GotoKnow

The Model of Improvement. และความเชื่อมโยงกันระหว่าง CQI กับ KM และ R2R

Ka-Poom
เขียนเมื่อ 28 มีนาคม 2567 15:28 น. ()
แก้ไขเมื่อ 28 มีนาคม 2567 15:34 น. ()

The Model of Improvement. และความเชื่อมโยงกันระหว่าง CQI กับ KM และ R2R จากโมเดลดังกล่าว เป็นการเริ่มต้นในการทำ CQI โดยจะเริ่มจากการตั้งคำถามที่นำไปสู่การกำหนดทิศทางการขับเคลื่อน CQI และช่วยให้เห็นแนวทางของการขับเคลื่อนงานที่กำลังพัฒนาชัดเจนยิ่งขึ้น … What are we trying to accomplish? เราพยายามทำอะไรให้สำเร็จ How will we know if a change is an improvement? เราพยายามทำอย่างไร What changes can we make that will result in improvement? การเปลี่ยนแปลงใดที่เราสามารถทำได้ซึ่งส่งผลให้เกิดการปรับปรุง

จากการตั้งคำถาม ออกแบบการทำงาน และนำไปสู่การหมุนวงรอบการพัฒนา 1-2 วงรอบขึ้นไป จนเกิดเป็นวัฒนธรรมในหน่วยงานหรือองค์กร

          ตั้งเป้า —- เฝ้าดู —— ปรับเปลี่ยน

ในการขับเคลื่อนการทำ CQI อาจจะมีคำถามการวิจัย ที่นำไปสู่การวางแผนอย่างเป็นระบบในการศึกษาวิจัยต่อไป และสิ่งที่ขาดไม่ได้ของการขับเคลื่อน CQI คือการนำเครื่องมือ KM มาใช้ร่วมด้วย ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการจัดการความรู้ ท้ายที่สุดของการพัฒนางานดังกล่าว ผลลัพธ์จะต้องดีขึ้นในหลายๆ ประเด็นอาทิเช่น ผู้รับบริการ ผู้ให้บริการ และองค์กร/หน่วยงาน โดยเกิดแนวทาง/แนวปฏิบัติการทำงานในรูปแบบใหม่ ชุดความรู้ใหม่ และผลงานการวิจัย

คำสำคัญ (Tags): #km #r2r #cqi 
สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการ


ความเห็น

sr
เขียนเมื่อ

I see no mention of data system, so this model is more likely another ‘tacit’ expert system. Having a good data model and data system would make easy to monitor and track ‘actions’/changes. And the data system would be ‘record’ for studying and advancing KM. Pictures are nice but machines are not yet able to make ‘good analytics’. So AI facilities could not help. Wouldn’t it be nice to be able to use what technologies could offer?


พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท
ภาษาปิยะธอน (Piyathon)
เขียนโค้ดไพทอนได้ด้วยภาษาไทย