ลำไส้คุยกับสมอง


 

วารสาร Science ฉบับวันที่ ๑๕ เมษายน ๒๕๖๕   มีบทความเรื่อง How the gut talks to the brain (๑)    บอกว่าลำไส้คุยกับสมองผ่านจุลินทรีย์หลากกลุ่ม ที่อาศัยอยู่ในลำไส้ของพวกเราทุกคน    หากกลไกนี้ผิดปกติ จะเกิดโรคได้หลากหลาย    ในวารสารเล่มเดียวกันมีรายงานผลการวิจัยในหนู (๒)    บอกว่า ผลิตภัณฑ์จากเมตะบอลิสซึม และชิ้นส่วนจากผนังเซลล์แบกทีเรียที่แบ่งตัวหรือตาย มีผลต่อการทำงานของสมองส่วน hypothalamus ของหนู    มีส่วนกำกับพฤติกรรมการกิน  และอุณหภูมิกาย

วิทยาศาสตร์ค่อยๆ ไขความกระจ่างความสำคัญของจุลินทรีย์นับล้านๆ ดัวที่อาศัยอยู่ในลำไส้ของเรา  และในที่อื่นๆ ของร่างกาย   ว่ามีผลต่อสุขภาพของตัวเรา   และเรามีวิธีสร้างเสริมสุขภาพดีโดยเลี้ยงดูจุลินทรีย์กลุ่มมิตรดีให้อยู่ดี     และช่วยสร้างเสริมสุขภาพแก่เรา 

ผมเขียนเรื่อง แบกทีเรียในลำไส้ช่วยฟื้นภูมิคุ้มกัน ไว้ที่ (๓)   

วิจารณ์ พานิช

๑๕ เม.ย. ๖๕

 

หมายเลขบันทึก: 702715เขียนเมื่อ 19 พฤษภาคม 2022 20:17 น. ()แก้ไขเมื่อ 19 พฤษภาคม 2022 20:17 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

I had posted some questions about “Food for Life on Us; How Much Food is Enough for Life on Us?; and Microbiotic food” some years back (in hope that they would lead to some food research activities -in Thailand- or else where) in “Food or Rubbish 3” [ https://www.gotoknow.org/posts/592300 ].

In short, I asked if we should feed our gut bacteria rather just ourselves. It seems that the answers (from various research results so far) are “yes”. But we have not anymore wiser about “what food is good for our gut bacteria”, apart from ‘suggested’ eating roughage/fiber-rich vegetables. I think we would guess that our ‘gut biome’ have ‘similar nutrient need’ to us and suffer from ‘similar anti-nutrients’ (toxin, poison, ‘killer micro-organism’/antibiotic,…) like us.

The devil is of course in the details.

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท