2020-01-25 ศัพท์ ที่มักสับสน ชุด B – bemuse & amuse


2020-01-25 Revision B

2020-01-25

170126-1 ศัพท์ ที่มักสับสน ในการใช้ ชุด B – bemuse & amuse

25 มกราคม 2017 17:35 น.

http://www.gotoknow.org/posts/622125

การใช้ภาษาอังกฤษ ที่ว่าถูกต้องในที่นี้ เป็นไปตามมาตรฐานของภาษา

การใช้ถาษาอังกฤษ ที่ถือว่า ถูกต้อง ในที่นี้ เป็นไป ตามมาตรฐาน ของภาษา

การใช้ภาษาอังกฤษ ไม่กำหนดมาตฐาน ถือตามส่วนใหญ่ที่ใช้แต่ละท้องถิ่น

ความหมาย อาจยืดหยุ่น ขึ้นอยู่กับ ตำแหน่ง/หน้าที่ ในประโยค

Revised on 2017.01.25

This is to SUPERSEDE 170126-1

Bemuse และ amuse

Dictionary.com

ออกเสียง เน้นพยางค์ หลัง ทั้ง BEMUSE และ AMUSE

ว่า ‘bih-MYOOZ’ และ ’uh-MYOOZ

Merriam-Webster Dictionary

ถามว่า AMUSE และ BEMUSEเป็นคำพ้องความหมาย หรือไม่?

หลายคน เชื่อว่าความหมาย BEMUSE มีส่วนของ Amuse ร่วมกับสิ่งอื่น

โดยที่ความหมายเดิมของ BEMUSE ไม่ได้หมายถึง “having feelings of wry amusement” โดยเฉพาะ จากบางสิ่ง ที่ทำให้แปลกใจ หรือ ฉงน  ที่ใช้ทั่วไป แบบนี้มายาวนาน

ผู้ใช้บางราย ยืนยันว่า AMUSE และ BEMUSE มีความแตกต่างอย่างสิ้นเชิง

และว่า ความหมายที่เหมาะสมของ BEMUSE คือ

marked by confusion or bewilderment

มีข้อสังเกตุที่น่าสนใจ ว่า ก่อนหน้าที่ Bemuse หมายถึง บ่งชี้ confusion นั้น

มีความหมาย (โดยเฉพาะในหมู่ [นักกวี] poet) ว่า “devoted to the Muses.”

(ความหมาย Muse ในที่นี้ คือ “เทพธิดา ที่ให้แรงบันดาใจ”)

และ Merriam-Webster Dictionary

ให้ข้อสังเกตุ ว่า 'bemuse' จะหมายถึง 'amuse’ ได้หรือไม่?

หรือ จะให้หมายถึงเพียง 'to devote oneself to the Muses'?

ผู้ที่เปิด Dictionary เพื่อหา ความหมาย ของ คำ

บางคน เพื่อค้นหา บางอย่าง เกี่ยวกับ คำหนึ่ง

บางคน เปิดดูเป็นข้ออ้างอิง เพื่อช่วยให้ผู้อื่นได้มีความรู้เพิ่ม สำหรับ คำนั้น

(ที่เราหมายถึง “เพื่อพิสูจน์ให้ ผู้อื่น รู้ว่า ที่เขารู้ นั้น ไม่ถูกต้อง)

อีกบางคน เปิดดู และคิดว่า “คนที่เขียนเรื่องนี้ เข้าใจความหมายคำนี้ ผิด”

คำจำกัดความ ที่ให้นี้ เป็น ความหมายหนึ่ง ของคำ Bemuse

ว่าคือ “to cause to have feelings of wry or tolerant amusement

แต่มีบางคนเห็นต่างในทันที โดยเสนอว่า

เป้นคำจำกัดความไม่ตรงจุด เพราะคำนี้ ไม่มีส่วนเกี่ยวกับ amusement

หากแต่เป็นคำพ้องของ confused เช่น

ในประโยค "I am bemused as to why a professed dictionary would have an incorrect definition.”

เหตุผลที่ได้คำจำกัดความนี้ ก็เพราะมันมี การสะท้อนที่แน่นอน (an accurate reflection)ในแนวทางที่ผู้คนใช้ bemuse ที่บ่อยครั้ง จับคู่กับ คุณศัพท์ WRYLY

ที่มีผล “ที่เข้าใจได้” เมื่อเป็นตัวไปขยายความรู้สึก AMUSED

(แต่ถ้าหาก ไปขยาย ความรู้สึก confused ก็จะส่งผล ที่ไม่สมเหตุสมผล)

ตัวอย่างประโยค จากแหล่งต่างๆ

หนังสือ The Bridgeport Post ให้ว่า

“How should we feel now that streaking has hit home? Wryly bemused, of course.”

หนังสือ The Chicago Tribune, 22 Jul. 1984 ให้ว่า

“Full of a lilting, foxy-Grandpa sense of self-mockery, his voice seems to do a little soft-show dance through every word, pausing here and there to make sure that he and his audience are still on the same, wryly bemused wavelength.”

ความหมายดั้งเดิมของ BEMUSE เป็นสิ่งที่สร้าง CONFUSION เป็นอย่างมาก

(หรืออยากจะเลือกใช้ว่า “เป็นสิ่งที่สร้าง bemusement” ก็น่าจะได้)

Dictionary จำนวนหนึ่ง ที่ออกในช่วงศตวรรษ ที่18-19

ให้ความหมายว่าเป็น BEWILDER ให้กับคำ bemuse

หลังจากได้อ่าน บทกวีของ Alexander Pope ที่เขียนในปี 1735

ที่อ้างอิงว่า “a parson much bemus’din beer.”

Dictionary บางเล่ม ให้ข้อสังเกตุ ถึงความจริงที่ว่า หลายทศวรรษก่อนหน้า (ในจดหมาย จากปี 1705) Pope ได้ใช้คำนี้ในความหมายที่แตกต่าง หมายถึง “devoted to the Muses.”

เป็นเวลานาน ที่ผู้คนทึกทักเอาว่า Pope ได้ใช้คำนี้ (แบบขำขัน) jocularly in 1705 (อ้างถึงคำ Muses), and ยังใช้อีกใน 1735 (อ้างอิงว่าเป็นการ confused)

ถึงตอนนี้ ดูจะเป็นไปได้ว่า Pope ใช้คำนี้ อ้างถึง Muses ในทั้งสองครั้งนั้น

ผลการวิจัย เมื่อไม่นาน แสดงให้เห็นว่า เขามิได้เป็นคนแรกที่ใช้คำนี้

พบว่ามีการใช้อีกหลายครั้ง ก่อนปี 1705 และทั้งหมด อ้างถึง POETs เช่น

For other Sins they feel Remorse sometimes,

But sure no Poet e're had Qualms for Rhimes;

Alas! no wholesom Counsel can be us'd

By a poor harden'd Wretch, when once Bemus'd:

Then don't inhumanly your Pains mis-spend

On Reprobates, that you can never mend.

จากหนังสือ The Annual Miscellany, 1694

’Tis vain to counsel Authors once Bemus’d,

We Poets soon conceive that we’re abus’d.

โดย Francis Manning, Poems Upon Several Occasions and to Several persons, 1701

This, Lausus, was a brave, and noble Stroke;

The most Bemus’dcould not have loftier spoke;

จาก Plain Right Down Lover of Truth and Honesty, Nine Satyrs, or Moral Poems, 1703

จึงดูเหมือนจะเป็นไปได้ ว่าการใช้ BEMUSE ด้วยความเข้าใจผิด ในคำจำกัดความ

ความหมาย AMUSED เกิดมาจาก ความสับสนของหลายคนต่อคำ AMUSE

และความหมายว่า “confused, befuddled” มาจาก

การที่ Dictionary จำนวนหนึ่ง ที่ misreading Alexander Pope

Common Errors In English Usage

ชี้ให้เห็นว่า กริยา BEMUSE หมายถึง “การทำให้ สับสน/งุนงง”

ที่ไม่จำเป็นต้องมี ลักษณะชวนสนุก เหมือนความหมายของคำ ที่ดูคล้ายคือ

AMUSE ที่เป็น กริยา หมายถึง “การทำให้คนอื่นสนุก

ไม่ว่าด้วย หน้าตาท่าทาง หรือคำพูด”

หากแต่ Merriam-Webster’s Collegiate Dictionary

อธิบายว่า “bemuse” หมายถึง “to make confused” หรือ

ทำให้ต้องครุ่นคิด” จากคำพูดชวนฉงน ยากจะเข้าใจ

ที่เมื่อเข้าใจแล้วจะให้ความรู้สึก ขบขันจากคำเหน็บแนม (wry amusement)

และ American Heritage Dictionary

ให้ข้อสังเกตการใช้ “bemused” ว่าบางครั้ง ใช้ในความหมาย “amused

โดยเฉพาะ เมื่อพบว่า บางสิ่ง “wryly funny” เช่น

‘The stream of jokes from the comedian left the audiencebemused, with some breaking out into guffaws.’

หากแต่ Usage Panel ส่วนมากไม่เห็นด้วยกับการใช้เช่นนี้

โดยมีผู้คัดค้าน ถึง 78% ในการสำรวจเมื่อ ปี 2005

ในทางกลับกัน มีผู้ยอมรับ ถึง 84%

เมื่อใช้ในประโยคที่ “bemused” หมายถึง “confused

WordWeb Dictionary

ให้คำจำกัดความ “bemused” หมายถึง

“เป็นเหตุให้สับสนทางอารมณ์” ไม่อาจใช้ความคิดได้เต็มที่ เช่น

‘This play will delight and bemuse you with its nimble humor.’

‘She looked somewhat shaken and bemused by what had happened.’

‘She was accepted with bemused resignation by her parents as a hippie.’

ส่วน “amuse” หมายถึง “การทำให้บางคนหัวเราะหรือ ยิ้มได้” เช่น

‘My funny drawing amused the kids.’

‘She suggested several ideas to help Laura amusethe twins.’

หมายเลขบันทึก: 674675เขียนเมื่อ 25 มกราคม 2020 00:35 น. ()แก้ไขเมื่อ 25 มกราคม 2020 00:35 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท