"อนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครอง มรดกโลก"


   -อนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มมครองมรดกโลกทางัฒนธรรมและทางธรรมชาติ 

อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันมรดกโลกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ

 

   -อนุสัญญาคุม้ครองมรดกโลกถือกำเนิดข้ึนเมื่อปีพ.ศ. 2515 โดยมีวตัถุประสงคเ์พื่อสร้างความร่วมมือในหมู่ประเทศ ภาคีในการกำหนดมาตรการที่เหมาะสม ทั้งด้านนโยบายการบริหารเทคนิคและการเงิน เพื่อสงวนรักษา คุ้มครองและ ส่งเสริม มรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติที่มีความสำคัญ ต่อมวลมนุษยชาติใหค้งอยู่ต่อไป 

  -ต่อมาในปีพ.ศ. 2519 องค์การยูเนสโก ก็ไดจัด ตั้งคณะกรรมการขึ้นมา เพื่อทำหนา้ที่ ดูแลแหล่งวัฒนธรรม และธรรมชาติที่มีความสำคัญระดับโลกโดยมีชื่อว่า "คณะกรรมการมรดกโลก" (The World Heritage Committee) พร้อมทั้งจัดตั้ง "กองทุนมรดกโลก" ขึ้น เพื่อเป็นแหล่งเงินทุนในการสนบั สนุนการอนุรักษ์แหล่งวัฒนธรรมและธรรมชาติที่ไดรับการขีันทะเบียนเป็น “มรดกโลก” แล้ว คณะกรรมการดังกล่าวจะมีหน้าที่พิจารณามรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ ที่เสนอมาจากประเทศภาคีให้เข้า ร่วมอยู่ใ นการคุ้มครองภายใต้อนุสัญญาฯ 

   -โดยแบ่งการขึ้นบัญชีหรือขึ้นทะเบียน เป็น 2 ประเภท คือ

   -บัญชีมรดกโลก และ บญัชีมรดกโลก ที่อยู่ในภาวะอันตราย 

    -นอกจากนั้นคณะกรรมการมรดกโลกยังมีหนา้ที่พิจารณาให้ความช่วยเหลือแก่ ประเทศภาคีในการพิทักษ์รักษาแหล่งมรดกโลก ที่ต้้งอยใู่นประเทศนั้น ๆ ด้วยคณะกรรมการดักล่าว จะมีหนา้ที่พิจารณา มรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติที่เสนอมาจากประเทศภาคีให้เข้าร่วมอยู่ในการคุม้ครองภายใต้อนุสัญญาฯ โดยแบ่ง การขึ้นบัญชีหรือขึ้นทะเบียน เป็น 2 ประเภท คือบัญชีมรดกโลก และบัญชีมรดกโลก ที่อยู่ในภาวะอันตราย 

  *นอกจากนั้น คณะกรรมการมรดกโลกยังมีหนา้ที่พิจารณาให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศภาคีในการพิทักษ์รักษาแหล่งมรดกโลก ที่ตั้ง อยู่ในประเทศนั้น ๆ ด้วยคณะกรรมการมรดกโลกประกอบด้วย คณะกรรมการบริหารของคณะกรรมการมรดกโลก (Bureau of the World Heritage Committee) 

  -ซึ่งมีการประชุมทุกๆ ปีที่สำนักงานใหญ่องค์การยูเนสโกกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส โดยจะทำหนา้ที่กลั่นกรอง งานต่างๆ เสนอต่อคณะกรรมการมรดกโลก ซึ่งจะมีการประชุมทุกๆ กลางปีตามประเทศภาคีต่างๆ ที่มี ความพร้อมสามารถรับเป็นเจ้าภาพได้

   - ปัจจุบนัคณะกรรมการดังกล่าว มี21 ประเทศจากประเทศสมาชิกทั้งหมด 172 ประเทศและมีแหล่งมรดกทั้งหมด จำนวน 730 แหล่ง (เมื่อมิถุนายน 2545) 

  -เป็นแหล่งวฒั นธรรม 563 แหล่ง

  -เป็นแหล่งธรรมชาติ144 แหล่ง

   -และแหล่งผสมทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติ ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลก23 แหล่ง 

  -มรดกโลกแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ

  -มรดกทางวัฒนธรรม(Cultural Heritage)

  -มรดกทางธรรมชาติ (Natural Heritage) ซืึ่งในอนุสัญญาว่า ด้วยการคุ้มครองมรดกโลกไดใ้หคำนิยามไว้ว่า 

 “ มรดกทางวัฒนธรรม” หมายถึง สถานที่ซึงเป็นโบราณสถานไม่ว่า จะเป็นงานดา้นสถาปัตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม หรือแหล่งโบราณคดีทางธรรมชาติเช่น ถ้า หรือกลุ่มสถานที่ก่อสร้างยกหรือเชื่อมต่อกันอัน มีความเป็น เอกลักษณ์หรือแหล่งสถานที่สำคัญอันอาจเป็นผลงานฝีมือมนุษย์หรือเป็นผลงานร่วมกันระหว่างรรมชาติกับมนุษย์ รวมทั้งพ้ืนที่ที่เป็นแหล่งโบราณคดีซึ่งสถานที่เหล่านี้มีคุณค่าความลำ้เลิศทางประวัติศาสตร์ศิลป มนุษยว์ทิยา หรือ วิทยาศาสตร์ มรดกทางธรรมชาติหมายถึง สภาพธรรมชาติที่มีลกัษณะทางกายภาพและชีวภาพอัน มีคุณค่าเด่นชัดในด้าน ความล้ำเลิศ หรือวิทยาศาสตร์ หรือ สถานที่ซึ่งมีสภาพทางธรณีวทิยาและภูมิประเทศที่ได้รับการวิเคราะห์แล้ววา่ "เป็นถิ่นที่อยู่อาศยัของพันธุ์พืชและสัตว์ ซึ่งถูกคุกคามหรือเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของพืชหรือสัตว์ที่หายากเป็นต้น

'อนุสัญญาคุ้มครองมรดกโลก'

คำสำคัญ (Tags): #"มาดกโลก"
หมายเลขบันทึก: 710126เขียนเมื่อ 5 พฤศจิกายน 2022 12:59 น. ()แก้ไขเมื่อ 5 พฤศจิกายน 2022 13:32 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท