวกและให้ผู้ป่วยได้รับยาเคมีบำบัดตามเวลา

    อาจารย์จะให้ทางหอผู้ป่วยเก็บไว้ เมือ่ใช้แล้วให้ส่งรายงาน Case มาให้อาจารย์ด้วย เพื่อควบคุมการใช้ยาเคมีบำบัด

    วันที่ 15 มิถุนายน 2550

    นำเสนอ CoP เคมีบำบัดให้อาจารย์สุรพล วีระศิริ ฟัง

    มี CoP UTI เข้าร่วมนำเสนอด้วย

    น่าชื่นชม CoPUTI ที่มีทั้ง  พยาบาล  ผู้ช่วยพยาบาลคนงาน เข้าร่วมกิจกรรมด้วย

    ประชุม KM 26 มีนาคม 2553

    CoP เดิมที่ทำต่อสรุปบทเรียน มาหา key success factor

    รลปรร Success story

     

    http://gotoknow.org/blog/uackku/347388

     

    พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
    ClassStart
    ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
    ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
    ClassStart Books
    โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท