Research to Policy: EMS สพฉ.



เรื่องแรก

Fast track surgery 

Women > man

กระดูกต้นขาเจอมาก 

เลย

ผ่า>ไม่ผ่า

Fast track>standard

คิดถึงเรื่องต้นทุน 3 : 6

Gap

  • รอก่อนไม่เร่งด่วน
  • detect จาก ซีน และ FR
  • ประเมิน และส่งต่อได้อย่างถูกต้อง

ค้นหา GAP 

เข้าชุมชน ค้นหากลุ่มเสี่ยง พัฒนานวัตกรรม

Pre hos- EMS

In hos- service plan

Post-hos primary care

***การเข้าถึงระบบการแพทย์ฉุกเฉิน

  • เข้าไปแทรกซึมบริการที่มีอยู่แล้ว

Hard skill / Sofe Skill -> how to

กรอบแนวคิด ให้ชัดเจนตรงกิจกรรม คิด สร้าง พัฒนา ทดลอง เผยแพร่ ครบ R&D ->ข้อเสนอแนะ to Policy เช่น Service plan,สธ

ข้อเสนอแนะสามารถนำไปสู่การเปลี่ยนแปลง Protocal เชิง Policy 

IMG_5548.jpeg

เรื่องที่สอง

  • เชื่อมระบบโดยคนและเครื่องมือ และดูว่า CM ทำอย่างไรสะท้อนให้เห็นชัดเจน
  • เลือก emergency มาพัฒนาและทดสอบระบบ
  • Model และไปทดลองใช้
  • Review เสร็จแล้วต้องมานิยาม จะได้เห็นความชัดเจน
  • พัฒนาระบบแจ้งเหตุ
  • ทำให้ครบระบบ pre hos-prevention- In hos - Interfa -Post hos 

***เห็นการเชื่อมรอยต่อโดยใช้นวัตกรรม/เครื่องมือ

  • สรุปผลการวิจัย
  • คืนข้อมูลสู่ชุมชน
  • พื้นที่ยังไม่นิยมเรียก 1669
  • เพิ่มคู่มือการรับแจ้ง ผู้สูงอายุ ลดรอยต่อ

การเขียน ตรวจสอบกับกรอบแนวคิด เช็ค Research Design 

**การเชื่อมกับกองทุน LTC

งานวิจัยฝังไปในระบบ 

  • Key Success factor คืออะไรคืนข้อมูล ให้กับท้องถิ่น
  • ข้อเสนอแนะต้องอยู่ภายใต้งานวิจัยของเรา

ติดบ้าน ติดเตียง ติดสังคม medical e.จะไม่เหมือนกัน

  • กลุ่มผู้สูงอายุกลุ่มไหนสัมพันธ์กับการแพทย์ฉุกเฉิน

รองเลขาฯ สพฉ.

  • เข้าถึงความรู้ เข้าถึงระบบบริการ 

สะท้อนคิด

  • ดูเหมือนเป็นงานพัฒนามากกว่าการทำวิจัย ขาดคำถามการวิจัยและการเชื่อมโยงข้อมูล
  • ปรับการเขียนให้เป็นเชิงวิชาการ ถ้าพัฒนารูปแบบก็ต้องให้เห็นรูปแบบชัดเจน
  • ปรับการแจ้งเหตุด้วยวิธีอะไร ด้วยเครื่องมืออะไร นิยามคำที่มีประโยชน์และเชิงปฏิบัติการ Review เฉพาะที่เกี่ยวข้องมาใช้

หัวใจ :  Action Research ต้องเห็นวงรอบของการพัฒนา

***ผนังพูดได้

  • Aging Zone เป็นเรื่องที่น่าสนใจ ที่ ER 
  • วิจัยเชิงระบบการพัฒนารูปแบบการจัดระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินสำหรับผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยง Stroke และ Stemi อำเภอวารินชำราบ
  • Accessibility มีสอง Path คือ Care Giver และเมื่อรู้แล้วทำอย่างไรจะเข้าสู่ระบบได้
  • Key Success อยู่ที่ Care giver และ FR
  • งานวิจัยนี้จะนำเสนอความรู้อะไร / Translated ให้คนอื่นนำความรู้อะไรไปใช้ได้
  • เครื่องมือที่สอดคล้องกับพื้นที่
  • การนำเสนอผลต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ และควรมีข้อสรุป 

การพัฒนารูปแบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินสำหรับผู้สูงอายุในชุมชน .ชัยนาท

ได้รู้ว่า GAP ของตัวเองคืออะไร และค้นหา Key Success พบว่า

  • ผู้ป่วยที่หายป่วยมาเป็นครูสอน
  • ใช้เพลงเป็นสื่อแปลงเนื้อหาวิชาการ
  • ค้นหา CG และบูรณาการความรู้และทำหน้าที่เป็น FR 
  • ออกแบบบริการฉุกเฉินในชุมชนเพื่อให้เกิดการเข้าถึง

เรียนรู้จาก evidence base

  • ศึกษาความจริง ทำความเข้าใจด้วยกัน และวิเคราะห์ร่วมกัน
  • นำไปสู่การ Transform และลงมือเปลี่ยนแปลง

***How to Transformation 

ใช้ Knowledge 

ใช้สื่อ

Identify ได้ว่าใครจะเข้ามาเกี่ยวข้อง

หมายเลขบันทึก: 650374เขียนเมื่อ 22 สิงหาคม 2018 19:52 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 สิงหาคม 2018 08:02 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท