เรื่อง ตาม ธรรมเนียม [แต่ก่อนมา]


(ธรรมเนียม <--ธรรม+นิยม?)
แล้ว ค่าธรรมเนียม มาได้อย่างไร?

[We will have to wait a few more weeks before we know who will be government. So, in the meanwhile we try not to get frustrated and to raise our blood pressure (unnecessarily) and anxiety with the sifting and settling processes. There are more surprises lurking behind the social media. Like a cobra strike, it can come unexpectedly. Those who think the young, energetic and beautiful force has replaced the old, weak and ungainly establishment, may find it bitter sweet and not easy to swallow. Thailand will be still divided and will continue to be weak and easy penetrated by powers overseas. The election (costing about THB  6billions of Taxpayers money) appears to fail to move the country forwards, to unite and to move into 'happier society' in the 21st century.

What are the goals of political parties? If not to move the society forwards? Winning election is winning a great honor and far greater responsibility. Government is there to oversee that the course (of development) is 'proper' (meeting objectives, on time, on budget and on quality).

Children can learn in a playground and childcare. Do governments have playgrounds and coaches?

Well we can argue that 'babies' do not come with manuals, so we will have learn to raise our children the best we can. Whatever the babies grow up to be, not always with our love and our support. ;-)

Now let's get on with the matter that the 'title' says it's about:- ]

ค่าธรรมเนียม น. ค่าบริการที่เรียกเก็บตามกฎหมาย [Royal Institute Dictionary (Th-Th)]. (my comment) เช่นเดียวกัน การเลือกตั้ง เป็น บริการ(ประชาชน) ตามกฎหมาย

From ประมวลศัพท์พุทธศาสตร์(ป.อ. ปยุตฺโต)
ธรรมเนียม: ประเพณี, แบบอย่างที่เคยทำกันมา, แบบอย่างที่นิยมใช้กัน
From Royal Institute Dictionary (Th-Th)
ธรรมเนียม ทำ- น. ประเพณี, แบบแผน, แบบอย่าง.
From ประมวลศัพท์พุทธศาสตร์(ป.อ. ปยุตฺโต)
ธรรม: สภาพที่ทรงไว้, ธรรมดา, ธรรมชาติ, สภาวธรรม, สัจจธรรม, ความจริง; เหตุ, ต้นเหตุ; สิ่ง, ปรากฏการณ์, ธรรมารมณ์, สิ่งที่ใจคิด; คุณธรรม, ความดี, ความถูกต้อง, ความประพฤติชอบ; หลักการ, แบบแผน, ธรรมเนียม, หน้าที่; ความชอบ, ความยุติธรรม; พระธรรม, คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ซึ่งแสดงธรรมให้เปิดเผยปรากฏขึ้น

ธรรม: ในประโยคว่า "ให้กล่าวธรรมโดยบท" บาลีแสดงคำสอนในพระพุทธศาสนา ที่ท่านเรียงไว้ จะเป็นพุทธภาษิตก็ตาม สาวกภาษิตก็ตาม ฤษีภาษิตก็ตาม เทวดาภาษิตก็ตาม เรียกว่า ธรรมในประโยคนี้

ธรรม: (ในคำว่า "การกรานกฐินเป็นธรรม") ชอบแล้ว, ถูกระเบียบแล้ว

ธรรม: ธรรม ๒ หมวดหนึ่ง คือ      ๑. รูปธรรม ได้แก่รูปขันธ์ทั้งหมด      ๒. อรูปธรรม ได้แก่ นามขันธ์ ๔ และนิพพาน; อีกหมวดหนึ่ง คือ      ๑. โลกียธรรม ธรรมอันเป็นวิสัยของโลก      ๒. โลกุตตรธรรม ธรรมอันมิใช่วิสัยของโลกได้แก่ มรรค ๔ ผล ๔ นิพพาน ๑; อีกหมวดหนึ่ง คือ      ๑. สังขตธรรม ธรรมที่ปัจจัยปรุงแต่งได้แก่ขันธ์ ๕ ทั้งหมด      ๒. อสังขตธรรม ธรรมที่ปัจจัยไม่ปรุงแต่ง ได้แก่ นิพพาน

From พุทธศาสตร์ ไทย-En
ธรรม (dhamma) 1. the Dharma; the Dhamma; the Doctrine; the Teachings (of the Buddha). 2. the Law; nature. 3. the Truth; Ultimate Reality. 4. the Supramundane, especially nibbāna. 5. quality; righteousness; virtue; morality; good conduct; right behaviour. 6. tradition; practice; principle; norm; rule; duty. 7. justice; impartiality. 8. thing; phenomenon. 9. a cognizable object; mind-object; idea. 10. mental state; mental factor; mental activities. 11. condition; cause; causal antecedent.

From Royal Institute Dictionary (Th-Th)
ธรรม ๑ ทำ, ทำมะ- น. คุณความดี เช่น เป็นคนมีธรรมะ เป็นคนมีศีลมีธรรม; คำสั่งสอนในศาสนา เช่น แสดงธรรม ฟังธรรม ธรรมะของพระพุทธเจ้า; หลักประพฤติปฏิบัติในศาสนา เช่น ปฏิบัติธรรม ประพฤติธรรม; ความจริง เช่น ได้ดวงตาเห็นธรรม; ความยุติธรรม, ความถูกต้อง, เช่น ความเป็นธรรมในสังคม; กฎ, กฎเกณฑ์, เช่น ธรรมะแห่งหมู่คณะ; กฎหมาย เช่น ธรรมะระหว่างประเทศ; สิ่งทั้งหลาย, สิ่งของ, เช่น เครื่องไทยธรรม. ( ส. ธรฺม; ป. ธมฺม).
๒ คำประกอบท้ายคำที่เป็นนามธรรม เมื่อประกอบแล้วมีความหมายไม่ต่างไปจากคำศัพท์เดิม เช่น วัฒนธรรม อารยธรรม.
๓ น. สมณศักดิ์พระราชาคณะ สูงกว่าชั้นเทพ ต่ำกว่าชั้นหิรัญบัฏ เรียกว่า ชั้นธรรม เช่น พระธรรมโกศาจารย์ พระธรรมเจดีย์.

From pts_pali
dhamma (1) (m. & rarely nt.) [Ved. dharma & dharman, the latter a formation like karman (see kamma for expl n) of subj. & obj. meanings); dhṛ(see dhāreti) to hold, support: that which forms a foundation and upholds= constitution. Cp. Gr. θρόνοσ, Lat. firmus & fretus; Lith. derme (treaty), cp. also Sk. dhariman form, constitution, perhaps=Lat. forma, E. form] constitution etc.

From Dictionary pali to enCollapse article
dhamma m.; doctrine; nature; truth; the Norm; morality; good conduct.

From WordNet (r) 1.7Collapse article
Dharma n : basic principles of the cosmos; also: an ancient sage in
        Hindu mythology worshipped as a god by some lower castes;
        [syn: {Dharma}]

From Monier-Williams Sanskrit-English DictionaryCollapse article
dharma ...
--->the older form of the cf. RV. is [ dh'arman ], q.v. ) that which
is established or firm, steadfast decree, statute, ordinance, law
---> usage, practice, customary observance or prescribed conduct,
duty
---> right, justice ( often as a synonym of punishment )
---> virtue, morality, religion, religious merit, good works ( [
dh'armeNa ] or [ °mAt ] ind. according to right or rule, rightly,
justly, according to the nature of anything
...

From Royal Institute Dictionary (Th-Th)
เนียม ๑ น. (๑) ชื่อไม้พุ่มขนาดเล็กชนิด Chloranthus spicatus (Thunb.) Makino ในวงศ์ Chloranthaceae ดอกเล็ก สีขาว กลิ่นหอม, พายัพเรียก เนียมอ้ม. (๒) ชื่อไม้พุ่มชนิด Strobilanthes nivea Craib ในวงศ์ Acanthaceae ดอกเล็ก สีม่วงอ่อน ใบมีกลิ่นหอมใช้ประสมปูนกินกับหมาก, เนียมสวน ก็เรียก, อีสานเรียก อ้ม.
๒ น. เรียกงาช้างที่ใหญ่แต่สั้นและมักจะชี้ตรงว่า งาเนียม, เรียกช้างที่มีงาเช่นนั้นว่า ช้างงาเนียม.

==niyama From pts_pali
[cp. Sk. niyama, ni+ yam; often confused with niyāma] 1. restraint, constraint, training, self-control Miln 116 (yama+); PvA 98 (yama+). – 2. definiteness, certainty, limitation DhA III.83 (catumagga°, v. l. niyāma); SnA 124 (niyāma); DhsA 154; PvA 166 (ayaṃ n. saṃsāren' atthi: law, necessity). – aniyama indefiniteness, choice, generality DhsA 57; VvA 16 (yaṃ kiñci=aniyame, i. e. in a general sense), 17 (same of ye keci); PvA 175 (vā saddo aniyamattho=indefinite). – niyamena (instr.) adv. by necessity, necessarily PvA 287; niyamato (abl.) id. DhsA 145, 304 (so read). – 3. natural law, cosmic order; in Commentarial literature this was fivefold: utu–, bīja–, kamma–, ćitta–, dhammaDA on D II.11; Dial. II.8; DhsA 272; trs. 360.

niyama From Dictionary pali to en
m.; limitation; certainty; definition.

From ประมวลศัพท์พุทธศาสตร์(ป.อ. ปยุตฺโต)
นิยม: กำหนด, ชอบ, นับถือ

From Royal Institute Dictionary (Th-Th)
นิยม ( แบบ ) น. การกำหนด. ( ป., ส. ).
ก. ชมชอบ, ยอมรับนับถือ, ชื่นชมยินดี, ถ้าใช้ประกอบท้ายคำสมาสบางคำมีความหมายว่า ลัทธิ เช่น ชาตินิยม สังคมนิยม.
[Edited May 21, 2566: ครม. อนุมัติ 5945 ล้านบาท สำหรับกกต. จัดเลือกตั้งปี 2566  https://www.pptvhd36.com/news/การเมือง/189014 เลือกตั้ง 2566 แต่ละพรรคการเมือง ใช้งบหาเสียงได้เท่าไร ? https://www.prachachat.net/politics/news-1213381

หมายเลขบันทึก: 712832เขียนเมื่อ 20 พฤษภาคม 2023 06:07 น. ()แก้ไขเมื่อ 21 พฤษภาคม 2023 01:34 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท