เรียนจาก ⭕️ ถึง รายงาน (การพัฒนาเด็กปฐมวัย)


We have been looking and talking about learning from zero (this เรียนจาก ⭕️ series of posts) for a few weeks now. Why? Is this necessary and important enough? We are talking about our children, the future of Thailand and the ascent of Man, is it not worthwhile?

But we already have

==พระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๒== (available for download at https://www.moe.go.th )

มาตรา ๕ การพัฒนาเด็กปฐมวัยตามพระราชบัญญัตินี้ มีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้
(๑) ให้มารดาได้รับการดูแลในระหว่างตั้งครรภ์เพื่อให้บุตรที่อยู่ในครรภ์มีสุขภาวะและพัฒนาการที่ดี
(๒) ให้ เด็กปฐมวัยอยู่รอดปลอดภัยและได้รับความคุ้มครองให้พ้นจากการล่วงละเมิดไม่ว่า ในทางใด
(๓) ให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการที่ดีรอบด้านทั้งทางร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และ สติปัญญาให้สมกับวัย เพื่อให้เกิดทักษะพื้นฐานในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สามารถเรียนรู้ อย่างสอดคล้องกับหลักการพัฒนาศักยภาพของแต่ละบุคคลและความต้องการจำเป็นพิเศษ
(๔) สร้ า งคุ ณ ลั ก ษณะให้ เ ด็ ก ปฐมวั ย มี อุ ป นิ สั ย ใฝ่ ดี มี คุ ณ ธรรม มี วิ นั ย ใฝ่ รู้ มี ค วามคิ ด สร้างสรรค์ และสามารถซึมซับสุนทรียะและวัฒนธรรมที่หลากหลายได้
(๕) บ่มเพาะเจตคติของเด็กปฐมวัยให้เคารพคุณค่าของบุคคลอื่น มีจิตวิญญาณของการอยู่ร่วมกัน ในสังคมอย่างเสมอภาค และมีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก
(๖) ให้ผู้ดูแลเด็กปฐมวัยได้รับความรู้ ทักษะ และเจตคติที่ดีในการพัฒนาเด็กปฐมวัย
...
มาตรา ๗ บิดา มารดา และผู้ปกครองมีหน้าที่ จัดให้เด็กปฐมวัยซึ่งอยู่ในความดูแลได้รับ การพัฒนาตามแนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับการพัฒนาเด็กปฐมวัย

and also
## There is a แผนยุทธศาสตร์ชาติด้านเด็กปฐมวัย (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) 
==แผนพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2564 - 2570== ( https://www.uthailocal.go.th/govdoc_detail.php?id=12219  or https://www.uthailocal.go.th/dnm_file/govdoc_stj/122190705_center.pdf  or 
https://sknpeo.moe.go.th/แผนพัฒนาเด็กปฐมวัย-พ-ศ-2564-2570/  )

with this in the introduction
...การสํารวจโดยสํานั ก งานสถิ ติ แ ห่ ง ชาติ ร่ ว มกั บ องค์ ก ารยู นิ เซฟ ประเทศไทย การสํารวจของ
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งได้ข้อมูลสอดคล้องกันหลายประการ เช่น ปัญหาด้าน พัฒนาการ ภาวะทุพโภชนาการ ทั้งในส่วนของภาวะโภชนาการขาด (ปัญหาส่วนสูงไม่สมส่วน ตามเกณฑ์) และภาวะน้ำหนักเกิน (อ้วน) ปัญหาความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงบริการปฐมวัย ปัญหาคุณภาพการจัดบริการ รวมถึงปัญหาพ่อแม่ผู้ปกครองขาดความรู้ความเข้าใจและขาดทักษะการดูแลเลี้ยงดูที่ถูกต้องตามวัย นอกจากนั้นยังขาดการเตรียมความพร้อมระหว่างรอยเชื่อมต่อปฐมวัยไปยังระดับประถมศึกษา ปัญหากลุ่มเด็กไร้สัญชาติ ชนกลุ่มน้อย ซึ่งปัญหาต่าง ๆ ดังกล่าว ไม่สามารถลดหรือทําให้หมดลงไปได้ เนื่องจากขาดระบบที่จะทําให้ดําเนินการได้ เช่น ระบบการสํารวจคัดกรองวินิจฉัยศักยภาพของเด็กปฐมวัย ทําให้การพัฒนาแบบองค์รวมและเน้นการดูแลเด็กแต่ละคนที่มีความแตกต่างกันเป็นไปได้ยาก...

==บทสรุปผู้บริหาร== (หน้า ญ)  มาตรการ 
๓. ส่งเสริมให้มีการสร้างและต่อยอดองค์ความรู้ งานวิจัย และนวัตกรรมด้านการพัฒนา เด็กปฐมวัยในมิติต่าง ๆ
๔. ให้การสนับสนุนองค์กรที่พัฒนาองค์ความรู้ การวิจัย และนวัตกรรมด้านการพัฒนา เด็กปฐมวัยในมิติต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์พัฒนาเด็กปฐมวัยอย่างเร่งด่วน
๕. สร้างมาตรการสนับสนุนองค์กรที่มีวัตถุประสงค์ในการวิจัยด้านการพัฒนาเด็กปฐมวัย

We have been using 
==หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐== จัดพิมพ์โดย สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ http://academic.obec.go.th/images/document/1590998426_d_1.pdf 

(my emphases)
--4.1 สนใจ มีความสุข และแสดงออก ผ่านงานศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว [Does this mean just beating a drum (or a percussion item), dance (or move/repeat body parts along the music beat)..]
--8.2 มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น  ๘.๒.๒ ยิ้ม ทักทาย และพูดคุย กับผู้ใหญ่และบุคคลที่คุ้นเคย ได้เหมาะสมกับสถานการณ์

There are a number 'templates':
แบบประเมินด้านคุณภาพของเด็ก [ดาวน์โหลด_แบบประเมิน มฐ.ปฐมวัย2561_ด้านคุณภาพของเด็ก] https://madoodadi.wordpress.com/2020/03/23/แบบประเมินคุณภาพตามมาต/ 
สมุดรายงานประจำตัวเด็ก สมุดบันทึกพัฒนาการเด็กปฐมวัย https://th-th.facebook.com/Posgroup.Nursery/  (download examples) https://drive.google.com/drive/folders/1SRrZmKmpFfE23xvlTeucyhvMkQou5Frm 

with explanation:
- การประเมินด้านคุณภาพผู้เรียน ประเมินนักเรียนเป็นรายบุคคลทุกตัวบ่งชี้ คิดค่าร้อยละของนักเรียนที่มีผลการประเมินในระดับ 3 ขึ้นไป แล้วเทียบเกณฑ์คุณภาพรายตัวบ่งชี้
- การประเมินด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ ประเมินในรูปแบบคณะกรรมการ (ไม่เกิน 5 คน) หาค่าเฉลี่ยแต่ละรายการประเมิน แล้วเทียบเกณฑ์คุณภาพรายตัวบ่งชี้
- การประเมินด้านการจัดประสบการณ์/การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ประเมินในรูปแบบคณะกรรมการ (ไม่เกิน 5 คน) หาค่าร้อยละผลการประเมินของครูรายบุคคลตั้งแต่ระดับ 3 ขึ้นไป แล้วเทียบเกณฑ์คุณภาพรายตัวบ่งชี้

In summary 'preschool' learning is about:
1 ความสามารถในการสื่อสาร
2 ความสามารถในการคิด
3 ความสามารถในการแก้ปัญหา
4 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

What about budget allocation and other resources?
--งบประมาณ การพัฒนาเด็กปฐมวัย 

รัฐลงทุนเพื่อเด็กก่อนเข้าเรียนอนุบาลต่ำมาก เด็ก0-3ปีคืออนาคตสำคัญของผู้ใหญ่ในวันหน้า 21 มีนาคม พ.ศ. 2563 https://www.thaipost.net/main/detail/61443  --งบประมาณพัฒนาเด็กช่วงอายุ 0-3ปี ในปี 2562 จำนวน 58,508 ล้านบาท หรือ 22,806 บาท/คน/ปี เทียบงบเพื่อการศึกษาของเด็กวัย 3-17 ปี จำนวน 405,174 ล้านบาท หรือ 34,837 บาท/คน/ปี สูงกว่างบเด็กก่อนอนุบาลถึง 1.5 เท่า--

สตง.ชำแหละการศึกษาท้องถิ่น ผ่านงบพัฒนาปฐมวัย กลิ่นไม่ดี? “ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก” ยังจัดสรรงบมากกว่าจำนวนเด็ก เผยแพร่: 8 มี.ค. 2565 https://mgronline.com/politics/detail/9650000023015 
--ปีงบประมาณ 2563 รัฐบาลอุดหนุนศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 13,634,681,700 บาท อุดหนุนการศึกษาขั้นพื้นฐาน 562,548,000 บาท
ปี 2564 อุดหนุนศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 13,634,681,700 บาท อุดหนุนการศึกษาขั้นพื้นฐาน 562,548,000 บาท
ล่าสุด ปี 2565 อุดหนุนศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 14,697 ล้านบาท และอุดหนุนการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3,455 ล้านบาท
[It is a confusing newspaper report with very likely wrong numbers in the budget spending.]


โครงการ ระดับปฐมวัย
https://www2.chaiyaphum3.go.th  › files PDF
9 Apr 2021 — การพัฒนากิจกรรมเพื่อให้เด็กมีทักษะและรักการท างาน สามารถท ... งบประมาณจากโรงเรียนบ้านปะโคตะกอ(ประชาสามัคคี) เป็นเงิน 1,000 บาท (หนึ่งพันบาท)

Apparently there is a database (I cannot access):
ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศการพัฒนา เด็กปฐมวัยตามมาตรฐานชาติ https://nccs.dcy.go.th/ 

There are issues (as described thereafter):

Policy Brief - สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ธันวาคม 2562 https://www.nesdc.go.th/ewt_w3c/ewt_dl_link.php?nid=10105  
--โดยสรุป ข้อเสนอในรายงานฉบับนี้เป็นการพัฒนาข้อเสนอแนะเพื่อการยกระดับคุณภาพศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ของท้องถิ่นที่มีกว่าสองหมื่นแห่งให้เป็นสถานที่เรียนรู้คุณภาพได้อย่างทั่วถึงในการส่งต่อเด็กกว่าแปดแสนคน
สู่การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น โดยมีคานงัดสาคัญ ได้แก่ ระบบการฝึกอบรมและให้คาแนะนาอย่างต่อเนื่อง
การติดตามการพัฒนาระดับผลลัพธ์บนหลักฐานเชิงประจักษ์ที่มีการเก็บข้อมูลที่มีคุณภาพอย่างเป็นระบบ
การยกระดับสมรรถนะด้านการพัฒนาเด็กปฐมวัยแก่เจ้าหน้าที่ท้องถิ่น ความตระหนักของสังคมในภาพรวม
ที่เป็นพลังมากพอต่อการขับเคลื่อน และการมีกรอบการลงทุนขั้นพื้นฐานที่จาเป็น อย่างไรก็ดี การพัฒนา
เด็กปฐมวัยให้มีพัฒนารอบด้านและคุณลักษณะตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ จำเป็นต้องได้รับการสนับสนุนด้านอื่น ๆ
ที่มีคุณภาพด้วยเช่นกัน ไม่ว่าจะเป็นด้านสุขภาพ โภชนาการ การดูแล และการคุ้มครองให้อยู่รอดปลอดภัย
ซี่งต้องมีการพัฒนาข้อเสนอแนะเชิงนโยบายอื่น ๆ ต่อไป

ปัญหาการจัดการศึกษาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 
https://www.ombudsman.go.th/new/ ปัญหาการจัดการศึกษาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/  กันยายน 5, 2022 ...ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานในด้านต่าง ๆ ทำให้ไม่สามารถดำเนินการได้อย่าง มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร โดยสรุปได้ดังนี้

   1. ด้านการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไม่มีการแบ่งโครงสร้างการบริหารงาน ไม่มีการกำหนดมาตรฐานการจัดการศึกษาเด็กเล็กที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน และกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นไม่มีการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน ไม่มีการประเมินคุณภาพครูผู้สอนประจำปี ปัจจุบัน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการประเมินตนเองโดยการกรอกแบบฟอร์มเพื่อประเมินตนเองและการประเมินคุณภาพจากภายนอกโดยสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) เฉพาะของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่เข้าร่วมโครงการเท่านั้น
   2.  ด้านบุคลากร พบว่าครูผู้สอนไม่มีคุณวุฒิทางการศึกษาด้านปฐมวัยโดยตรง และจำนวนบุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีจำนวนไม่เพียงพอต่อจำนวนเด็ก
   3.  ด้านอาคารสถานที่ สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย พบว่าสภาพอาคารชำรุดทรุดโทรมขาดงบประมาณดำเนินการก่อสร้างอาคารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มั่นคงแข็งแรง อาคารสถานที่มีลักษณะแออัด คับแคบ ไม่ถูกสุขลักษณะ และไม่มีมาตรฐานเกี่ยวกับความปลอดภัยและ การเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์ฉุกเฉิน
   4.  ด้านวิชาการและกิจกรรมหลักสูตร ขาดแคลนสื่อการเรียนการสอนและครูผู้สอนขาดความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาสื่อการเรียน การสอน ไม่มีการกำหนดมาตรฐานด้านวิชาการสำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
   5.  ด้านการมีส่วนร่วมและการสนับสนุนจากทุกภาคส่วน ขาดการสื่อสารประชาสัมพันธ์ระหว่างศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและผู้ปกครอง ทำให้การมีส่วนร่วมของชุมชนในการสนับสนุนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไม่มีประสิทธิภาพ
   6. ด้านการส่งเสริมเครือข่ายการพัฒนาเด็กปฐมวัย ขาดการส่งเสริมความร่วมมือในการพัฒนาศูนย์เด็กเล็ก ให้มีศักยภาพ ขาดการเสริมสร้างความเข้มแข็ง ในการปฏิบัติงานด้านพัฒนาเด็กปฐมวัยระหว่างหัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ครูผู้สอน ครูผู้ดูแลเด็ก ไม่มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการจัดการศึกษาและพัฒนาเด็กของเครือข่ายศูนย์พัฒนาเด็กอย่างเหมาะสม การคัดเลือกคณะกรรมการเครือข่ายเป็นระบบอุปถัมภ์
...การดำเนินงานเพื่อขับเคลื่อนมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติยังไม่สามารถดำเนินการได้ เนื่องจากติดขัดข้อจำกัดบางประการ เช่น การพัฒนาบุคลากรครูผู้ดูแลเด็ก การขาดสื่อ การเรียนการสอน และงบประมาณในการก่อสร้างอาคารสถานที่ตามที่มาตรฐานกำหนดไว้

There are training courses for 'preschool teachers and assistants'
หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย (หลักสูตร 5 ปี, ปรับปรุง พ.ศ. 2560) https://child.dusit.ac.th/early-childhood-education-2560 
หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต (หลักสูตร 4 ปี) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 https://www.edu.chula.ac.th/sites/default/files/users/user29/Majors/ แผนการศึกษาหลักสูตรป.ตรี ปรับปรุง 2562 - ปฐมวัย.pdf
หลักสูตรการอบรมครูด้วยรูปแบบออนไลน์ สำหรับครูผู้สอน ระดับปฐมวัย http://stemreg.ipst.ac.th ประกาศนียบัตรการจัดประสบการณ์สร้างสรรค์แก่เด็กระดับปฐมวัย ... https://www.stic.ac.th 

[picture 1 รายงานประจำตัว (ระดับปฐมวัย) showing ‘enabling expressions’ used in reporting. This is widely practiced in ‘normal’ cases. Specifics may be used in exceptional cases. Report cards for Thailand kids? ]

There are health programs to assist pregnant women, mothers of new-borns, and the children (what about dental care?), There are milk, lunch, books,... initiatives and programs (many are sadly with hidden fraudulent intents).

So, we have the rights (by the constitution), the law (พระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๒), the plan (แผนพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2564 - 2570), the budget allocation, the steering committee (คณะกรรมการนโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย), many participating local governments and childcare centers, ...

But do we have result? No! We only experienced a lot of issues similar to the issues in Basic Education system (under OBEC), higher education systems right through post-grade education.
[...การดำเนินงานเพื่อขับเคลื่อนมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติยังไม่สามารถดำเนินการได้ เนื่องจากติดขัดข้อจำกัดบางประการ เช่น การพัฒนาบุคลากรครูผู้ดูแลเด็ก การขาดสื่อ การเรียนการสอน และงบประมาณในการก่อสร้างอาคารสถานที่ตามที่มาตรฐานกำหนดไว้...]

It is about your children and you always want the best for them, What we have now is not really even good enough. What do you want to do?

[Added 24/12/2565: ต่างชาติทึ่งไทยดูแลเด็กปฐมวัยไปไกลกว่าหลายประเทศ 21 พฤศจิกายน 2565 https://www.thaipost.net/education-news/267741/  --ประเทศไทยได้มีพ.ร.บ.การพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ.2562 เพื่อดูแลมาตรฐานเด็กปฐมวัยอย่างมีคุณภาพ ซึ่งทำให้นานาประเทศที่เข้าร่วมการประชุมดังกล่าวต่างตื่นชมการดำเนินการเรื่องเด็กปฐมวัยเป็นอย่างมาก – yes now those countries will want to know if Thailand's law (พ.ร.บ.การพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ.2562) works – so they can adopt/adapt the law. Are we ready to show them some good results?]

หมายเลขบันทึก: 710914เขียนเมื่อ 16 ธันวาคม 2022 17:41 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 สิงหาคม 2023 04:54 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท