เหมืองทอง อัคราไมน์นิ่งส์


หลักคิดในทางกฎหมายของ เรื่อง “คำสั่งปิดเหมืองทอง อัคราไมน์นิ่งส์” = “การเวณคืนทรัพย์สิน(สิทธิทั้งหลาย ตาม ประทานบัตร ในการทำเหมืองทอง หรือ สัมปทานในการทำเหมืองทอง ทั้งหมด หรือ ในภาษาอังกฤษ อ่านว่า “Concessionary”) ถ้าถ้อยคำง่ายๆ เช่นนี้ เป็น ที่เข้าใจยาก สำหรับ “ท่านผู้นำ”

ก็ สมควร ที่จะต้อง ติดตะรางต่างประเทศ ยกเป็น ชุด หรือ เป็น แผลงไปเลย มิฉะนั้น “ชอบ แสดง อาการ อวดเก่งนัก” ทางเวจมรรค หรือ ทางปาก เมื่อศาลสูงสุดของ มลรัฐ New South Wales (อ่านว่า นิวเซ้าเวลล์) มี เขคอำนาจศาล (Jurisdiction over the case & Controversy) เหนือ คดี และ ประเด็น ในคดี ที่พิพาทกันไม่ว่า ในระหว่างประเทศไทย กับ ออสเตรเลีย ตามข้อตกลงระหว่างประเทศของ สองชาติ คือ เอฟทีเอ (FTA) หรือ

จะเรียกชื่อย่อๆ ในภาษาอังกฤษว่า TAFTA หรือ อย่างยาวว่า “Thai – Australia FTA” ท่านผู้นำ มีที่ปรึกษา รอบข้าง เป็น พรวน ใย ไม่ ปรึกษา หารือ ที่ปรึกษา เหล่านั้น เสียก่อน ออก คำสั่งปิดเหมืองทอง “อัคราไมน์นิ่งส์” หรือ ออกคำสั่ง อัน เป็น การเวณคืนทรัพย์สินของ เขา (ชาวต่างชาติ ที่มีสัญชาติออสเตรเลี่ยน และ เขาได้รับความคุ้มครอง ตามข้อตกลงระหว่างประเทศ ที่เรียกว่า “Thai – Australia FTA” อ่านว่า “ไทย – ออสเตรเลีย เอฟทีเอ” โดยชอบด้วยกฎหมายระหว่างประเทศ)

ไหนคุยว่า “บริหาร ประเทศไทย ไม่ยากไง? นี่แค่ยัง ไม่เปิด เข้าไป ให้เห็น “กลไก ในการบังคับตาม กฎหมายระหว่างประเทศ ที่เรียกว่า “การชดใช้ ค่าสินไหมทดแทน ที่เพียงพอ ที่เป็นธรรม และ โดยทันที หรือ ในประโยคภาษากฎหมายในแบบภาษาอังกฤษว่า “Compensate in adequate, Just & Prompt Manner”

ที่มี การยกมา เป็น ข้อต่อสู้กัน ในระหว่าง ผู้ลงทุน ที่มีสัญชาติ อเมริกัน กับ รัฐบาลของ นักปฏิวัติคิวบา ผู้ยิ่งยง ฟิเดล คราสโต ในคดีความ ที่ได้มีการพิพากษา และ ตัดสินโดย ศาลรัฐธรรมนูญของ สหรัฐอเมริกา หรือ the Supreme Court ในคดีดังก้องโลก ที่กลายเป็น หลักเกณฑ์ใหญ่ ทางกฎหมายระหว่างประเทศ ที่มุ่งปกป้องคุ้มครอง นักลงทุน ต่างชาติ ในวันนี้ แบบถ้วนหน้า

ในคดีที่มีชื่อว่า “Banco Nacional de Cuba v. Sabbatino, 376 U.S. 398 (1964) { ที่ต้อง ขอร้องให้ ท่านผู้อ่านทั้งหลาย ที่สนใจ ใคร่รู้ ได้โปรด เปิดเข้าไป ศึกษา และ ค้นคว้าคดี ที่กล่าวมานี้ โดยการดาวน์โหลดผ่าน ช่องสี่เหลี่ยมผืนผ้าของ กูเกิ้ล ตามเลขที่ ค้นคว้า ท้ายคดี ที่ผม ได้ เขียนให้ มานี้ เพื่อ ให้เกิด ความเข้าใจ โดยกระจ่างแจ้ง เสียก่อน

จะ ไป ทำ ความเข้าใจ ในเทคนิค คอลล์ เทอม (Technical Terms) ต่างๆ ที่เป็น กลไก ในทางบังคับ ตามมาของ กฎหมายระหว่างประเทศ ในเรื่อง ที่ฝ่ายเรา {ท่านประยุทธฯ หรือ ติ้งเหล่ กับ บริวารทั้งหมด ที่หอบหิ้ว ก่อตั้ง (กลุ่ม คสช. กันมา) รวมทั้งพวก ที่ฉลาดจนสามโลก ตามไม่ทันอย่าง กปปส. นั่นไง} ที่พิพาทกับ เขา ในคดีความ เรื่องนี้

ที่มีหน้าที่ ต้อง ถูกฟ้อง ไล่เบี้ย เรียงตัว เรียกเอา ค่าเสียหาย เป็น ส่วนตัว (เหรียญทองคำ) ไปชด ใช้ ชำระหนี้ ในค่าแห่งความเสียหาย (Compensation) และ เป็น ค่าปรับไหม (Forfeiture) อันเป็น การลงโทษ ในความผิดแก่ กระบวน การร่วมกัน ในการกระทำความผิด ที่มีชื่อเรียก ในภาษากฎหมาย ในแบบภาษาอังกฤษว่า “Complementary to the cause of Action หรือ ขบวนการ ในการกระทำผิด หรือ ที่เรียก ในศัพท์ภาษากฎหมาย ในแบบภาษาอังกฤษว่า Accomplis”

ก่อนที่ท่านผู้อ่านทั้งหลาย จะไปทำความเข้าใจกับคำว่า “BIT’s” หรือในคำเต็มว่า “Bilateral Investment Treaties” และ คำว่า “FET” หรือ วลีที่ว่า “Fair and Equitable Treatment” หรือ ในถ้อยคำภาษาไทยว่า “ความบริสุทธิ์ ยุติธรรม และ การต้องปฏิบัติอย่าง เท่าเทียม กัน” ที่มีรากกำเหนิด ออก มา จาก ประโยคที่ว่า “Compensate in adequate, Just & Prompt Manner” ในคดี “Banco Nacional de Cuba v. Sabbatino, 376 U.S. 398 (1964)” ที่ศาลรัฐธรรมนูญของ สหรัฐอเมริกา หรือ the Supreme Court เป็น ผู้นำ วาง กฏเกณฑ์ ทางกฎหมาย เช่นนี้ ให้กับโลกใบ นี้

cr: หลวงเพ่งพินิจ

หมายเลขบันทึก: 662396เขียนเมื่อ 1 กรกฎาคม 2019 17:50 น. ()แก้ไขเมื่อ 1 กรกฎาคม 2019 17:50 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท