การเมืองเรื่อง generation gap


นสพ. Nikkei Asian Reviews ลงเรื่อง Thai elections highlight generationl rift over democracy  บอกว่าการเลือกตั้งในวันพรุ่งนี้   เกิดหลังการเลือกตั้งครั้งสุดท้าย ๘ ปี   ช่วยบอกการเปลี่ยนแปลงในสังคมได้มาก   โดยเฉพาะเรื่องความคิดทางการเมืองที่แตกต่างกันระหว่างรุ่น  

เป็นการเลือกตั้งครั้งที่มีผู้มีสิทธิออกเสียงมากถึง ๕๑.๔ ล้านคน    ร้อยละ ๒๐ เป็นผู้สูงอายุที่ต้องการความสงบ และความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสังคม

ร้อยละ ๑๐ เป็นกลุ่มอายุ ๑๘ - ๒๕ ปีที่ต้องการการเปลี่ยนแปลง    สู่ประชาธิปไตน และเสรีภาพ   

ร้อยละ ๓๗ เป็นกลุ่มอายุ ๒๖ ๔๕ ยังไม่ตัดสินใจ   

นิด้าโพล บอกว่า ร้อยละ ๖๖ จะลงคะแนนให้แก่พรรคที่สามารถช่วยเพิ่มรายได้ และลดหนี้แก่ตนได้    เป็นข้อมูลประกอบการหาเสียงโค้งสุดท้ายของพรรคการเมือง

วิจารณ์ พานิช

๒๓ มี.ค. ๖๒


หมายเลขบันทึก: 660659เขียนเมื่อ 23 มีนาคม 2019 06:17 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 มีนาคม 2019 06:19 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท