SWOT คปสอ.เขาชัยสน ในภาพรวม


SWOT คปสอ.เขาชัยสน ในภาพรวม ที่ได้จากการวิเคราะห์เมื่อวันที่ 29 พ.ย.2548 (ต้นฉบับ ไม่ได้ปรับแต่งสำนวน)

จุดแข็ง

ใกล้ชิดชุมชน
บุคลากรมีความรู้ความสามารถ
Technology สูง /สื่อ
บุคลากรมีความรู้ความสามารถ  ประสบการณ์สูง
มีบุคลากรที่มีความสามารถ  ตั้งใจ  มุ่งมั่น  ในการทำงาน
ให้บริการตรวจสุขภาพประจำปี แก่หน่วยงานอื่นในอำเภอ
บุคลากรมีความสามารถ  มีศักยภาพ  มีความรู้
มีการประเมินผลงานอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
ทราบข้อมูลชุมชนชัดเจน
มีระบบบริการที่ดีรวดเร็วเสมอภาค
บุคลากรมีความสามารถ
มีความมุ่งมั่น
มีทีมงานเข้มแข็งช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
ทราบแหล่งเงินทุนในการของบประมาณ  เช่น สสส.  สกว.  อบจ.
บุคลากรมีความสามัคคี
มีทีมงานในการวิเคราะห์ปัญหา
เป็นศูนย์ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ
มีหน่วย EMS ให้บริการ ณ จุดเกิดเหตุ
ตั้งใจ ,มุ่งมั่น ,พัฒนา
ยอมรับ / ปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลง
มีความสามารถในการเข้าถึงชุมชน
ผู้บริหารสนับสนุน
มีโปรแกรมจัดเก็บฐานข้อมูลครอบคลุม
มีงบประมาณเพียงพอ
มีความมั่นคงในวิชาชีพ
ระบบบริการที่ทันสมัย
หน่วยบริการมีการพัฒนาตามเกณฑ์มาตรฐานได้อย่างครอบคลุม
มีการใช้ทรัพยากรร่วมกัน
มีการประเมินผลการปฏิบัติงาน
มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
มีงบประมาณเป็นของหน่วยงาน (เงินบำรุง)
ทีมบริการเข้มแข็ง
การคมนาคมสะดวก / เพียงพอ
มีการวิเคราะห์การใช้ยาที่เหลือของผู้ป่วย
เจ้าหน้าที่มีศักยภาพในการเป็นพี่เลี้ยง
มีทีม SRRT
มีสิทธิ์ครอบคลุมเข้าถึงบริการ
มีสรุปการจัดสรรและการใช้เงืนของ Cup
มีการทำบีญชีเกณพ์คงค้างในภาพรวมของ CUP

จุดอ่อน

งานมากเจ้าหน้าที่น้อย
ผู้นำเปลี่ยนแปลงบ่อยขาดความต่อเนื่อง
ขาดการประสานงาน/ลงพื้นที่
ผู้นำ / ผู้บริหาร เปลี่ยนบ่อย
ขาดบุคลากรตาม GIS  และ   Workload
จนท.มีภาระงานมาก / ไม่อยากเพิ่มงาน
ระบบข้อมูลข่าวสารไม่ชัดเจน
ไม่ได้นำผลการวิเคราะห์ประเมินผลมาใช้แก้ปัญหา
งานซ้ำซ้อน
ขาดการประชาสัมพันที่ดี
ขาดทีมงานที่เข้มแข็งรับผิดชอบโดยตรง (งานฝาก , ต่อเนื่อง)
บุคลากรไม่เพียงพอเฉพาะตำแหน่ง
ขาดความรู้ความสามารถด้านการเงินของบุคลากร  ระดับ  สอ.
ขาดความมั่นใจในการบริหารงบประมาณจากหน่วยงานที่สนับสนุน จากองค์กรอื่น
การวิเคราะห์ประเมินผลขาดความต่อเนื่อง
เครื่องมือในการประเมินผลยังไม่เป็นมาตรฐานของ CUP ที่เกิดจากการมีส่วนร่วมของบุคลากร
ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างล่าช้า
ระบบการป้องกันภัยธรรมชาติ (ฟ้าผ้าบ่อย)
ขาดแผนงาน (องค์ความรู้ของผู้วางแผน) / เป้าหมาย
ขาดความต่อเนื่องของทีมสุขภาพ
วัสดุอุปกรณ์ไม่เพียงพอแก่การใช้งาน
จนท.บางท่านยังไม่ทราบแหล่งเงินทุนและวิธีเสนอขอ
ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีน้อย (ขาดความรู้  ทักษะ)
ไม่เข้าใจเครื่องมือการประเมินผลอย่างชัดเจน
ประชุมบ่อยจนไม่สามารถทำงานตามแผนได้
ขาดงบประมาณ
ขาดงบประมาณสนับสนุน
ขาดการประสานงาน / ประชาสัมพันธ์ไม่ทั่วถึง
อาคารสถานที่ไม่เหมาะสมในการให้บริการ
ขาดการประสานงาน
ผลการวิเคราะห๋ประเมินไม่ได้สรุปนำเสนอในภาพรวม
ขาดข้อมูลที่มีคุณภาพในการนำมาจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
ขาดจุดบริการ PR ที่ชัดเจน
ขาดการวิเคราะห์สถานการณ์ทางการเงินที่เป็นปัจจุบัน / ข้อมูลรายรับราย – จ่าย
ภูมิสถาปัตย์ไม่เหมาะสม
ขาดการประเมินผลโครงการ
ขบวนการทำงานเป็นทีมไม่ชัดเจน
อุปกรณ์ / เคื่องมือ / อาคาร  ขาดการบำรุง
ได้รับงบประมาณน้อย
การวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรคล่าช้า  ไม่ทันเหตุการณ์
ขาดระบบ Internet ที่ครอบคลุม
การจัดการด้านการเงินไม่ชัดเจน
การดำเนินงานตามแผนงานโครงการล่าช้า
การเฝ้าระวังสถานะการณ์ด้านการเงินไม่รัดกุมรอบคอบ
ขาดแรงกระตุ้นในการทำงาน
ขาดการวิเคราะห์กำกับดูแลและให้เฝ้าระวังทางด้านอุปกรณ์  เงิน  และบุคลากร
ขาดการดำเนินงานตามแผนยุทธศาตร์
ขาดการตรวจสอบภายในตามแผน...
ไม่มีผังควบคุมกำกับงาน
การพ้ฒนาบุคลากรยังไม่เหมาะสมกับความต้องการของ Cup
ขาดการวิเคราะห์ต้นทุนในการทำงาน

โอกาส

ได้รับงบประมาณสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพจากองค์กรท้องถิ่นและภาคประชาชน
จัดอบรมบุคลากร เพื่อให้มีการจัดเก็บข้อมูลให้มีคุณภาพ
มีเครื่องมือการประเมินผลจากส่วนกลาง
ได้รับการสนับสนุนจากองค์กรอื่น (งบประมาณ)
ชุมชนมีส่วนร่วม/กรรมการที่ปรึกษาจากบุคลในชุมชน
มีแนวร่วมภาคประชาชน / รัฐ (อสม. อบต.ฯลฯ)
ชุมชนมีส่วนร่วม
ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินงาน ด้านสาธารณสุขมากขึ้น
มีแกนนำสุขภาพภาคประชาชน  อสม  ผู้นำชุมชน
ขอสนับสนุนทรัพยากรทางด้านการฝึกอบรม  จากหน่วยงานอื่น เช่น สสจ. อบต.
องค์กรส่วนท้องถิ่นให้ความร่วมมือ
ชุมชนมีส่วนร่วม
นโยบายของรัฐ
ได้รับความเชื่อถือ/ศัทธา จากชุมชน
ประชาชนสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ดำเนินงานด้านสาธารณสุข
ได้รับการสนับสนุนวิชาการจากภาคประชาชน
มีศูนย์เทคโนโลยีรองรับ
เครือขาย อสม.เข้มแข็ง
แหล่งทรัพยากร (น้ำแร่ , สมุนไพร,สถานที่ท่องเที่ยว ฯลฯ) 
ภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น ช่น ด้านการแพทย์แผนไทย สมุนไพร แหล่งท่องเที่ยว น้ำแร่  แกะสลักหิน,ไม้
การติดต่อสื่อสารสะดวด (ยกเว้น Internet)
มีงบประมาณสนับสนุนในการประเมินผลโครงการ
ทีมนิเทศระดับจังหวัดสามารถให้ข้อเสนอแนะได้
มีพื้นที่รอยต่อที่ ผู้ป่วยต่างอำเภอมาใช้บริการ 
มีทรัพยากรสุขภาพที่เอื้ออำนวยต่อสุขภาพ
การเมืองท้องถิ่น
นโยบายการจัดสรรเงินตาม รายงาน  0110 รง .5
ฐานะเศรษฐกิจของประชาชนอยู่ในระดับปานกลาง

อุปสรรค

อิทธิพลจากการเมือง
การเดินทางของบุคลากรไม่สะดวก
เสี่ยงต่อการฟ้องร้อง (พรบ.ข้อมูลข่าวสาร)
อัตราต่าบริการในคมนาคมสูง
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังไม่เข้าใจบทบาทด้านสาธารณสุขทำให้มีปัญหาการพัฒนาเชิงรุก
องค์กรชุมชนไม่ให้ความสำคัญกับงานสาธารณสุขเท่าที่ควร
ขาดแคลนลบประมาณ
การเปลี่นแปลงนโยบายอย่างรวดเร็วจากส่วนกลาง
ไม่มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพสิน
เศรษฐฐานะของประชากรไม่ดี
การคมนาคม (ถนน  ฯลฯ)
ประชาชนขาดเลข 13 หลัก
ระบบ Internet  ไม่ครอบคลุม
องค์กร / หน่วยงานอื่น  มีปัญหาภานในทำให้ไม่สามารถสนับสนุนโครงการที่ขอได้
ขั้นตอนในการอนุมัติโครงการล่าช้า /ไม่อนุมัติ จากนายอำเภอ
องค์กรอื่นๆไม่ตระหนักถึงปัญหาสุขภาพ
การศึกษาของคนในพื้นที่ / อาชีพ
ข้อมูลลงทะเบียนราษฎร์ไม่เป็นปัจจุบัน
ขาดการสนับสนุนด้านประชาสัมพันธ์
ทีมขัดแย้งกันเอง
ทีมนิเทศระดับจังหวัดขาดความชัดเจน
หน่วยงานสายบังคับบัญชา (อำเภอ) ไม่เข้าใจกิจกรรมของหน่วยงานอย่างถ่องแท้
เร่งด่วนในการเอาผลงาน
การเมืองท้องถิ่น
งานนโยบายมากเกินไป / ซ้ำกับงานประจำ
มีคู่แข็งทางด้านบริการสุขภาพ (ฯลฯ)
องค์กรท้องถื่นไม่เข้าใจบทบาทด้านสาธารณสุข / งบประมาณ
จุดเชื่อมต่อการแบ่งพื้นที่

[หลอมรวมประสบการณ์เป็นพลังสร้างยุทธศาสตร์พัฒนาสุขภาพระดับอำเภอ]
[SWOT คณะอนุกรรมการพัฒนาหน่วยบริการและประกันสุขภาพ]
[SWOT คณะอนุกรรมการไตรภาคีร่วมพัฒนาสุขภาพชุมชน]
[SWOT คณะอนุกรรมการวิชาการและข้อมูลข่าวสาร]
[SWOT คณะอนุกรรมการบริหารทรัพยากรสุขภาพ]
[SWOT คณะอนุกรรมการยุทธศาสตร์สุขภาพ
[SWOT คณะอนุกรรมการลูกค้าสัมพันธ์]
[SWOT รพ.เขาชัยสน]
[SWOT สอ./สสอ.เขาชัยสน]
[SWOT คปสอ.เขาชัยสน ในภาพรวม]

หมายเลขบันทึก: 8854เขียนเมื่อ 5 ธันวาคม 2005 05:10 น. ()แก้ไขเมื่อ 19 มีนาคม 2015 08:31 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท