หลักสูตรการพัฒนาผู้บริหารระดับสูงของการเคหะแห่งชาติ ประจำปี 2561: ห้องเรียนผู้นำ


สวัสดีครับชาวบล็อกและลูกศิษย์ที่รักทุกท่าน          ผมรู้สึกเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่การเคหะชาติไว้วางใจให้ผมในนามของ Chira Academy และมูลนิธิพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศ เป็นผู้ดำเนินการจัดโครงการอบรมหลักสูตรการพัฒนาผู้บริหารระดับสูงข...
มีต่อ
มัณฑนา สุวรรณเกสร์

การบริหารกลยุทธ์องค์กร (2)  โดย ดร.ณัฐวุฒิ  พงศ์สิริ  อาจารย์ศรัณย์ จันทพลาบูลย์ 

กรณีศึกษาของธนาคารแห่งประเทศไทย ดร.ณัฐวุฒิ  พงศ์สิริ

          ไม่มีองค์กรไหนที่ไม่สามารถอยู่ได้โดยไม่ปรับเทคโนโลยี เพราะโลกเปิดให้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร HR ต้องปรับตัวจาก Function เป็น Service

          Key Questions in Strategic Management

          1. Where are we now?  2. Where do we want to go?  3. How will we go there?

          ” โลกในวันนี้ ไม่ใช่ปลาใหญ่กินปลาเล็ก แต่เป็นปลาเร็วกินปลาช้าและกินปลาใหญ่ ”

 การพัฒนาองค์กรไปสู่องค์กรสร้างสรรค์ อาจารย์ศรัณย์ จันทพลาบูลย์ 

           หลักความคิดสร้างสรรค์ 4 M  1. Mindset – ความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ  2. Mood – อารมณ์ ความรู้สึกที่เอื้อต่อความคิดสร้างสรรค์  3. Mechanic – ขั้นตอนการคิด 4. Momentum – ทำอย่างไรให้ความคิดสร้างสรรค์เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องยั่งยืนไม่เป็นไฟไหม้ฟาง การคิดสร้างสรรค์  มีกรอบอยู่ 3 กรอบ มีกรอบของความคิด กรอบองค์กร และกรอบสังคม

          สิ่งที่ขาดหายไปขององค์กรคือพรสวรรค์ และ Talent ถ้าเอา Talent มาพิจารณาด้วยจะเกิดจุดแข็ง ที่แท้จริง  Talent = Skill + Knowledge การ Recruit คนต้องดู Talent + Skill + Knowledge

          องค์กร COD และ Strength Based Organization น่าจะมีการประยุกต์เอา Design Organization ในการออกแบบองค์กร           Silo การเลื่อนไปตำแหน่งสูงจะเป็นทักษะการบริหารมากกว่าเทคนิคต้องแก้โจทย์ต้องให้รู้มากกว่าเรื่องเดียว ต้องมี External Move เพื่อให้ได้เห็นในสิ่งที่แตกต่างเป็นการเรียนรู้นอกกรอบ 

มัณฑนา สุวรรณเกสร์

วันที่ 15 มีนาคม 2561

วิเคราะห์ประเด็นท้าทายของการเคหะฯ โดยศาสตราภิชานไกรฤทธิ์  บุณยเกียรติ  ดร.ทรงวุฒิ ชนะภัย

 การทำ SWOT   SW = พลังภายใน เป็นพลังความแข็ง (Strength) และอ่อนข้างใน (Weakness)

                       OT = พลังภายนอก  คือโอกาส (Opportunities) และการคุกคาม (Threats)

                      PEST +E คือพลังจากภายนอก (สิ่งแวดล้อมภายนอกที่ใหญ่กว่ารัฐบาล)

                      P = Politic  E = Economic S = Social T = Technology + E = Environment

                    สรุปคือ เดิมเรารู้เราปัจจุบันเราต้องรู้เขา         

  Mega Trend 1. Aging Society  2. Urbanization  3. Prefab

          Networking  การทำกระบวนการทั้งระบบต้องมีการเก็บข้อมูล เพื่อนำมาวิเคราะห์ และมาปรับใช้   ในงานที่ทำอยู่ ต้องมีการวิเคราะห์คนเป็นส่วนสำคัญในการปรับระบบ - Action Learning -Learning by doing

                    สรุป 1. คิดแบบ Demand side - ความคุ้นชิน เริ่มจากข้างในคือ Supply side ต้องเปลี่ยนเป็น Demand side  2. เตรียมตัวและพร้อมทำงานใหม่ ๆ เตรียมพร้อมเปลี่ยนแปลงตัวเอง เรื่องที่ต้องเรียนรู้ต้องคิดใหม่ทำใหม่ ต้องทำงานคิดและร่วมมือข้ามสายงาน มองแบบระยะยาว ทำความเข้าใจ หรือหา lobbyist 3. วัฒนธรรมองค์กร ต้องดู  5 อย่าง - Hero ในองค์กร Idol คือใคร นับถือใคร  และถามว่าทำไมถึงนับถือคนนี้ - พิธีกรรมอย่างไร อย่ามาหลังกลับก่อน ต้องมาก่อน กลับที่หลัง  - ก๊วนคนเป็นอย่างไร - ข่าวสำคัญในการกระจาย ข่าวลือกระจายเร็วที่สุดได้อย่างไร - Action คือใคร เป็น Soul Leadership คือผู้นำทางจิตวิญญาณ

                   การแชร์ประสบการณ์ สร้างบรรยากาศในการสนทนาแบบสุนทรีย์ และถามแบบเมตตา    เพื่อสงสัยใคร่รู้ และ Reflection การทำ KM จะทำให้เกิดการคุยที่เกิดแรงในการพัฒนา และ Kiosk Common คือทุกท่านรู้เรื่องเดียวกัน

          การพัฒนาคนต้องทำ 3 เรื่องคือ ปลูก โดยสร้างให้คนมีคุณสมบัติต่าง ๆ แล้วมาเก็บเกี่ยวคือกระตุ้นให้คนอยากทำงานให้เรา และ Execution คือเอาชนะอุปสรรค โดยมี Process เพื่อกระตุ้นความเป็นเลิศ

          Trend ล่าสุดมนุษย์ยุคใหม่ไม่ได้เน้นวัตถุ แต่เน้น Happiness เน้นการยอมรับ Respect & Dignity สิ่งที่เป็นมูลค่าคือ Value creation และ Value Diversity

          การจะทำให้คนได้ประสบการณ์ตั้งแต่แรกคือ การทำงานกลุ่มเล็กรู้ทุกอย่างคือจะมี Experience  Curve ในลักษณะ Cross Functional คนเรามี Diversity ในหัวหลายอย่าง ต้องดึง Tacit Knowledge มาให้ได้ มนุษย์ต้องเก่งหลายอย่างไม่ใช่อย่างเดียว Talent ไม่ได้ถูกจำกัดที่ใดที่หนึ่ง

 

 

มัณฑนา สุวรรณเกสร์

วันที่ 16 มีนาคม 2561  

วิเคราะห์กรณีศึกษาด้านการบริหารธุรกิจ(บทเรียนเพื่อพัฒนาการเคหะแห่งชาติ)  

 โดย ดร.พยัต  วุฒิรงค์  ว่าที่ร้อยตรี จีรวัฒน์  เยาวนิช  

 

                                       TREND

               WEST                                             EAST

                - BIG                                             - SMALL

                - BUSINESS                                    - CONSUMER

                - MASS                                           - NICHE

                - VOLUME                                      - VALUE

INNOVATION – ให้ลองทำตัวเป็นลูกค้าตั้งแต่ขั้นตอนแรก

การเข้าใจลูกค้า – เครื่องมือ design think process + นวัตกรรม 10 แบบ

design think process ต้องเข้าใจลูกค้า  define ideation prototyping test

นวัตกรรม 10 รูปแบบ

CONFIGURATION

1.  รูปแบบธุรกิจ

2.  เครือข่าย

3.  โครงสร้าง

4.  กระบวนการ

OFFERING

5.  ประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์

6.  ระบบผลิตภัณฑ์

EXPERIENCE

7.  การให้บริการ

8.  ช่องทาง

9.  แบรนด์

10. การสร้างความผูกพันลูกค้า

 


 

5 มีค.61

การบริหารทุนมนุษย์เชิงกลยุทธ์ (1)

ภาคเช้า อ.ทายาท ศรีปลั่ง และ อ.เกริกเกรียติ ศรีเสริมโภค

เรื่่อง หลักการและวิธีการพัฒนาขีดความสามารถบุคลากร

        แบ่งเป็น 5 แนวคิด ดังนี้

       แนวคิดที่ 1 Leadership Pipeline มีเส้นทางในการเติบโต ก้าวหน้าของการเป็นผู้นำอยู่ 6 เส้นทาง (Six-Passage Model) ดังนี้

                     เส้นทางที่ 1 : เรียนรู้งาน

                     เส้นทางที่ 2 : แสดงผลงาน

                     เส้นทางที่ 3 : เชี่ยวชาญ ถ่ายทอด

                     เส้นทางที่ 4 : เปลี่ยนงาน เรียนรู้ใหม่

                     เส้นทางที่ 5 : ดูหลายหน่วยงาน

                     เส้นทางที่ 6 : ดูทั้งองค์กร

IDP : จะต้องพัฒนาตนเอง ,พัฒนาคนอื่น,พัฒนานอกองค์กร

      แนวคิดที่ 2 การพัฒนา/การเวียนงาน/การเลื่อนตำแหน่ง

           # การพัฒนาพนักงานเพื่อให้พนักงานมีความเก่ง (Talent) สร้างองค์กร

          # 9 BOX ประกอบด้วย 9 ช่อง 2 แกน ดังนี้

                       แกนที่ 1 : ผลงาน (Performance) แบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ

                                   - ยังต้องพัฒนา 

                                   - ผลงานได้ตามที่คาดหวัง

                                   - ผลงานเกินคาดหวัง

                      แกนที่ 2 : ศักยภาพ (Potential)  แบ่งเป็น 3 ระดับ

                                  - ศักยภาพสูง (High)

                                  - เติบโตได้ (Growth)

                                  - จำกัด (Limited) 

Ex. Talent  - ผลงานสูง+ศักยภาพสูง = รักษาไว้และพัฒนาให้เรียนรู้งานหลายๆด้าน

                  - ผลงานสูง+ศักยภาพปานกลาง = พัฒนางานด้านอื่นๆ

                  - ผลงานมาตราฐาน+ศักยภาพสูง = หาช่องว่างทางด้านพฤติกรรมเพื่อสร้างผลงาน

     กลุ่มใหญ่ - ผลงาน+ศักยภาพ (มาตราฐาน) = องค์อยู่ได้แต่จะพัฒนาไปสู่อนาคตยาก

     ที่เหลื่ออีก 5 กลุ่ม - ต้องพัฒนาส่งดูงานภายนอก ผลักดันด้านความคิด มอบหมายงานให้ตรงตามความถนัด 

                                และหาทดแทน

          แนวคิดที่ 3 Mentoring

                ระบบพี่เลี้ยง ต้องมีความสามารถและอำนาจมากค่อยชี้แนะให้คำปรึกษา

          แนวคิดที่ 4 Coaching

                ต้องทำให้การสนทนาเกิดความคลายเครียด ไว้วางใจ มีสติในตนเอง

                Coaching มี 2 แบบ

                     1.Process Coach ทบทวนและหาคำตอบด้วยตนเอง

                     2. Expert Coach ต้องรู้ในสิ่งที่จะโค้ช

          แนวคิดที่ 5  Trust 

                 เป็นการสร้างความเชื่อมั่น มี 6 เงื่อนไข ดังนี้

                      1.มีความรู้ (รู้งาน,รู้คน)

                      2.พูดจาดี (มีเหตุมีผล)

                      3.สม่ำเสมอ (ชมคน ติงาน)

                      4.ดูแล และห่่วงใย

                      5.รักษาคำพูด และทำตามที่พูด

                      6.ให้เครดิตลูกน้อง และเพื่่อนร่วมงาน

จบการบรรยายร่วมแสดงความคิดเห็นร่วมกัน ระหว่างผู้อบรมและอาจารย์

การพัฒนาคน ใช้ 3 V

         1.Value Diversity

         2.Value Creation

         3.Value Added

สิ่งสำคัญ คือ การออกแบบกระบวนการคิด

การขับเคลื่อนขององค์กรแบบนวัตกรรม และเกิดความยั่งยืนมี 3 อย่าง ดังนี้

          1.ความรู้ (Knowledge)

          2.ความคิด (Think)

          3.จินตนาการ (Imagination)

 หลักการคิดของการบริหารคน

          1.ดีกว่าคู่แข่ง

          2.คิดสิ่งใหม่ๆ

          3.อย่าละเลยสิ่งเล็กๆน้อยๆ

ถ้าต้องการให้กคช.เติบโตต้องทำอย่างไร Less is more Business Model เน้นเรื่องต้นทุนกับผลตอบแทน

Knowledge & Service & Information มากขึ้น

Intensive Knowledge Management องค์กรทุกองค์กร ต้องมีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งจะมีผลกระทบต่อ

           1.กระบวนการ

           2.ความเชื่อมั่น

           3.การสร้างคนที่มีความพร้อมต่อการแข่งขันเพื่อสร้างคุณค่าต่อธุรกิจ

HR Transformation Process

            เป้าหมายองค์กร,การบริหารคนในด้านต่างๆ,การใช้เทคโนโลยี เป็นเครื่องมือ Tramsform

# Put the right man in the right job หรือ Put the wrong in the wrong job (เพื่อดูศักยภาพ)

การบริหารคน

       เดิม ---> HR เป็นหลัก

       ใหม่ ----> หัวหน้า---->วางแผน---->สร้างแรงบันดาลใจ

       ดิจิทัล ---> พนักงาน --->วางแผน---->เรียนรู้/พัฒนาตนเอง (Self-learning)

การแสดงความคิดเห็นร่วมกัน เช่น การนำ Innovation มาทดแทน เพื่อลดต้นทุน การเปลี่ยนบทบาทเป็น Regulation ได้หรือไม่

 

วันที่ 5 มีค.61 

ภาคบ่าย การบรรยายพิเศษโดย อ.กษิต ภิรมย์ (อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ)

ท่านได้ให้ข้อคิดในการทำงานดังนี้

          1.ความเป็นเลิศในหน้าที่การงาน ตั้งใจ/มุ่งมั่น

          2.ความซื่อสัตย์ สุจริต ต้องการให้พลเมืองไทยมีความเข้มแข็ง ทางองค์ความรู้และทักษะ

          3.ความคิดความอ่านที่ดี จะสร้างสรรค์แต่สิ่งดีๆ

# การเคหะฯมีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาประเทศถ้าขยายการชื่อมโยงกับ อาเซียน มี 3 ช่องทาง

          1.การขยายไปใน 30 จังหวัดชายแดน

          2.การขยายการลงทุนไปในกลุ่มอาเซียน

          3.การก้าวข้ามพรมแดนไปเป็นกลุ่ม

# Mindset ของพนักงานไม่ใช่เฉพาะในประเทศไทย แต่ต้องเป็นพนักงานของอาเซียนด้วย

# 10 ปีที่ผ่านมาไทยเป็นองค์กรระหว่างประเทศที่มีความผูกมัดสมาชิกระหว่าง 10 ประเทศ หัวใจ คือ การส่งเสริมความผาสุกประชาชน Human Center

# ตามกฏบัตรอาเซียนต้องเป็นสังคมเปิดที่มีความร่วมมือ 3 ด้าน

           1.ด้านการเมือง

           2.ด้านเศรษฐกิจ

           3.ด้านสังคมและวัฒนธรรม

การบริหารจัดการที่ Transparency ต้องตรวจสอบได้ และโปร่งใส

# ความสัมพันธ์ เคหะฯ ---> supplier

                               ----> ลูกค้า

                               -----> ชุมชน

การพัฒนาประเทศในอาเซียน

           1.ต้องให้ความสนใจบทบาทของมหาวิทยาลัย สถาบันวิจัยให้คิดค้นด้วยตัวเอง

           2.การหาความเหมือนทางวัฒนธรรม

           3.ภัยพิบัติธรรมชาติ

           4.ความโปร่งใสในการจัดซื้อ จัดจ้าง

           5.ปัญหาของการประชาคมอาเซียน (การเมืองภายใน)

ประเทศไทยจะเป็นประธานประชุมอาเซียน ครั้งที่ 2 ปี 2562 ภายใต้กฏบัตรอาเซียน ได้ทำแผนแม่บทการเชื่อมโยง Master Plan Connectivity

คุณชาย สังขะเวส ผู้อำนวยการ กองสิทธิประโยชน์ทางการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

   วัตถุประสงค์การรวมต้วกันของอาเซียน

         1.การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน

         2.การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ 

         3.การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค

         4.การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก

  ASEAN Agreement

          1.การค้า (ATIGS)

          2.การบริการ (AFAS)

          3.การลงทุน (ACIS)

# Wholly obtained คือ สินค้าทางการเกษตรที่เพาะปลูกในประเทศที่ส่งออก

# Regional Value Content คือ มูลค่าเพิ่มการผลิตสินค้าในอาเซียน

# Free Trade Agreement อาเซียนได้ขยายออกนอกภูมิภาคอาเซืยนไปแล้ว 5 ประเทศ

# การคำนวณว่าสินค้าได้ RVC หรือไม่ ดูได้จากต้นทุนการผลิตและวัตถุดิบการผลิต

# ฐาน RVC คิดจากราคา FOB  

  AFAS มี 4 ลักษณะ

          1.Cross-border supply เช่น โทรคมนาคม

          2.Consumption Abroad ลูกค้าเข้ามาหาเอง เช่น โรงแรม

          3.Commercial Present การตั้งบริษัทลูก

          4.Present of Regional Person การตั้งตัวแทนข้ามชาติ

ต่อด้วย workshop กลุ่มที่ 2 เรื่องจุดแข็งของการเคหะฯ และประโยชน์ในการเชื่อมต่อกับ ASEAN อย่างไรบ้าง โดยใช้งานออกแบบโครงการฯเป็นฐานการคิด

วิเคราะห์กรณีศึกษาด้านการบริหารธุรกิจ (บทเรียนเพื่อการพัฒนาการเคหะแห่งชาติ)

1) กรณีศึกษาของบริษัทน้ำตาลมิตรผล จำกัดโดย ดร.บวรนันท์ ทองกัลยา รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มงานทรัพยากรบุคคลและบริการบริษัทน้ำตาลมิตรผล จำกัด

          หัวใจของ Organization Transform คือหัวใจสำคัญในการขับเคลื่อนองค์กรคุณค่าของคนอยู่ที่ผลของงาน การทำงานในภาคธุรกิจคือจับต้องได้หรือไม่ อะไรคือ Resultอะไรคือ Hi-light Performance  แม้ว่า howto สำคัญ แต่ไม่เท่ากับ result เป็นอย่างไร เป้าหมายขององค์กรต้องการเป็นองค์กรที่ยั่งยืนอะไรคือ Key Success ผู้นำองค์กร แก่นของ Leader คือ ภาวะผู้นำดูจากแนวคิด กล้าเผชิญกับความจริงที่โหดร้าย และมีแนวคิดแบบเม่นคือเอาตัวรอดได้ทุกสถานการณ์

         บริบทของการเปลี่ยนแปลงน่ากลัวหรือไม่ VUCA - Volatility(V), Uncertainty (U), Complexity (C), Ambiguity (A) หัวใจสำคัญอยู่ที่คนมีความสามารถในการรับมือกับสถานการณ์ในอนาคตfuture competency ดังนั้นจะเตรียมความพร้อมของคนในอนาคตอย่างไรบ้าง

          การบริหารการเปลี่ยนแปลงมี 6ปัจจัยหลัก คือ Vision, Communication,  Incentive,  Skill, Action Plan และ Tool

ประสงค์ ดวงแก้ว กลุ่ม 1

สรุปบทเรียน 16 มีนาคม 2561

วิเคราะห์กรณีศึกษาด้านการบริหารธุรกิจ(บทเรียนเพื่อการเคหะแห่งชาติ)

โดย  ดร.พยัต  วุฒิรงค์ และ ว่าที่ร้อยตรีจีรวัฒน์  เยาวนิช

                สรุปความรู้จากบทเรียนในวันนี้ในเรื่อง Trend ของโลก วิเคราะห์ลูกค้าว่าลูกค้าต้องการอะไร อาจจะทดลองลงไปทำเป็นลูกค้าเองแล้วลองทำตามขั้นตอนต่างๆที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน แล้วจะรู้ว่ามีความรู้สึกอย่างไร จะได้รู้ว่าลูกค้าคิดอย่างไร  แล้วนำมาปรับปรุงหรือปรับใช้อย่างไรให้ตรงใจลูกค้า

                นวัตกรรม – เป็นสิ่งที่ใหม่ หรือเก่าก็ได้  สามารถทำให้เกิดขึ้นได้จริง  สิ่งที่ทำได้จริงต้องมีประโยชน์  เช่น บริษัทพฤกษา สามารถนำนวัตกรรมใหม่มาใช้ในการก่อสร้างได้จริง ลดเวลาเหลือในการก่อสร้างบ้านหนึ่งหลังไม่เกิน 15 วัน เป็นต้น

                Ideatrian – การระดมความคิด วิธีแก้ปัญหา

                Prototyping – การสร้างต้นแบบไม่ยุ่งยากราคาไม่แพงเป็นโมเดล

                Test   -  เป็นเรื่องของการทดสอบ

การคิดเชิงออกแบบ เข้าใจลูกค้า ตีโจทย์แตก สนองความคิด สร้างต้นแบบ สร้างพันธมิตร

สร้างภาพลักษณ์ Brand

สร้างปฏิสัมพันธ์กับลูกค้า Customer  Engadement

ภาคบ่าย

การนำเสนอการแปลงหนังสือและโครงพัฒนาที่อยู่อาศัยข้ามพรมแดนมิตรภาพ ไทย – ลาว

                ได้รับแนวคิดจากหนังสือเรื่อง disrupting และ Revese innovation มาปรับใช้กับการเคหะแห่งชาติ คือเราอาจจะปรับรูปแบบโครงการให้เข้ากับวัฒนธรรมพื้นถิ่น ให้ตรงใจตรงความต้องการของลูกค้า

                ส่วนการพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยข้ามพรมแดนในกลุ่มอาเชี่ยน โดยเฉพาะในกลุ่ม CLMV ซึ่งเราได้เลือกประเทศลาวเป็นโครงการนำร่องนั้น จากการศึกษาข้อมูล ลาวก็ยังมีความต้องการให้นักลงทุนเข้าไปลงทุนและยังต้องการความช่วยเหลือทางด้านวิชาการอีกมาก และได้รับข้อคิดเห็นจากผู้บริหารจะติดให้เรื่องนโยบายปัจจุบันและกฎหมายต่างๆที่ยังไม่เอื้ออำนวย แต่อย่างไรก็แล้วแต่ ในด้านความคิดเราก็ได้ก้าวข้างพรมแดนแห่งความคิดไปแล้ว ซึ่งก็ยังคงเหลือเฉพาะเวลาและโอกาสเท่านั่นที่เราจะก้าวข้าวไปสู่อาเชี่ยนให้ได้ในอนาคต ก็ขึ้นอยู่กับผู้บริหารจะตัดสินใจ

สิ่งที่ได้จากการอบรมวันที่ 15 มีนาคม 2561
            การเคหะแห่งชาติ เป็นองค์กรที่เพียบพร้อมในองค์ความรู้ เพียงแต่ขาดแรงบันดาลใจเพื่อให้บรรลุไปสู่ความสำเร็จ ดังนั้นจะต้องคิดอย่างคนภายนอกเพื่อจะต้องเปลี่ยนแปลงโลกทัศน์ (Demand Focus)
            คนภายในองค์กรทุกระดับจะต้องเป็นผู้ที่ร่วมบริหาร นำพาองค์กรเพื่อไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมาย  ที่วางไว้ โดยมีอิทธิพลข้างเคียง ได้แก่ รัฐบาล บอร์ด ผว.กคช. (จะต้องคานอำนาจกันในการบริหาร), นานาอารยประเทศ คือจะต้องทำ SWOT เพื่อให้ได้งบประมาณ – เงินอุดหนุน

S    -  พลังภายใน
W   -

O    - พลังภายนอก – สิ่งแวดล้อมที่เป็นภาวะคุกคาม

T    -

พลังทั้ง 5 ภายนอก (BEST) ได้แก่
1. POLITICS การบริหารแบบผู้นำสหรัฐ (หลักการเสรีประชาธิปไตย)
2. ECONOMIC
3. SOCIAL ใช้ให้ประโยชน์จาก ENTERPRITE, MEDIA
4. TECHNOLOGY
5. EIA

       การเคหะแห่งชาติต้องมียุทธศาสตร์ ที่มีความคิดแยกข่ายเพื่อจะนำพาผลิตภัณฑ์ออกสู่ชุมชน ที่มีประสิทธิภาพ ทุกคนในองค์กรมีความรู้ และประสบการณ์ฝังอยู่ในตนจำนวนมาก ดังนั้นจะต้องร่วมหารือกันอย่างเป็นกันเอง อย่างเข้าใจ เพื่อให้กลายเป็นองค์ความรู้ขององค์กร 

       ความท้าทายของการเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยีมีผลต่อโลกในอนาคต องค์กรจึงจะต้องมี AGENDA

       1. ความท้าทายเชิงธุรกิจ ความเคลื่อนไหวในการบริการ โดยมี SMART MOBILITY, SOCIAL NETWORK, CLOUD COMPUTING, BIG DATA ขึ้นอยู่กับ KNOWLEDGE MANAGEMENT (การจัดการองค์ความรู้)

ค่านิยมของผู้บริโภคมีความหลากหลายมากขึ้น

- การใช้ผลิตภัณฑ์มากกว่าการเป็นเจ้าของ

- ความหลากหลายของตัวเลือกในการดำรงชีวิต

- การก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ

- สภาวะโลกร้อน

2. กลยุทธ์ทางการแข่งขัน มีการวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งระบบอย่างสร้างสรรค์             

3. กลยุทธ์ด้านทรัพยากรมนุษย์ ต้องไม่หยุดนิ่งในการพัฒนาตนเอง

  ******************************************************************************                                                                                                 นางสาวพวงทิพย์  อ่อนชุม                                                                                                 พนักงานจัดการทรัพย์สิน 9                                                                                                 ฝ่ายบริหารงานชุมชน 2                                                                                                 กลุ่มที่ 1

สิ่งที่ได้จากการอบรมวันที่ 15 มีนาคม 2561
            การเคหะแห่งชาติ เป็นองค์กรที่เพียบพร้อมในองค์ความรู้ เพียงแต่ขาดแรงบันดาลใจเพื่อให้บรรลุไปสู่ความสำเร็จ ดังนั้นจะต้องคิดอย่างคนภายนอกเพื่อจะต้องเปลี่ยนแปลงโลกทัศน์ (Demand Focus)
            คนภายในองค์กรทุกระดับจะต้องเป็นผู้ที่ร่วมบริหาร นำพาองค์กรเพื่อไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมาย  ที่วางไว้ โดยมีอิทธิพลข้างเคียง ได้แก่ รัฐบาล บอร์ด ผว.กคช. (จะต้องคานอำนาจกันในการบริหาร), นานาอารยประเทศ คือจะต้องทำ SWOT เพื่อให้ได้งบประมาณ – เงินอุดหนุน

S    -  พลังภายใน
W   -

O    - พลังภายนอก – สิ่งแวดล้อมที่เป็นภาวะคุกคาม

T    -

พลังทั้ง 5 ภายนอก (BEST) ได้แก่
1. POLITICS การบริหารแบบผู้นำสหรัฐ (หลักการเสรีประชาธิปไตย)
2. ECONOMIC
3. SOCIAL ใช้ให้ประโยชน์จาก ENTERPRITE, MEDIA
4. TECHNOLOGY
5. EIA

       การเคหะแห่งชาติต้องมียุทธศาสตร์ ที่มีความคิดแยกข่ายเพื่อจะนำพาผลิตภัณฑ์ออกสู่ชุมชน ที่มีประสิทธิภาพ ทุกคนในองค์กรมีความรู้ และประสบการณ์ฝังอยู่ในตนจำนวนมาก ดังนั้นจะต้องร่วมหารือกันอย่างเป็นกันเอง อย่างเข้าใจ เพื่อให้กลายเป็นองค์ความรู้ขององค์กร 

       ความท้าทายของการเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยีมีผลต่อโลกในอนาคต องค์กรจึงจะต้องมี AGENDA

       1. ความท้าทายเชิงธุรกิจ ความเคลื่อนไหวในการบริการ โดยมี SMART MOBILITY, SOCIAL NETWORK, CLOUD COMPUTING, BIG DATA ขึ้นอยู่กับ KNOWLEDGE MANAGEMENT (การจัดการองค์ความรู้)

ค่านิยมของผู้บริโภคมีความหลากหลายมากขึ้น

- การใช้ผลิตภัณฑ์มากกว่าการเป็นเจ้าของ

- ความหลากหลายของตัวเลือกในการดำรงชีวิต

- การก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ

- สภาวะโลกร้อน

2. กลยุทธ์ทางการแข่งขัน มีการวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งระบบอย่างสร้างสรรค์             

3. กลยุทธ์ด้านทรัพยากรมนุษย์ ต้องไม่หยุดนิ่งในการพัฒนาตนเอง

  ******************************************************************************                                                                                                 นางสาวพวงทิพย์  อ่อนชุม                                                                                                 พนักงานจัดการทรัพย์สิน 9                                                                                                 ฝ่ายบริหารงานชุมชน 2                                                                                                 กลุ่มที่ 1

สิ่งที่ได้จากการอบรมวันที่ 16 มีนาคม 2561 

 บทวิเคราะห์กรณีศึกษาด้านการบริหารธุรกิจ

            ปัจจุบันอเมริกากำลังเสื่อมถอยในขณะที่จีนกำลังแซง ประธานาธิบดีสีจินผิงกำลังจะเป็นจักรพรรดิของโลก จีนอาศัยการบริหารแบบดังต่อไปนี้

WES – EAST

BIG – SMALL 

 BUSINESS - CONSUMER 

 MASS - NICHE 

 VALUE – VALUE

            ของไทยต้องบริหารแบบบูทิคแอร์ไลน์ – เอเชียบูทิคแอร์ไลน์ ในด้านอสังหาริมทรัพย์ มีผู้นำในทางด้านนี้คือ เจ้าของหมู่บ้านพฤกษา เจ้าของธุรกิจเป็นบุคคลที่ไม่มีมรดก แต่อาศัยการบริหารที่มีการพัฒนาจากเดิมๆ ที่ทุกอย่างต้องผ่านเจ้าของทุกเรื่อง เปลี่ยนแปลงโดยการบริหารกลุ่ม CEO ของแบบบ้านที่ก่อสร้างขึ้น ได้แก่ 

  - บ้านแฝด 

 - บ้านเดี่ยว 

 - คอนโด 

 - บ้านแบบพรีเมี่ยม

            ปัจจัยแห่งความสำเร็จคือ มีความเข้าใจว่าลูกค้าต้องการอะไร หากซื้อบ้านแล้วจะมีสิ่งอำนวยความสะดวกหรือไม่ เช่น การประชาสัมพันธ์โดยพ่วงร้านสะดวกซื้อ, การให้รางวัลแก่กลุ่ม CEO ที่ทำผลตอบแทนสูงสุด

* การบริหารในกลุ่มพลังงาน เช่น JETT กับ ปตท.

            JETT มีต้นทุนแพงกว่าเจ้าอื่น โปรโมทแบบที่เจ้าอื่นไม่ทำ เช่น ห้องน้ำสะอาด และมีร้านสะดวกซื้อ JIFFY มีการให้เช่าพื้นที่ในปั๊มเพื่อขายของที่ลูกค้าจำเป็นต้องซื้อ และตั้งปั๊มให้ใกล้กับปั๊ม ปตท. โดยใช้พื้นที่บริเวณรอบเมือง

            ปตท. ลืมไปว่าลูกค้าต้องการอ ลืมคิดว่าไปคนไทยมีน้ำใจการที่คนเข้าปั๊มเพื่อเข้าห้องน้ำที่สะอาดแล้วจะต้องเติมน้ำมัน และซื้อของกินของใช้ที่จำเป็นต่อการเดินทาง ดังนั้น ปตท.จึงต้องกล้าที่ปรับปรุงเปลี่ยนแปลง องค์กรในการบริหารให้ทันกับความต้องการของลูกค้า             

            การเคหะแห่งชาติ ก็ต้องคำนึงถึงลูกค้าว่าต้องการอะไรจะต้องปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้ตอบรับกับสิ่งนั้นๆ ให้ได้โดยใช้นวัตกรรมการแก้ปัญหา คือ ให้ทำตนเป็นลูกค้าอยู่ในกระบวนการนั้นๆ แล้วจะเข้าใจ “โดยที่ไม่ต้องถามลูกค้า” โดยนำข้อคิดดังต่อไปนี้

  • - ทำไมหมู่บ้านพฤกษาจึงก่อสร้างบ้านได้รวดเร็ว
  • - ความต้องการส่วนใหญ่ของลูกค้า คือ การดีไซน์แบบบ้านให้ตอบรับกับสิ่งเหล่านั้น
  • - เปลี่ยนวิธีบริหาร
  • - เน้นคุณค่า (กำไร) จำนวนมาก มากกว่า เน้นจำนวนหน่วย โดยใช้หลักการ ‘‘สังเกตพฤติกรรมลูกค้า – คลุกคลี’’ ให้เกิดการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking Process) เข้าใจลูกค้า – ตีโจทย์ – ระดมความคิด – สร้างต้นแบบ – ทดสอบ
  • ทำอย่างไรให้คนหันมาใช้รูปแบบ (Platform) ทางเราให้มากขึ้น

  • ******************************************************************************************************************                                                                                                             นางสาวพวงทิพย์  อ่อนชุม                                                                                                             พนักงานจัดการทรัพย์สิน 9                                                                                                             ฝ่ายบริหารงานชุมชน 2                                                                                                             กลุ่มที่ 1

วันที่ 7 มีนาคม2561

การบริหารความเสี่ยงทางธุรกิจ

โดย ดร.สุรพงษ์มาลี สำนักงาน ก.พ.

คุณสมชายไตรรัตนภิรมย์  รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท ทรีสคอร์ปอเรชั่นจำกัด

การบริหารความเสี่ยงและวัฒนธรรมความเสี่ยง

หลายองค์กรกล่าวถึงการบริหารความเสี่ยงแต่ไม่กล่าวถึงวัฒนธรรมความเสี่ยง แต่วัฒนธรรมความเสี่ยงเป็นเรื่องสำคัญ

Disruptive Technology เกิดในหลายธุรกิจ

ความเสี่ยง หมายถึงเหตุการณ์ที่มีความไม่แน่นอนซึ่งหากเกิดขึ้นจะมีผลกระทบในเชิงลบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายขององค์กรดังนั้นองค์กรจึงควรดำเนินการเพื่อหลีกเลี่ยงหรือลดเหตุการณ์ที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแต่สามารถบ่งชี้เหตุการณ์ที่เป็นโอกาสในการเพิ่มคุณค่าให้กับองค์กร

การบริหารความเสี่ยงหมายถึง การกำหนดนโยบาย โครงสร้าง และกระบวนการ เพื่อให้คณะกรรมการ ผู้บริหารและบุคลากรของบริษัทฯ นำไปปฏิบัติในการกำหนดกลยุทธ์และปฏิบัติงานทั่วทั้งองค์กรโดยกระบวนการบริหารความเสี่ยงจะสัมฤทธิ์ผลได้ องค์กรจะต้องสามารถบ่งชี้เหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นประเมินผลกระทบต่อองค์กรและกำหนดวิธีการจัดการที่เหมาะสมให้ความเสี่ยงอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นในระดับหนึ่งว่าผลการดำเนินงานตามภารกิจต่างๆจะสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ 

14 มีนาคม 2561

การพัฒนาที่อยู่อาศัย...กับการขับเคลื่อนประเทศไปสู่ Thailand 4.0 (1) กรณีศึกษา โดย ดร.โสภณ พรโชคชัย ประธานกรรมการบริหารศูนย์ข้อมูลวิจัยและประเมินค่าอสังหาริมทรัพย์ไทย

นายสิทธิชัย เนี๋ยมเจริญ

Envisioned Solution Development Director

บริษัท SCG Building Materials จำกัด

การเจริญเติบโตของอสังหาริมทรัพย์ ในรอบ 20 ปี จำนวนหน่วยเพิ่มขึ้นมาตลอด แต่แนวโน้มการลดลงจะมีมากขึ้นเช่นกัน แต่กลุ่มที่มีอำนาจซื้อก็ยังอยู่ เช่น บ้านราคา 15 ล้านบาท

          ประเทศไทยกำลังก้าวสู่ Thailand 4.0 ประเทศไทยกำลังปรับตัวเองไปด้านนวัตกรรม  สิ่งที่ดูคือ Envision for solution

Envision คือการ Imagine Something Possible

          SCG เน้น Platform 4 อย่างคือ Construction Platform, Elder Care Solution Platform, ECO Solution Platform and Smart Solution Platform

การ Disrupt ทาง Business สิ่งที่เกิดขึ้นคือ การ Disrupt ในยุค Digital Transformation การ Disrupt ทำให้ธุรกิจเกิดและตายได้ตลอดเวลา

          นวัตกรรม Innovation ต่างกับ Invention Invention คือการประดิษฐ์ สิ่งไหนที่เกิด Invention หมายถึงเกิดขึ้นครั้งแรกของโลก แต่ Invention ทั้ง 100 % ไม่เป็นนวัตกรรม Innovation จะไม่เกิดประโยชน์ถ้าไม่สร้าง Value สู่ Customer

14 มีนาคม 2561

การบริหารกลยุทธ์องค์กร กรณีศึกษาของธนาคารแห่งประเทศไทย

โดย ดร. ณัฐวุฒิ พงศ์สิริ

ผู้ช่วยผู้ว่าการสายทรัพยากรบุคคลและพัฒนาองค์กร ธนาคารแห่งประเทศไทย

อาจารย์ศรัณย์ จันทพลาบูลย์

บริษัท กบเหลาดินสอ จำกัด

          โลกยุค VUCA คือ ผันผวน ไม่แน่นอน ซับซ้อน ไม่ชัดเจน ในยุคนี้เป็นยุคของ disruptive

องค์กรและการเปลี่ยนแปลง

          ไม่มีองค์กรไหนที่ไม่สามารถอยู่ได้โดยไม่ปรับเทคโนโลยี เพราะโลกเปิดให้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ในอดีตจะเห็นว่าเราไม่สามารถป้องกันอะไรได้ อนาคตเป็นสิ่งที่ต้องดูในการปรับเปลี่ยนรูปแบบการทำงาน มีการกำหนดเรื่องโครงสร้างทางสังคมในการเลือกปฏิบัติ มีการปรับกฎระเบียบต่าง ๆ

Key Questions in Strategic Management 1. Where are we now?  2. Where do we want to go? 3. How will we go there?

ทิศทางการเปลี่ยนแปลง เช่น ด้านสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยี สถานที่ทำงาน

การพัฒนาองค์กรไปสู่องค์กรสร้างสรรค์

1. COD – Creative Organization Development

2. Strength Based Organization

หลักความคิดสร้างสรรค์ 4 M

             1. Mindset – ความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ

             2. Mood – อารมณ์ ความรู้สึกที่เอื้อต่อความคิดสร้างสรรค์

             3. Mechanic – ขั้นตอนการคิด

             4. Momentum – ทำอย่างไรให้ความคิดสร้างสรรค์เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องยั่งยืนไม่เป็นไฟไหม้ฟาง

             สิ่งที่ทำคือให้พนักงานทุกระดับมี Creative Process ,Creative Leadership, Creative Thinking เพื่อจูงใจให้พนักงานคิดไอเดียใหม่ ๆ  ให้สอดรับกับความคิดสร้างสรรค์ในองค์กร  และจะพบว่าเมื่อเชื่อม Creative จะมี 4 M คือมี Content ทั้งหมดที่คิดคือ 12 Module คือ Creative Thinking

การคิดสร้างสรรค์ มีกรอบอยู่ 3 กรอบ มีกรอบของความคิด กรอบองค์กร และกรอบสังคม

 

วิลาวัลย์ โชครุ่งเรือง กลุ่ม 1

วันที่ 14 มีนาคม 2561


การพัฒนาที่อยู่อาศัย...กับการขับเคลื่อนประเทศไปสู่ Thailand 4.0 กรณีศึกษา 

Innovation ต่างกับ Invention

           Invention คือการประดิษฐ์ สิ่งไหนที่เกิด Invention หมายถึงเกิดขึ้นครั้งแรกของโลก แต่ Invention ทั้ง 100 % ไม่เป็นนวัตกรรม

     หลักความคิดสร้างสรรค์ 4 M

             1. Mindset – ความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ

             2. Mood – อารมณ์ ความรู้สึกที่เอื้อต่อความคิดสร้างสรรค์

             3. Mechanic – ขั้นตอนการคิด

             4. Momentum – ทำอย่างไรให้ความคิดสร้างสรรค์เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องยั่งยืนไม่เป็นไฟไหม้ฟาง          การคิดสร้างสรรค์

             มีกรอบอยู่ 3 กรอบ มีกรอบของความคิด กรอบองค์กร และกรอบสังคม

             1. ครึ่งแรกของการคิดสร้างสรรค์ต้องคิดนอกกรอบ 3 กรอบนี้ แต่ยังเอาไปใช้ไม่ได้ เป็นช่วงที่เป็นไอเดียดิบ ๆ ที่ยังไม่ได้กรอง

             2. ครึ่งหลัง การบ่มความคิดดิบ ๆ ให้เข้ามาในกรอบขององค์กรและสังคม ให้เข้ามาอยู่ระหว่างกรอบความคิดเดิมของเรา เป็นการคิดคร่อมกรอบ

 



วิลาวัลย์ โชครุ่งเรือง กลุ่ม 1

15 มีนาคม 2561

วิเคราะห์ประเด็นท้าทายของการเคหะแห่งชาติ

 การเจออุปสรรคมี 3 กลุ่มคือ

     1. เดินไปให้ได้ เอาชนะให้ได้

     2.  50%

     3. ไม่เดินต่อ

      แต่ทั้ง 3 ส่วนมีส่วนที่คล้ายกันอยู่ คือ Social Skill มีวิธีการบริหารความยากลำบากอย่างไร ต้องมีวิธีการความรู้ทางเทคนิค การบริหารคนใต้บังคับบัญชาอย่างไร บริหารคนที่เป็นหัวหน้าอย่างไร  ความกดดันจะมีการบริหารอย่างไร  มี 5 ส. ต้องสะสาง  สะดวก สะอาด สุขลักษณะ สร้างนิสัย ต้องมีหลักการและเหตุผล พูดชัด พูดตรง และพูดให้เข้าใจ

      สรุปแนวคิด 3 ข้อ

     1. คิดแบบ Demand side - ความคุ้นชิน เริ่มจากข้างในคือ Supply side ต้องเปลี่ยนเป็น Demand side  การเคหะฯ มีคู่แข่ง ขอเสนอว่า อะไรที่เราเก่งที่สุดเก็บไว้เป็น Routine 30% ส่วนอีก 70% ขอให้ดู Demand ด้วย ต้องตอบสนองในฐานะที่คนนอกมองเข้ามาด้วย ต้องมองปัจจัยภายนอกด้วย

    2. อย่าไปกังวลกับกรรมเก่า เพราะลูกค้าเก่าก็สามารถเป็นลูกค้าในอนาคตได้  เน้นการเตรียมตัวและพร้อมทำงานใหม่ ๆ มีหน่วยงานที่ต้องดู กรรมเก่าจะจัดการอย่างไร ต้องสร้างกรรมใหม่ที่เป็นประโยชน์ในเชิงยุทธศาสตร์

   3. วัฒนธรรมองค์กร อาจต้องดู  5 อย่าง

      - ดูว่า Hero ในองค์กรที่สังกัดใหม่เป็นอย่างไร ถ้าจะต้องทำกับส่วนต่าง ๆ ต้องสังเกตว่าเป็น Idol คือใคร นับถือใคร  และถามว่าทำไมถึงนับถือคนนี้ สิ่งนี้คือวัฒนธรรมใหม่ คนรุ่นเก่า รุ่นใหม่ให้ความนับถือคนแบบไหน เหมือนกันหรือไม่

     - พิธีกรรมอย่างไร อย่ามาหลังกลับก่อน ต้องมาก่อน กลับที่หลัง สังเกตเคหะฯ ว่ากิจกรรมการเคหะฯ ไม่ใช่ Routine มีการเปลี่ยนมาก

    - กลุ่มคนเป็นอย่างไร เช่น ดูคนในการเคหะฯ ต่าง ๆ จะเห็น Dialogue หรือคำพูดไม่เหมือนกัน

    - ข่าวสำคัญในการกระจาย ข่าวลือกระจายเร็วที่สุดได้อย่างไร ให้ไล่ไปเช็คให้ได้

    - สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ใครเป็นผู้นำของ Action คือใครกันแน่ เป็น Soul Leadership คือผู้นำทางจิตวิญญาณ

นายสมบูรณ์ แพรงาม

สรุปการบรรยาย หัวข้อการบริหารงบประมาณเชิงกลยุทธ์

โดย ดร.ดวงตา ตันโซ

คุณสาธิต อนันตสมบูรณ์

ดร.มงคล เหล่าวรพงษศ์

ดำเนินการอภิปรายโดย อาจารย์ ทำนองดาศรี

วันที่ 6 มีนาคม 2561

ดร.มงคล เหล่าวรพงศ์

หัวข้อบรรยาย

-การจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2561

-การจัดทำแผนงบประมาณเชิงกลยุทธ์ให้มีประสิทธิภาพ

การจัดทำแผนงบประมาณในลักษณะเชิงบูรณาการเชิงกลยุทธ์ ปี2561

วัตถุประสงค์

1.เพื่อให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหิกจและหน่วยงานอื่นนำใปใช้ประกอบการพิจารณาจัดทำงบประมาณ โดยมีการทบทวนแนวทาง เป้าหมายและตัวชี้วัดให้เชื่อมโยงสอดคล้องกับร่างกรอบยุทธศาสตร์ชาติรระยะ 20 ปี (2560-2579)แผนสภาพัฒน์ที่ 12 (2560-2564) นโยบกายความมั่นคงแห่งชาติ (2558-2564) นโยบายรัฐบาลและแผนแม่บทกระทรวงต่างๆ เป็นตัวเริ่มต้น

2.แสดงให้เห็นถึงประโยชน์ที่ ประชาชนและประเทศชาติจะได้รับในระยะสั้นและระยะยาว รวมทั้งประเมินผลสัมฤทธิ์ของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นในแต่ละระดับได้อย่างชัดเจน

การดำเนินงาน

1.พิจารณากำหนดหลักเกณฑ์ วัตถุประสงค์ ขอบเขตภารกิจ เป้าหมาย แนวทางการดำเนินงาน ตัวชี้วัด หน่วยงานเจ้าภาพ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับประเด็นการจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยทธศาสตร์

2.ให้ความสำคัญกับการจัดแผนแม่บทระยะปานกลางและยาว แผนปฏิบัติการ  แผนการใช้จ่ายงบประมาณ การดำเนินโครงการ/กิจกรรมบูรณาการแบบ 3 มิติได้แก่ Area Function /Agenda

3.จัดทำแผนแม่บทระยะปานกลางและระยะยาว แผรปฏิบัติงาน และแผนการใช้จ่ายงบฯ ส่งสำนักงบประมาณ

4.กำกับและติดตามประเมินผลและตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณตามแผนงานบูรณการ รวมทั้งบูรณการการทำงานในทุกมิติ

แนวทางการตจัดทำงบประมาณปี2561

1.กำหนดขอบเขต หลักการ วัตถุประสงค์ ฯลฯและหน่วยงานดำเนินการ 

2.กำหนดโครงการ กิจกรรมของหน่วยงานที่เกียวข้องกับการจัดทำงบในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ให้ชัดเจนพร้อมรายละเอียดประกอบ

3.กำหนดแนวทางติดตาม

4.ให้สามารถแสดงผลการบูรณาการภารกิจและงบประมาณได้อย่างครบถ้วน และสู่เป้าหมายได้อย่างชัดเจนมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

5.โครงการ กิจกรรมในแผนงานบรูณาการต้องเป็นไปตามภารกิจและหน้าที่ตาม กม.ของหน่วยงาน และสอดคล้องกับพันธกิจของรัฐวิสาหกิจ สะท้อนและส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมายของแผนงานบูรณาการ เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายข่ายประจำปีงบประมาณ2561 และนโยบายสำคัญของรัฐบาล

แนวคิดการเชื่อมโยงและการประสานแผนงานในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์

เป็นการบูรณาการโดยใช้กระบวนการงบประมาณเป็นเครื่องมือให้บรรลุวัตถุประสงค์ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยให้การดำเนินงานแต่ละหน่วยงานเป็นไปอย่างส่งเสริมซึ่งกันและกัน สมดุลและมีการรวบรวมรายจ่ายในลักษณะองค์รวมก่อให้เกิดสัมฤทธิ์ผลสูงข้ึ้นกว่าการดำเนินภารกิจอิสระจากกัน เช่นมีโครงการหนึ่งแต่ละฝ่ายต้องมาระดมความคิดร่วมกัน

หลักการในการดำเนินการคือหน่วยงานเจ้าภาพมีหน้าที่ในการกำหนดเป้าหมาย ตัวชี้วัด ขอบเขตงาน ระยะเวลา หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและงบประมาณเชิงบูรณาการโดยจจัดทำเป็น project Base มีควาามเป็นไปได้ คุ้มค่าและไม่ซ้ำซ้อน

แนวคิดในการกำหนดตัวชี้วัดผลสำเร็จ

งบประมาณ บูรณาการ ยุทธศาสตร์สำเร็จคืออะไร ต้องมีการระบุในส่วนที่เกี่ยวข้อง

-สามารกถวัดผลเป็นรูปธรรม มีค่าตัวเลขชัดเจน

-เข้าใจตรงกันยอมรับทุกฝ่า่ย

-ครอบคลุมภารกิจตามแผนงานบูรณาการครบถ้วน

และสุดท้ายวิทยากรได้นำเสนอระบบประเมินคุณภาพรัฐวิสาหกิจ SEPA เกณฑ์หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์

ดร.ดวงตา ตันโซ

ระบบงบประมาณของไทย

กระบวนการงบประมาณมี 5 ขั้นตอน

1.วางแผน

2.การจัดทำงบประมาณ

3.การอนุมัติงบประมาณ

4.การบริหารงบประมาณ

5.การประเมินผล

การวางแผนต้องสอดคล้องกับกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

การจัดทำข้อเสนองบประมาณ

รอบแรกเดือนธันวาคม

รอบที่2. เสนองบประมาณเดือนมกราคม-เมษายน

แนวทางการวิเคราะห์และจัดงบประมาณประจำปี 2561

การวิเคราะห์และจัดสรรงบประมาณต้องมีการประเมินและการจัดลำดับความสำคัญของผลผลิต/โครงการ ที่คำนึงถึงความสอดคล้องกับนโยบายและยุทธ์ศาสตร์ของรัฐบาล รวทั้งความพร้อมและความสามารถในการดำเนินงานของหน่วยงาน

คุณสาธิต อนันตสมบูรณ์

สิ่งที่รัฐวิสาหกิจต้องมีคือธรรมภิบาล

1.สุจริต

2.โปร่งใส

3.ถูกกฏหมาย

การทำงบประมาณทุกอย่างให้มองผลลัพภ์ที่จะเกิด และนำมาใช้ได้จริง

การจัดซื้อจัดจ้างให้ศึกษา พรบ.และประกาศกระทรวงการคลังให้ดี ถ้าผิดราคากลางอาจติดคุก ปัญหาคือการใช้เงินรัฐมีข้อบกพร่องมากเนื่องจากหลายสาเหตุ  ขอให้ทำตามแผนยุทธ์ศาสตร์อย่างถูกต้อง

การเป็นผู้นำต้องคิดเป็น ใช้เงินเป็น คนทำดีต้องส่งเสริม


นายสมบูรณ์ แพรงาม

หัวข้อ วิเคราะห์กรณีศึกษาด้านการบริหารธุรกิจ (บทเรียนเพื่อการพัฒนาการเคหะแห่งชาติ)1)กรณีศึกษาของบริษัทน้ำตาลมิตรผล

โดย ดร.บวรนันท์ ทองกัลยา

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่

วันที่ 6 มีนาคม2561

ผู้บริหารต้องมีจุดแข็งทั่งสิ้น

หัวใจของการบริหารการเปลี่ยนแปลงมี 2 ตัวคือ

1.T คือTechnoiogy/Technical/Tool การบริหารจัดการต่าง ๆที่เป็น Half Side

2.A-Acceptance

แก่นของการบริหารองค์กรอยู่ที่คนเอาหรือไม่เอา ถ้าคนไม่เอาจะแย้งทุกเรื่อง Hard Side จะตายที่ Solt Side ทั้งสิ้น

สูตรสำเร็จแห่งการเปลี่ยนแปลง

การบริหารการเปลี่ยนแปลงมี 6 ปัจจัยหลัก 

1.Vision ที่ชัด และบอกทิศทาง

2.Communication  การสื่อสารเป็นสิ่งสำคัญที่ทำให้คนรับมือกับการเปลี่ยนแปลงได้

3.Incentive แรงจูงใจในการเปลียน

4.Skill

5.Action Plan

6.Tool

เรื่องความผูกพันของพนักงานต่อองค์กร Engagement

มีงานวิจัยบอกว่า gen Y จะออกง่ายใน 3ปีแรก โดยเฉพาะ ปีแรก

1.พัฒนาอย่างไรให้เกิดช่องว่างน้อยที่สุด  keyword คือ Understandding ตัวที่ Impact คือนาย การเป็นตัวอย่างที่ดีคือต้ัวที่เป็น Cultivate Corporate ได้ดีที่สุด หมายถึงการแสดงออกด้วย หัวใจที่สำคัญคือการปลูกฝัง Role Model ที่สร้างประสบการณ์

Group Assingnment Presentation

นำเสนอบทเรียน จากหนังสือAlibaba เกี่ยวกับกรณีศึกษาด้านการบริหารธุรกิจและการนำมาปรับใช้กับ การเคหะแห่งชาติ

ร่วมวิเคราะห์และให้ความคิดเห็นโดย

ศ.ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์

ดร.บวรนันท์ ทองกัลยา

อาจารย์พิชญ์ภูรี ่จันทรกมล

นายสมบูรณ์ แพรงาม

Panel Discussion การบริหารความเสี่ยงทางธุรกิจ โดย ดร.

วันที่ 6 มีนาคม 2561

ช่วงเช้า  อ.มงคล เหล่าวรพงศ์

เรื่อง 1.)การจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561

วัตถุประสงค์

   1.ทบทวนเป้าหมายแนวทางและตัวชี้วัดให้เชื่องโยงกับยุทธศาสตร์ แผนงานต่างๆ

   2.ประโยชน์ที่ประชาชน และประเทศชาติจะได้รับทั้งในระยะสั้น/ยาว และประเมินผลสัมฤทธิ์

การดำเนินงาน

   1.กำหนดหลักเกณฑ์ วัตถุประสงค์ ขอบเขตภารกิจ เป้าหมาย แนวทางการดำเนินงาน ตัวชี้วัด หน่วยงานเจ้าภาพ/   

      เกี่ยวข้อง

   2.ให้ความสำคัญกับการจัดทำแผนแม่บทระยะปานกลาง และระยะยาว แผนการปฏิบัติงาน แผนการใช้จ่ายงบประมาณ

       ที่มีการบูรณาการ 3 มิติ ได้แก่ ยุทธศาสตร์พื้นที่ (Area) ยุทธศาสตร์กระทรวง/หน่วยงาน (Function) ยุทธศาสตร์

       รัฐบาล (Agenda)

   3.จัดทำแผนแม่บทระยะปานกลาง/ยาว แผนปฏิบัติงาน และแผนงบประมาณส่งสำนักงบประมาณ

   4.กำกับดูแลติดตามประเมินผลสัมฤทธิ์ และตรวจการใช้จ่าย

แนวทางการจัดทำงบประมาณแบบบูรณาการ

   1.กำหนดขอบเขต หลักการ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย แนวทางการดำเนินงาน ตัวชี้วัด หน่วนดำเนินการ

   2.กำหนดโครงการ กิจกรรมของหน่วยงานกับการจัดทำงบประมาณ

   3.กำหนดแนวทางในการติดตามประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนงาน

   4.แสดงผลการบูรณาการภารกิจและงบประมารได้อย่างครบถ้วน

   5.ต้องเป็นไปตามภารกิจและหน้าที่ กฏหมายของหน่วยงาน และพันธกิจของรัฐวิสาหกิจ บรรลุเป้าหมาย

แนวคิดการเชี่อมโยงและการประสานแผนงาน

   1.ใช้กระบวนการงบประมาณเป็นเครื่องมือ

   2.เน้นการจัดทำเป็น Project Base 

แนวคิดการกำหนดตัวชี้วัดผลสำเร็จ

   1.เป็นรูปธรรม/ชัดเจน 

   2.เข้าใจตรงกัน/ยอมรับ

   3.แผนงานบูรณาการ

2.) ระบบประเมินคุณภาพรัฐวิสาหกิจ SEPA 

บริบทของรัฐวิสาหกิจ

    1.การนำองค์กร

    2.การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์

    3.การมุ่งเน้นลูกค้าและตลาด

    4.การวัด การวิเคราะหฺ์ และการจัดการความรู้

    5.การมุ่งเน้นบุคลากร

    6.การมุ่งเน้นการปฏิบัติการ

    7.ผลลัพธ์

การวัดผลการดำเนินงานของรัฐวิสาหกิจ มี 2 รูปแบบ

    1.ทางด้านการเงิน (Financial)

    2.ที่ไม่ใช่ด้านการเงิน (Non-financial)

เรื่อง  ระบบงบประมาณประเทศไทย

อ.ดวงตา ตันโช

1.ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์

       ปีงบประมาณ 61 กคช.ได้เงินงบประมาณมาแล้วจะบริหารความเสี่ยงอย่างไร

       ปีงบประมาณ 62 กคช.จะสร้างที่อยู่อาศัยให้กับผู้สูงอายุ ต้องใช้งบประมาณเป็นเครื่องมือ เช่น การฝึกอาชีพ 

       รัฐบาลได้สั่งการแบบ Top---->Down ใช้ยุทธ์ศาสตร์ของแผน 12 โดยดูว่าตัวชี้วัดใดที่ไปสู่เป้าหมายนั้น 

2.กระบวนการงบประมาณและโครงสร้างยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่าย

      กระบวนการงบประมาณ มี 5 ขั้นตอน ดังนี้

             1.การวางแผนงบประมาณ

             2.การจัดทำงบประมาณ

             3.การอนุมัติงบประมาณ

             4.การบริหารงบประมาณ

             5.การประเมินผล

               - การวางแผนต้องสอดคล้องกับ พม.

               - เข้าสภานิติบัญญัติแห่งชาติประมาณ เดือนมิถุนายน 

               - วางแผนงบประมาณ

               - ทำสัญญา

               - บริหารความเสี่ยงอย่างไร่

               - ได้รับงบประมาณให้ลงนามจัดซื้อจัดจ้าง

          สำนักงบประมาณจะรายงานผลการดำเนินงานราจจ่ายกับสำนักนายกรัฐมนตรีทุกอาทิตย์

         การทำข้อเสนองบประมาณเบื้องต้น (Pre-Ceiling)

               รอบที่หนึ่ง -----> เดือนธันวาคม

               รอบที่สอง -----> เดือนมกราคม - เมษายน

           ข้อเสนอเบื้องต้น (Pre-Ceiling) มี 5 กล่อง

                1.Function  แผนบุคลากร แผนพื้นฐาน

                2.Agenda  แผนบูรณาการ แผนยุทธศาสตร์

                3.Area จังหวัด อปท.

                4.งบกลางฉุกเฉินจำเป็น/ภัยพิบัติ/เร่งด่วน

                5.ชดให้เงินกุ้/คงคลัง

3.แนวทางการวิเคราะห์และการจัดสรรงบประมาณ มี 8 แนวทาง ดังนี้

      1.สอดคลัองเชิงยุทธศาสตร์ สำคัญเชิงนโยบาย สำเร็จต่อยุทธศาสตร์การจัดสรร

      2.กำหนดเป้าหมาย ค่าเป้าหมาย ตัวชี้วัด ระยะเวลา

      3.ผลประโยชน์หรือผลกระทบที่คาดว่าจะได้รับ/เกิดขึ้น

      4.ตรวจสอบและยืนยันชัดเจน

      5.เป็นพันธกิจหลักตามกฏหมายของหน่วยงาน หรือมีมติ ครม.รองรับ/มอบหมาย

      6.บุคลากรมีศักยภาพและจำนวนสอดคล้องกับภาระกิจ 

      7.ไม่ก่อให้เกิดภาระของรัฐบาลมากเกิน

      8.ทบทวน/ตรวจสอบสถานภาพ ผลการดำเนินงาน ผลการเบิกจ่าย ปัญหาและอุปสรรค         

อ.สาธิต อนัตสมบูรณ์

    การเคหะฯ มีวิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม ได้นำไปใช้แล้วหรือยัง

        1.สิ่งที่เสียไปเกิดปรโยชน์หรือไม่ คุ้มค่าหรือไม่

        2.สิ่งที่ทำได้เกิดประโยชน์กับประชาชนดีขึ้นยัง มีการดูแลอย่างไรบ้าง

   สิ่งที่รัฐวิสาหกิจต้องมี คือ ธรรมาภิบาล

        1.สุจริต 

        2.โปร่งใส

        3.ถูกกฏหมาย

   การทำงบประมาณทุกอย่างให้มองผลลัพธ์ที่เกิด แล้วย้อนกลับมาหาการดำเนินการ ซึ่งต้องใช้ได้จริง

   เงินทุกอย่างมีค่า เราจะบริหารอย่างไรให้อยู่ได้ ดังนั้นอนาคตในองค์กรต้องมองความเป็นไปได้ในอนาคต

   การเป็นผู้นำ ต้องคิดเป็น ใช้เงินเป็น คนทำดีต้องสนับสนุนต้่องส่งเสริม ผู้นำบางครั้งต้องไม่เปิดเผยตัว เพื่อที่จะรู้จักคนมากขึ้น แล้วจะให้ความเป็นธรรม ความถูกต้อง ปกป้องลูกน้อง

   ระวังเรื่องการจัดซื้อจัดจ้าง ให้ถูกต้องตามกฏหมาย พ.ร.บ. และประกาศกระทรวงการคลัง

         


ช่วงบ่าย อ.บวรนันท์ ทองกัลยา

เรื่อง กรณีศึกษาของบริษัทน้ำตาลมิตรผล จำกัด

        ได้ยกตัวอย่างงานวิจัย ว่ามนุษย์เราเกิดมาจะมีจุดแข็ง 5 เรื่่องและอะไรคือจุดแข็งของตัวเอง เล่นเกมส์ สร้างการเรียนรู้แบบแลกเปลี่ยนกัน

          อ.ได้ตั้งคำถามว่าเวลานึกถึงคนเอเซียที่ดังที่สุด นึกถึงใคร คำตอบ คือ Jack Ma

                    Jack Ma เป็นักปรัชญาให้ตอบมา 3 ประโยคที่คิดว่าเป็นเรื่องจริง

                                1.ธุรกิจขนาดเล็ก ความสำเร็จอยู่ที่ ความฉลาดของคนที่เป็นเถ้าแก่

                                2.ธุรกิจขนาดกลาง ความสำเร็จอยู่ที่ ระบบบริหารจัดการ

                                3.ธุรกิจขนาดใหญ่ ความสำเร็จอยู่ที่ คน

         หัวใจของการบริหารการเปลี่ยนแปลง (Organization Transform)  ขององค์กร มี 2 ตัว คือ

                      1.T -Technology/Technical/Tool 

                      2.A - Acceptance

การขับเคลื่อนขององค์กรภาคเอกชน คุณค่าของคนอยู่ที่ผลของงาน การทำงานในภาคธุรกิจ จะดูว่าได้ผล อย่างไร

แนวคิดแบบเม่น คือ การเอาตัวรอดได้ทุกสถานการณ์ มีเกราะป้องกัน 

         The VUCA Report

               Volatility (V), Uncertainty (U),Complexity (C), Ambiguity (A)

 คนที่สามารถรับรู้ได้เร็วจะรู้ว่าธุรกิจนั้นเผชิญกับอะไรถึงจะอยู่รอด

บริษัท มิตรผล ส่วนต่างส่วนใหญ่มาจากไฟฟ้า และพลังงานมากกว่าการผลิตน้ำตาล  สิ่งนี้เป็นตัวอย่างของการรับมือกับการเปลี่ยนแปลง

ความพร้อมในการรับมือต่อการเปลี่ยนแปลง ต้องเป็น Learning ที่ดี และต้องมี Sense of Urgency 

         สูตรสำเร็จแห่งการเปลี่ยนแปลง

                 การเปลี่ยนแปลงมี 6 ปัจจัยหลัก ดังนี้

                        1.Vision - วิสัยทัศน์ชัดเจน

                        2.Communication - การสื่อสารที่ดี

                        3.Incentive - มีแรงจูงใจ

                        4.Skill - มีความรู้ ความสามารถ ทักษะสูง

                        5.Action Plan - มีแผนงาน

                        6.Tool - มีการสนับสนุนเครื่องมือ

จบการบรรยาย ต่อไปเป็นการนำเสนองาน กลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2

 การนำเสนอบทเรียนจากหนังสื่อดีๆ ด้านการบริหารธุรกิจ และการปรับใช้กับการเคหะแห่งชาติ

     กลุ่มที่ 1 ทำอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ และ Apply ให้กับการเคหะแห่งชาติ

               1.Jack Ma ได้สร้าง แว็บไซด์ Taobao  เพื่อผู้ประกอบการรากหญ้า 

                2.สร้างบริษัทใหญ่ด้วยความเล็ก  Platform บนโลก Online ที่เข้าถึงได้ง่าย 

                3.มีนวัตกรรมทางการเงิน Ali lone ให้โอกาสในการตัดสินใจในการบริโภคและออม  เปลี่ยนชื่อเป็น Ali Finance Group ในระดับจุลภาค

                4.ระบบรักษาความมั่นคง 

         # สอนให้คนตกปลาเป็นมากกว่าให้ปลา #

       การปรับใช้กับการเคหะฯ

                1.Platform ตลาดประชารัฐ

                2.Platform  ผู้ประกอบการอสังหาริมทรัพย์

                3.Platform สังคมด้านองค์ความรู้

      กลุ่มที่ 2 ประสิทธิภาพและระบบนิเวศน์ของ Alibaba

            Jack Ma ทำให้ธุรกิจขนาดเล็กเจริญเติบโต และเข้าสู่ระบบออนไลน์ สร้างระบบ e-commerce ที่ใหญ่และมีประสิทธิภาพมาก

             มี Taobao , Alipay ระบบการซื้อขายบนน Online ที่่ใหญ่ที่สุด ระบบการชำระเงินผ่านต้วแทนบุคคลที่ 3 การรว่มทุนกับเอกชนตั่ง China Smart Logistics ,มีการบริโภคเชิงคุณภาพของคนชั้นกลาง

         สิ่งที่ทำให้ Jack Ma ประสบความสำเร็จ 

               1.ตอบรับการเปลี่ยนแปลง

               2.มีการทำ R & D

               3.ความคิดที่แตกต่าง ส่งเสริมคนรากหญ้า

               4.สร้าง Platform ที่เป็นระบบนิเวศน์ต่างๆ

               5.ให้ความสนใจในวัฒนธรรมขององค์กร

           การปรับใช้กับการเคหะฯ

                1.ปรับปรุงให้คนมีที่อยู้อาศัย

                2.พัฒนาที่อยู่ สร้างชุมชน และเมือง

                3.พัฒนาชุมชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดิีชึ้น โดยปรับปรุงช่องทางการบริการด้านต่างๆ,เพิ่มความคล่องตัวในการทำงาน,สร้างความเชื่อมั่น สร้างผลิตภัฑณฑ์ที่หลากหลาย และนำสร้างนวัตกรรมใหม่ๆขึ้นมา

                 



วันที่ 14 มีนาคม 2561

ช่วงเช้า การพัฒนาที่อยู่อาศัย กับการขับเคลื่อนประเทศไปสู่ Thailand 4.0 กรณีศึกษา โดย

อ.โสภณ พรโชคชัย

แนวโน้มในรอบ 2 เดือนที่ผ่านมา บ้านแฝดกำลังมาแรง (35 ตารางวาขึ้นไป) และควรให้ความสำคัญเกี่ยวกับราคาที่ดิน

บริษัทอสังหาริมทรัพย์ที่เป็นบริษัทมหาชน 10 ลำดับแรก ได้แก่ พฤษา   เรียลเอสเตท,เอพี (ไทยแลนด์),LPN,อนันดา ดีเวลลอปเม้นท์,ออริจิ้น พร็อพเพอร์,ศุภาลัย,เสนา ดีเวลลอปเม้นท์,พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค,แผ่นดินทอง พร็อพเพอรฺ์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์และเอเวอร์แลนด์

Innovation แบบอย่างจากต่างประเทศ ที่มานำที่ดินมาพัฒนา

       1. ที่ต้้ง World Expo เซี้ยงไฮ้ โรงงานเก่ารื้อและสร้างใหม่ เทียบกับคลองเตย

       2.สนามบินไคตัก ที่ฮ่องกง ขณะนี้เป็นเขตที่อยู่อาศัยราคาแพง สำนักงาน หน่วยราชการ พื้นที่บางส่วนเป็นสวนสาธารณะ

       3.ท่าเรื่อเก่าใจกลางกรุงลอนดอน บริเวณ Canary Whraf เอามาทำศูนย์ธุรกิจ

       4.KL Sentral ของกัวลาลัมเปอร์ พัฒนาเป็นศูนย์คมนาคมรวมทั้ง โรงแรม ศูนย์การค้า

นวัตกรรมการปรับปรุงชุมชนแออัด

       พรบ.การเคหะแห่งชาติ พ.ศ.2537

               มาตรา 6 ให้จัดตั้งกาเคหะขึ้น เรียกว่า " การเคหะแห่งชาติ " เรียกโดยย่อว่า " กคช." และให้เป็นนิติบุคคล

มีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้

              1. จัดให้มีเคหะเพื่อให้ประชาชนได้มีที่อยู่อาศัย

              2.ให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ประชาชนผู้ประสงค์จะมีเคหะของตนเองหรือแก่บุคคลผู้ประสงค์จะร่วมดำเนินกิจการกับ กคช.ในการจัดให้มีเคหะขึ้นเพื่อให้ประชาชนเช่า เช่าซื้อ หรือซื้อ

              3.ประกอบธุรกิจเกี่ยวกับกับการก่อสร้างอาคารหรือจัดหาที่ดิน

              4.ปรับปรุง รื้อ หรือย่ายแหล่งเสื่อมโทรม เพื่อให้มีสภาพการอยู่อาศัย สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคมดีขั้น

              5.ประกอบกิจการอื่นที่สนับสนุนหรือเกี่ยวเนื่องกับวัตถุประสงค์ดังกล่าวข้างต้น

อ.สิทธิชัย เนี๋ยมเจริญ

         ประเทศไทยกำลังก้าวสู่ Thailand 4.0  ปรับต้วเองไปด้านนวัตกรรม 

              SCG จึงเน้น Platform 4 อย่างคือ

                    - Construction Platform

                    - Elder Care Solution Platform

                    - Eco Solution Platform

                    - Smart Solution Platform

         นวัตกรรม คือ อะไร (What is innovation?)

                Invention ต่างกับ Invention อย่างไร Invention คือ การประดิษฐ์ สิ่งไหนที่เกิด  Invention หมายถึง เกิดขึ้นครั้งแรกของโลก แต่  Invention ทั้ง 100% ไม่เป็นนวัตกรรม เช่น ไมคโคชิพ เป็นเรื่องของ  Invention แต่ โทรศัพท์ เป็นเรื่องของ  Innovation

                Innovation  จะไม่เกิดประโยชน์ ถ้าไม่สร้าง Value สู่ Customer

                       1. New to us  ใหม่สำหรับเรา

                       2. New to Market ในตลาดยังไม่มีใครขาย

                       3. New to the world ในโลกยังไม่มีใครทำ

                How to Build an Innovative Organization ?

                       - Vision

                       - Innovation Culture

                       - Innovation Process

                       - Customer Centric

                Where a potential idea come from? มี 4 ทาง

                        1.Technology Scanning

                        2. Competitor Landscape

                        3. Mega Trend

                        4. Customer Insight

                สิ่งที่ SCG มอง SOA

                         1.Construction Platform ลด skill labor ลง

                         2.ECO Solution Platform มีเรื่องของพลังงาน

                         3.Elder Care Solution Platform การเน้น Universal Design

                         4.Smart Solution Platform

  

14 มีนาคม 2561

ช่วงบ่าย อ.ณฐัวุฒิ พงศ์สิริ

เรื่อง กรณีศึกษาของธนาคารแห่งประเทศไทย

The world is changing 

       -Fewer boundaries โลกมีการเปลี่ยนแปลงเร็วมาก เราจะสามารถแข่งขันอย่างไร

       -Free flow information การสร้างผลิตภัณฑ์ตรงใจผู้บริโภค

       -Rapid tech advancements,enablers and distractors  เทคโนโลยี่มีทั้งด้านบวกและด้านลบ

       -Smarter mobiles

       -Virtual Reality is reality

       -More Connected

Technology is everywhere & ....

       -Social,Mobile,Analytics & Cloud

       -Artificial Intelligence,Cognitive & Robotics

       -Big Data and Automation

 VUCA

       -Volatility (V) ผันผวน

       -Uncertainty (U) ไม่แน่นอน

       -Complexity (C) ซับซ้อน

       -Ambiguity (A) ไม่ชัดเจน

องค์กรและการเปลี่ยนแปลง จะมีองค์กรอยู่ 4 ประเภท

      1.องค์กรที่สร้างการเปลี่ยแปลงให้เกิดขึ้นจริง จะอยู่รอดในอนาคต

      2.องค์กรที่อยากให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรู้ว่าทำอย่างไรแต่ไม่ลงมือทำ

      3.องค์กรที่เฝ้าดูการเปลี่ยนแปลงและรอจนกว่าจะกระทบตัวเอง

      4.องค์กรที่ไม่รู้ว่ามีอะไรเกิดขึ้น ไม่มีการเปลี่ยนแปลง 

  ไม่มีองค์กรไหนที่ไม่สามารถอยู่ได้โดยไม่ปรับเทคโนโลยี เพราะเรามีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร  HR ไม่ได้มองการปรับคนเป็นเรื่อที่สำคัญ เราจะใช้ศักยภาพเต็มที่ได้อย่างไร และขับเคลื่อนได้อย่างไร

   Key Question in Strategic Management

       1.where are we now? - strategic Analysis โดยทำ SWOT,Five forces,7S  เป็นต้น

       2.where do we want to go?  วิสัยทัศน์ที่ท้าทาย

       3.How will we go there? กลยุทธ์ที่จะไปจะทำอย่างไร

กรณีตัวอย่างของธนาคารแห่งประเทศไทย

       -แผนยุทธศาสตร์ 3 ปี ธนาคารแห่งประเทศไทย พ.ศ.2560-2562

             กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เน้นด้านเสถียรภาพ ด้านการพัฒนา และด้านความเข้มแข็งภายในองค์กร

        -ปัจจัยสู่ความสำเร็จ มีดังนี้

             1.เปิดรับฟังความเห็น และการรวบรวมข้อมูลจากภานนอกองค์กร

             2.การมีส่วนร่วมของผู้บริหารและพนักงานในระดับต่างๆ

             3.คำถามยุทธศาสตร์ 4 ข้อ

                    3.1 ทำไมต้องเปลี่ยนแปลง (ปัจจัยภายใน/ภายนอก เป็นอย่างไร)

                    3.2 ทิศทางการเปลี่ยนแปลงอย่างไร (สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยี คน สถานที่ทำงาน)

                    3.3 ทำอย่างไรถึงจะสำเร็จ วัดได้อย่างไร (ติดตาม ดูแล สนับสนุน เสริมสร้าง)

                    3.4 ดำเนินการอย่างไตให้บรรลุผล

# การปรับโครงสร้างองค์กรต่างๆ ต้องมีการปรับการเอาระบบ Automation มาใช้ เช่น การบริหารของ HR

  ต้องปรับตัวจาก Function เป็น Service #

# 4 System types in each home ได้แก่ Electricity,Climate,Security,Multi-Media #

                   ต่อด้วย การแนะนำการเสนอโครงการ อ.จ้า โดยหลักมี 4 หัวข้อ ดังนี้

                              1.การนำเสนอโครงการ

                              2.ความสำคัญของโครงการ

                              3.ลักษณะของโครงการที่ดี

                              4.วิธีเขียนโครงการ

          

15 มีนาคม 2561

 วิเคราะห์ประเด็นท้าทายของการเคหะแห่งชาติ 

 (ด้านการตลาด/การเงิน/วัฒนธรรมองค์กร/การบริการ)

โดย ศาสตราภิชานไกรฤทธิ์ บุณยเกียรติ และ อ.ทรงวุฒิ ชนะภัย

 ดำเนินการโดย อ.จีระ หงส์ลดารมภ์

 อ.จีระ เราจะจัดการการท้าทายอย่างไร เราจะเปลี่ยนเป็น Opportunity ได้อย่าง โดยเราต้องเปลี่ยนแปลงการทำงาน

 อ.ไกรฤทธิ์ อยากให้คิดแบบคนนอกมองมาที่การเคหะฯ การที่องค์กรที่ดีต้องมี 2 แรง BOD กับ CEO เพื่อสร้างความสมดุล และทำอย่างไรให้บอร์ดกับผู้ว่าไปในทิศทางเดียวกัน 

 ก.การทำ SWOT (เพื่อวางแผนยุทธศาสตร์)

     SW = พลังภายใน เป็นพลังความแข็ง(Strength) และอ่อนข้างใน (Weakness)

     OT = พลังภายนอก คือ โอกาส (Opportunities)  และการคุกคาม (Threats) 

และ PEST คือ พลังจากสิ่งแวดล้อมสากลภายนอก +E

      P = Politic (อำนาจรัฐ)

      E = Economic (เศรษฐกิจ)

      S = Social (สังคมภายนอก)

      T = Technology (เทคโนโลยี)

      E = สิ่งแวดล้อม

ข.Mega Trends 

      แนวโน้มระดับโลกมีหลายอย่างที่เกี่ยวกับ กคช.

               1.Aging Society สังคมผู้สูงอายุ

               2.Urbanization สังคมเมือง

               3.Disruptive Technology เทคโนโลยีที่สร้างตลาดและมูลค่า

การเคหะฯต้องเปลี่ยน Corporate Culture --->Learning Organization 

เป็นการทำ PDCA ทำ KM เปลี่ยนความรู้จาก Tacit Knowledge --->Explicit Knowledge 

อ.ทรงวุฒิ ชนะภัย

 ความท้าทายเชิงธุรกิจและกลยุทธ์การแข่งขัน

     1.ความท้าทายเชิงธุรกิจ

        1.1 การเป็นศุนย์กลางของเมืองต้องมีระบบขนส่งทีใหญ่

        1.2 ทำให้เป็น Smart Mobility

        1.3 ค่านิยมผู้บริโภคมีความหลากหลายขึ้น

        1.4 การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างด้านอุตสาหกรรมจากความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี

        1.5 ปัญหาทางสังคมที่มีความรุนแรงมากขึ้น (สิ่งแวดล้อม,พลังงาน,คน)

     2.กลยุทธ์การแข่งขัน

         ต้องสร้างความเหมือนในอาเซียนให้ได้ มีการทำความร่วมมือ Networking ทั้งระบบ เพื่อการแข่งขันในธุรกิจได้ มีการเก็บข้อมูล นำมาวิเคราะห์ และปรับใช้กับงานที่ทำอยู่

อ.ได้ให้ข้อคิดไว้ในฐานะที่เป็นผู้บริหารจะมีแนวทางการปรับตัวอย่างไรให้ก้าวทันการเปลี่ยนแปลง และจะต่อยอดความสำเร็จขององค์กรในอนาคตได้อย่างไร

(Transform --->Quantity --->Quality (มี High Standard หรือ World Standard)

 การเจออุปสรรคมี 3 กลุ่ม คือ

     1.เดินไปให้ได้ เอาชนะให้ได้

     2.เดินเพียง 50%

     3.ไม่ยอมเดิน

จะต้องมีวิธีการบริหารความยากลำบากอย่างไร มีวิธีการความรู้ทางเทคนิค การบริหารคนใต้บังคับบัญชาหรือหัวหน้าอย่างไรได้บ้าง

สรุป 3 ข้อแนะนำผู้นำรุ่นใหม่ของการเคหะแห่งชาติ

       1.คิดแบบ Demand side เนื่องจาก การเคหะฯมีคู่แข่งมาก ต้องมอง demand ให้มากขึ้น

       2.อย่ากังวลกับลูกค้าเก่า เพราะลูกค้าเก่าสามารถเป็นลูกค้าในอนาคตได้ 

       3.พัฒนาวัฒนธรรมองค์กร เช่น

               - Hero เปลี่ยนไปอย่างไร กคช. Idol คือใคร คนรุ่นเก่า/ใหม่ให้ความนับถือคนแบบไหน

               - พิธีกรรมที่สำคัญกับการเคหะฯ กิจกรรมที่ไม่ใช่ Routine มีการเปลี่ยนแปลงมากหรือไม่

               - แนวทางคนรุ่นเก่า และใหม่เป็นอย่างไร

               - การสื่อสาร

               - การริเริ่มต่างๆ ผู้นำที่สำคัญ

ภาคบ่าย Workshop

วิเคราะห์ประเด็นท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ และเสนอแนะวิธืการจัดการ ดังนี้

(1) ด้านภารกิจของการเคหะแห่งชาติและด้านทรัพยากรบุคคล (กลุ่ม 2)

      1.1 การปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยแปลงนโยบายรัฐบาล (ประเทศไทย 4.0) และภาคีเครือข่าย

      1.2 บทบาทของ กคช. กับการกับการพัฒนาชุมชนให้มีความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน

      1.3 เพื่อจัดการประเด็นท้าทายในเรื่องนี้ กคช. ควรมียุทธศาสตร์ด้านทรัพยากรบุคคลอย่างไร

    สรุป การพัฒนาคนในการเคหะฯ ต้องทำ 3 สิ่ง คือ ปลูก ให้คนมีคุณสมบัติด้านต่างๆ เก็บเกี่ยว คือ กระตุ้นให้คนอยากทำงาน และ Execution คือ เอาชนะอุปสรรค โดยมีกระบวนการ (process) คิดเป็น วิเคราะห์เป็น รวมเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ การทำงานในยุคใหม่ไม่เน้นวัตถุ แด่เน้นการทำงานอย่างมีความสุข เน้นการยอมรับ สิ่งที่เป็นมูลค่า คือ Value creation และ Value Diversity

            การทำงานกลุ่มเล็กรู้ทุกอย่างคือจะมี ประสบการณ์ ในลักษณะ Cross Function และคนเราที Diversity หลายอย่าง ต้องดึง Tacit Knowledge มาให้ได้

(2) ด้านลูกค้าและด้านทรัพยากรมุนษย์ (กลุ่ม 4)

      2.1 การเพิ่มขีดความสามารถในด้านการตลาด

      2.2 ความสามารถในการมอบคุณค่าและสร้างภาพลักษณ์ขององค์กร ให้ลูกค้าภาคภุมิใจที่อยู่อาศัยในบ้านของการเคหะแห่งชาติ

      2.3 การเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยของผุ้มีรายได้น้อย

      2.4 เพื่อจัดการประเด็นท้าทายในเรื่องนี้ กคช. ควรมียุทธศาสตร์ด้านทรัพยากรบุคคลอย่างไร

   สรุป การสร้างชุมชนในการเคหะฯ ต้องเป็นการสร้าง Sustainable Development Community และต้องมี Public Private Partnership ชุมชนต้องมีส่วนร่วม 

    สิ่งที่ได้จากโครงการ 

           1. Cross Functional

           2. Multi Function

           3. Team Learning และ Team Action 

  การเคหะฯต้องมองที่ Boundary ใหม่ ที่มีการทำงานเชิงรุก และการไปทำงานต่างประเทศ การมีอุปสรรค เราต้องข้ามไปให้ได้ เพื่อมองอนาคตด้วย เพราะการเปลี่ยนแปลงในอนาคต คือ เร็ว รุนแรง และไม่แน่นอน

  (3) ด้านการเงินและด้านทรัพยากรบุคคล (กลุ่ม 1)

           3.1 การควบคุมต้นทุนการก่อสร้าง การบริหารจัดการโครงการ และการส่งมอบให้เป็นไปตามเป้าหมาย 

           3.2 การจัดการหนี้ค้างชำระ

           3.3 การจัดการทรัพย์สินให้มีมูลค่าเพิ่ม

           3.4 เพื่อจัดการประเด็นท้าทายในเรื่องนี้ กคช. ควรมียุทธศาสตร์ด้านทรัพยากรบุคคลอย่างไร

      สรุป ลดต้นทุนการก่อสร้างให้แล้วเสร็จตามแผน เพื่อลดดอกเบี้ย หาแหล่งเงินกู้ดอกเบี้ยถูก นำนวัตกรรมใหม่มาใช้ มีการควบคุณภาพ บริหารจัดเก็นหนี้ให้มีทางเลือกหลายด้าน เช่น จ่ายเป็นรายสัปดาห์ แทนการ จ่ายรายเดือน ยื่ดหยุ่นในการชำระ การใช้ QR Code ในการชำระเงิน ส่วนสินค้าคงเหลือต้องมีการบริหารให้เกิดมูลค่าเพิ่มให้ได้ ส่วนด้านบุคลากร ให้มีการอบรม สร้างทีมในการทำงาน มีการ Coaching สร้าง Big data

   (4) ด้านการปฏิบัติงานและด้านทรัพยากรบุคคล (กลุ่ม 3)

              4.1 วิเคราะห์จุดอ่อน/ช่องว่าง (Gap) หรือสิ่งที่ กคช. ควรพัฒนาในด้านการปฏิบัติการ เสนอ 3 เรื่อง

              4.2 การร่วมมือขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการรับภารกิจการดูแลชุมชน และการพัฒนาชุมชนของผู้อยู่อาศัย

              4.3 เพื่อจัดการประเด็นท้าทายในเรื่องนี้ กคช. ควรมียุทธศาสตร์ด้านทรัพยากรบุคคลอย่างไร

       สรุป มี 3 เรื่อง ดังนีื้ 1.การบริหารสินเชื่อ จุดอ่อน กลุ่มรายได้น้อยไม่ได้รับการพิจารณาสินเชื่อ แก้ไข กคช.ตั้งกองทุนสินเชื่อ สถาบันการเงิน (ไม่ใช่ภารกิจ) 2.การสนับสนุนการจัดประโยชน์เพื่อยกระดับรายได้ จุดอ่อน ด้วยระเบียบข้อบังคับ ขั้นตอนการอนุมัติค่อนข้างมาก แก้ไข ปรับปรุงกระบวนการใช้ KM 3.การพัฒนาชุมชน จุดอ่อน เจ้าหน้าที่น้อย แก้ไข ควรบูรณาการจากหลายๆหน่วยงานในการเข้าไปดูแล

        ผุ้บริหารต้องมีใจกว้าง รับฟังความคิดเห็นของระดับล่าง และระดับล่างต้องเข้าใจในนโยบายด้วย การปรับเปลี่ยนมุมมองด้วยการเรียนรู้  เช่น การทลาย silo, Cross Function (การทลาย silo ทำงานเป็น section ควรมีการ Shared Vision จะได้รู้ร่วมกัน)

16 มีนาคม 2561

บทเรียนเพื่อการพัฒนาการเคหะแห่งชาติ

อ.พยัต วุฒิรงค์

แนวโน้มโลกในปัจจุบันและอนาคต

      ปัจจุบัน ประเทศจีน กำลังก้าวขึ้นมาเป็นที่หนึ่ง แทนสหรัฐอเมริกา ส่วนในโลกตะวันออกนอกจากจีนแล้วจะมีที่เรียกว่า Chindia (China+India)  และในอนาคตจะมีการรวมพลังกัน ระหว่าง จีน อินเดีย ญี่ปุ่น เกาหลี และอาเซียน

     การเคหะฯ อยู่ตรงไหนของโลกอสังหาริมทรัพย์ โดยแสนสิริมีอสังหาริมทรัพย์ที่มีราคาแพงที่สุด พฤษามีอสังหาริมทรัพย์ทีีมีราคาถูกที่สุด การเคหะฯใช้เวลาในการสร้างบ้านประมาณ 1 ปีครึ่ง ส่วน พฤษา สร้างใช้เวลา 15 วันเสร็จ พฤษามีตลาดใกล้เคียงกับการเคหะฯมาก ดูช่องว่างของตลาด ความต้องการอะไร (คนจนไม่มีกำลังซื้อมาก) ซึ่งพฤษาได้สร้างบ้านราคาหลักแสน ได้รับการตอบรับที่ดี โดยสร้างในพื้นที่รอบนอก ต้นทุนต่ำ และนำระบบ Precast เข้ามาช่วยในการสร้างบ้าน เพื่อลดต้นทุน

      พฤษาต้องการลดระยะเวลาในการสร้างบ้าน คุณทองมา วิจิตรพงศ์พันธุ์ (เจ้าของ พฤษา) ได้สั่งให้ลูกน้องสร้างบ้านให้เสร็จภายใน 1 ปี ปัจจุบันพฤษาแบ่งเป็นกลุ่ม และแต่งตั้ง CEO แต่ละกลุ่มลงทุนในกลุ่มต่างๆ เช่น โรงพยาบาล อสังหาริมทรัพย์ ทาวน์เฮาส์ คอนโด บ้านเดี่ยว และมี CEO กลุ่ม พรีเมี่ยม

       การเคหะฯ ต้องหาช่องว่าง คือ กลุ่มที่ต้องการบ้านพรีเมี่ยม (ประมาณ 5%) เพื่อสร้างาภาพลัากษณ์องค์กร มีหลายรูปแบบ

       พฤษาเน้นจุดสมดุลที่สุด เน้นตลาดกลาง แต่มีกลุ่มพรีเมี่ยมและรีเซล ซึ่งแรกๆ คุณทองมาไม่เห็นด้วย แต่มีจีนเข้ามาในซื่ออสังหาริมทรัพย์ในไทยมากขึ้น เพื่อพักในไทยและเก็งกำไร จึงยอมให้ทำถือเป็นนวัตกรรม มีผลกำไรที่ดี อีกส่วนหนึ่งที่ได้รับรางวัลชนะเลิศ ทีมเอเย่นต์ มองว่าข้อเสีย คือ บ้านพฤษาอยู่พื้นที่รอบนอก ค่อนข้างไกล คนอยู่อาศัยไม่มีแหล่งอาหาร การคมนาคมไม่สะดวก ทีมนี้จึงติดต่อร้านสะดวกซื้อมาตั้งในโครงการ โดยกำหนด 7-11ต้องมาต้้งร้านในโครงการที่มีตั้งแต่ 30 ยูนิตขึ้นไป จะมีอาคารเพื่อการพาณิชย์ให้ โดย 7-11 จะจ่ายผลตอบแทน 10% ต่อปี และค่าเช่าให้ พฤษา และ พฤษาจะโปรโมทว่าทุกโครงการจะมี 7-11      

         การสร้างนวัตกรรม ต้องทราบปัญหาที่มีในตลาด และความต้องการคืออะไ การเคหะฯ ต้องทราบความต้องการของลูกค้า แล้วจะทำนวัตกรรมได้ แต่คนในองค์กรไม่ได้อยากทำ ไม่มีความเข้าใจนวัตกรรม แต่นวัตกรรมคือสิ่งใหม่ ทำให้เกิดขึ้นจริงได้ มีประโยชน์ต่อเศรษฐกิข สังคม และชุมน 

         การหมุนเงินของพฤษา โดยสร้างให้เสร้๗ภายใน 6 เดือน แล้วขอสินเชื่อจากบริษัทวัสดุก่อสร้าง 3-6 เดือน ถ้าสร้างบ้านเสร็จภายใน 1 เดือน แล้วธนาคารโอนเงินให้พฤษา ก็จะได้เงินก้อนมาแล้ว แต่ยังไม่ได้จ่ายเงินให้กับบริษัทวัสดุก่อสร้าง เนื่องจากได้ Deal มา 6 เดือน หมายความว่า พฤษาสามารถมีเงินหมุน 3 เดือนต่อโครงการ แล้วนำเงินนี้ไปสร้างโครงการต่อไปได้ เป็นวิธีการหมุนเงินของผู้บริหาร

อ.จีรวัฒน์ เยาวนิช

          เครื่่องมือในการสร้างนวัตกรรม

               1.Design Thinking Process

               2.10 Type of Innovation 

  1.Design Thinking Process

           เป็นขบวนการ Human-Centered Design มีที่มาคือ นวัตกรรม มาจาก R&D--->ออกแบบ แต่การออกแบบอาจไม่ถูกใจลูกค้า เพราะไม่ได้ออกแบบมาเพื่อลูกค้าตั้งแต่แรก จึงกลับขบวนการในการคิดใหม่ โดยนำนักออกแบบมาตั้งแต่จุดเริ่มต้นนวัตกรรมเพื่อให้เข้าถึงลูกค้าได้มากยิ่งขึ้น

            ขั้นตอน

               1.เข้าใจกลุ่มลูกค้า โดย เข้าหา สังเกตลูกค้า การคลุกคลี 

               2.Define อะไรคือปัญหาของลูกค้า และประโยชน์ที่ต้องการ 

               3.ระดมความคิด 

               4.สร้างต้นแบบ

               5.ทดสอบ

  2.10 Type of Innovation แบ่งเป็น 3 หมวด

                1.Configuration ---> เกิดในองค์กร

                2.Offering ---> เกิดในองค์กรแต่สร้างให้ลูกค้า

                3.Experience ---> สร้างให้ลูกค้าโดยตรง

  ทุกจุดสามารถสร้างนวัตกรรมได้

    1.Configuration ---> เกิดในองค์กร

                1. Profit Model เพิ่มรายได้ ลดต้นทุน ทำให้เกิดกำไร

                2.Network จับมือกันพันธมิตรสร้างจุดแข็งใหม่ขึ้นมา แล้วได้ประโยชน์ 2 ฝ่าย

                3.Structure ทำให้องค์กรคงที่ และคล่องตัวมากขึ้น เพื่อส่งเสริมนวัตกรรม

                4.Process ใช้เทีโนโลยีใหม่มาเพิ่มประสิทธิภาพ

     2.Offering ---> เกิดในองค์กรแต่สร้างให้ลูกค้า

                1.Product Performance สินค้าดีขึ้นเรื่อยๆ

                2.Product system

     3.Experience ---> สร้างให้ลูกค้าโดยตรง

                1.Service มีคุณค่าเพิ่มขึ้น กระบวนการทำให้ชีวิตง่ายขึ้น

                2.Chanel 

                3.Brand สร้างภาพลักษณ์

                4.Customer Engagement สร้างปฏิสัมพันธ์กับลูกค้าให้อยู่กับองค์กรนานๆ

      

  

วันที่ 7 มีนาคม 2561

ช่วงเช้า  โดย อ.สมชาย ไตรรัตนภิรมย์

เรื่อง การบริหารควาเสี่ยงและวัฒนธรรมความเสี่ยง

ความเสี่ยง หมายถึง เหตุการณ์ที่มีความไม่แน่นอน ซึ่งหากเกิดขึ้นจะมีผลกระทบในเชิงลบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายขององค์กร 

การบริหารความเสี่ยง หมายถึง การกำหนดนโยบาย โครงสร้าง และกระบวนการ เพื่อให้คณะกรรมการ ผู้บริหาร และบุคลากรของบริษัท นำไปปฏิบัติในการกำหนดกลยุทธ์และปฏิบัติงานทั่วท้้งองค์กร

การบริหารความเสี่ยงองค์กร ERM (Enterprise-wide Risk Management) หมายถึง การบริหารความเสี่ยงโดยประสานโครงาสร้างองค์กร กระบวนการ/กิจกรรมตามภารกิจและวัฒนธรรมองค์กร เข้าด้วยกัน โดยมีลักษณะที่สำคัญ ได้แก่ การผสมผสานและเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร การพิจารณาความเสี่ยงทั้งหมด ครอบคลุมความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร 

COSO ออกเอกสาร Internal Control-Integrated Framework เพื่อให้องค์กรธุรกิจและหน่วยงานอื่นใช้ในการประเมินปละปรับปรุงระบบการควบคุมภายใน และมีการผสมผสานแนวคิดการจัดการความเสี่ยงเข้าไป จนพัฒนาขึ้นเป็นแนวคิด 

Enterprise Risk Management ซึ่งมี 8 ขั้นตอน

     1.สภาพแวดล้อมภายในองค์กร

     2.การกำหนดเป้าหมาย

     3.การระบุเหตุการณ์

     4.การประเมินความเสี่ยง

     5.การตอบสนองความเสี่ยง

     6.กิจกรรมควบคุม

     7.ระบบสารสนเทศและการติดต่อสื่อสาร

     8.การติดตามและประเมินผล

 ขั้นตอนบริหารความเสี่ยง

     1.วิเคราะห์สภาพแวดล้อม

     2.กำหนดวัตถุประสงค์บริหารความเสี่ยง

      3.ระบุความเสี่ยง ตัวตั้งความเสี่ยงมาจากยุทธศาสตร์

      4.ประเมินความเสี่ยง ใช้หลักโอกาสและผลกระทบ ให้คะแนนไป มีระบบข้อมูลสื่อสาร มีการติดตามประเมินผล

เป้าหมายบริหารความเสี่ยง smart (ต้องมีการกำหนดวิธีการ และตัวชี้วัดเชิงปริมาณและกำหนดระยะเวลา)

       1.Specific ( เฉพาะเจาะจง ) มีความชัดเจนและกำหนดผลตอบแทนหรือผลลัพธ์ที่ต้องการที่ทุกคนสามารถเข้าใจได้อย่างชัดเจน

       2.Measurable (สามารถวัดได้) สามารถวัดผลการบรรลุวัตถุประสงค์ได้

       3.Achievable (สามารถบรรลุผลได้) มีความเป็นไปได้ที่จะบรรลุวัตถุประสงค์ภายใต้เงื่อนไขการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในปัจจุบัน

       4.Relevant (มีความเกี่ยวข้อง) มีความสอดคล้องกับกลยุทธ์และเป้าหมายในการดำเนินงานขององค์กร

       5.Timeliness (มีกำหนดเวลา) สามารถกำหนดระยะเวลาที่ต้องการบรรลุผล

การระบุปัจจัยเสี่ยง

ระบุปัจจัยที่มีผลกระทบในเชิงลบต่อเป้าหมายขององค์กรหรือการปฏิบัติงานทั้งในระดับองค์กรและกิจกรรม

  - ปัจจัยความเสี่ยงทั้งจากภายในและภายนอก

  - เหตุการณ์ร้ายต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น

  - การเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกิดขึ้นทั้งจากภายในและภายนอก

 ประเภทความเสี่ยง

  - ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk)

  - ความเสี่ยงด้านปฏิบัติงาน (Operational Risk)

  - ความเสี่ยงด้านการเงิน (Financial Risk)

  - ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฏระเบียบ (Compliance/Hazard  Risk)

องค์กรไม่มี succession plan ทำให้มีความเสี่ยง

กลยุทธ์บริหารความเสี่ยง

      1.Accept

       2.Reduce

       3.Avoid

       4.Share

โอกาสหรือผลกระทบมีการนำ Project Management มาใช้จะลดความเสี่ยงในโครงการ การทำสัญญาต้องมีความรอบครอบ 

7 ประเด็นที่ต้องทำ ERM

       1.ทำเป็นกระบวนการ

       2.ร่วมกันทำ 

       3.กำหนดกลยุทธ์ก่อน

       4.เป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมและทั่วทั้งองค์กร

       5.จัดการความเสี่ยงอยู่ระดับที่เหมาะสม

       6.เพิ่มโอกาสบรรลุเป้า และลดการพลาด

       7.สร้างมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์

การบริหารความเสี่ยงเป็นส่วนหนึ่งของการทำงาน ส่วน Risk owner มีหน้าที่บริหารความเสี่ยง

อ.สุรพงษ์ มาลี

  การที่คนเข้าใจผิด 3 เรื่่องเกี่ยวกับความเสี่ยง

        1.เข้าใจว่าความเสี่ยงไม่ดีเสมอไป มุมมองความเสี่ยงมีทั้งด้านบวก และด้านลบ

        2.ไม่มี risk free world เป้าหมายไม่ใช่ทำให้หมด เพียงแต่ควบคุมให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้

        3.Play safe ขัดกับหลักการบริหารยุคใหม่ บางองค์กรชอบแสวงหาโอาสใหม่

  ในบริบทไทย จะใช้ความคิดสร้างสรรค์มาจาก risk culture วัฒนธรรมความเสี่ยงอยู่กับบริบทองค์กรกำหนดพฤติกรรม   คนในองค์กร

   Risk identification ในองค์กรมี 2 กลุ่ม strategic risk และ Operational risk

  Risk response (5T)

          1.Tolerate อยู่ร่วมกับบางความเสี่ยงได้ 

          2.Treat บริหารจัดการเพื่อควบคุมให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้

          3.Transfer มีพันธมิตร ประกัน

          4.Terminate เลิกบางงาน หรือบางหน่วย 

          5.Take opportunity ความเสี่ยงอาจนำมาซึ่งโอกาส 

    Internal Control เหมือน 5Ts

          1.Pre-event control

          2.Post-event control

          3.Emerging Opportunity

     Risk evaluation and review ติดตามตรวจสอบว่าได้ทำกิจกรรมอะไรบ้าง

นางปานจิตร์ เหลืองเรือง

img_1471489809.jpg

สิ่งที่ได้เรียนรู้สู่การปรับใช้และแผนการพัฒนาส่วนบุคคล

 

 

 

 

 

โดย

นางปานจิตร์  เหลืองเรือง

 

 


วันที่
 14 กุมภาพันธ์ 2561

Learning Forum & Workshop ภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ (1) และ (2) (Visionary Leadership)

โดย ศ.ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์ และอาจารย์พิชญ์ภูรี จันทรกมล

 

          การเรียนยุคใหม่คือสร้างแรงบันดาลใจ และเอาความรู้ที่มีอยู่คือ 2 R’s

          R ตัวที่ 1 คือ Reality คือความจริงที่พาองค์กรไปสู่จุดที่สูงขึ้น

          R ตัวที่ 2 คือ Relevance คือ องค์กรยุคต่อไปต้องมีความเสี่ยงมากขึ้นเนื่องจากสถานการณ์ต่างๆ เปลี่ยนไป

          การปรับปรุงวิธีการทำงาน อย่างน้อยในแต่ละวันที่ผ่านมาต้องถามตัวเองว่าได้อะไร สิ่งที่ได้ไม่ใช่แค่ Knowledge เท่านั้น แต่ได้ Process คือกระบวนการในการแสวงหาความรู้ร่วมกัน แล้วเอาความรู้เหล่านั้นมาค้นหาตัวเอง กระบวนการจะมา Unlock

          การเรียนยุคใหม่ให้เบ็ดตกปลา ไม่ได้ให้ปลากิน ศักยภาพของคนอยู่ที่การมีพลังขึ้นมา            ต้องปลดปล่อยพลังที่ซ่อนไว้อยู่ข้างใน

          เรียนอย่างไรให้ได้ประโยชน์ Learning How to learn นำไปสู่อะไร อยากให้ทุกองค์กรเป็น Learning Organization เป็นการเติมความรู้ลงไปและกระตุ้นจากภายใน

          การโค้ช คือเหมือนหมอที่วิเคราะห์ ต้องวิเคราะห์ออกมาเพื่อให้เกิดวิสัยทัศน์ที่จะมองไปข้างหน้า ผู้นำต้องทำนายอนาคตได้ ผู้นำไม่จำเป็นต้องมีตำแหน่ง ผู้นำต้องนำพาทีมไปสู่เป้าหมายให้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และต้องพัฒนาอย่างยั่งยืน และผู้นำจะต้องใฝ่รู้ สิ่งที่เรียนรู้ได้ ผู้นำเป็นส่วนหนึ่งของ Human Capital เมื่อมีปัญหา  มี Crisis จัดการ ต้องรวมตัวกันเอาชนะสิ่งเหล่านี้ ผู้นำต้องแก้ และต้องมี 3 V คือ Value Added, Value Creation และ Value Diversity เราต้องสร้างความหลากหลายให้ได้

          การนำในองค์กรสำคัญมาก มีทั้งผู้นำปกติ และวิกฤติ เราต้องเรียนรู้ในการวางแผนว่าในอนาคตจะมี Crisis หรือโอกาสอะไรเกิดขึ้น  การมองเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ต้องมองทั้ง 4 กลุ่ม คือ 1. ภาครัฐ 2. ประชาชน 3.เอกชน และ 4. วิชาการ เช่นการทำวิจัยเพื่อมาเติมเต็ม อาทิ การจับมือกับมหาวิทยาลัย และของบประมาณ

  

สรุปแก่นในเรื่องภาวะผู้นำ

          1. Energy ไม่ได้มาจากพลังร่างกายเท่านั้น แต่มาจากความคิด จิตวิญญาณ และสังคม

          2. เรื่องพลัง เรียนรู้เป็นทีม Value Diversity ซึ่งย้ำว่าสร้างคุณค่าจากความ

          หลักเรื่องปลูก คือการ Development การพัฒนา เก็บเกี่ยว เช่นการใส่คำถามและให้ตอบคำถาม และ Execution  คือการทำให้สำเร็จ

          แต่ละคนมีประเด็นไม่เหมือนกัน เราสามารถใช้ความสามารถในจุดที่เรามีนำองค์กรให้เกิดประโยชน์ ซึ่งสิ่งนี้คือ Rhythm & Speed สำคัญมาก ผู้นำที่ดีต้องมองภาพใหญ่ Think Macro

          โลกและการเปลี่ยนแปลงสู่ยุคต่าง ๆ ถึงปัจจุบัน

          จากยุคที่ 1 ยุคเกษตรกรรม สู่ยุคอุตสาหกรรม สู่ยุค Information Technology ปัจจุบันเราก้าวสู่ยุคที่ 4 หรือ Fourth Wave ซึ่งในอนาคตต้องเน้น

          - Sustainability    - Wisdom    - Creativity    - Innovation    - Intellectual Capital

 

          ผู้นำกับผู้จัดการ

          ผู้นำ              - เน้นที่คน  - Trust  - ระยะยาว - What,Why - มองอนาคต ขอบฟ้า/ภาพลักษณ์  - Change

          ผู้บริหาร          - เน้นระบบ  - ควบคุม  - ระยะสั้น  - When,How - กำไร/ขาดทุน ทุก 3 เดือน

                              - จัดการให้สำเร็จ มีประสิทธิภาพ   - Static

          ทฤษฎี 3 L’s คือ Learning from Pain , Learning from Experience , Learning from Listening

          ชนิดของผู้นำ    - Trust / Authority Leadership - Charisma Leadership

                              - Situational Leadership        - Authentic Leadership คือผู้นำที่เป็นของแท้

ผู้นำระดับสูงสุดคือผู้นำที่ถ่อมตัวมากที่สุด

          ในต่างประเทศโดยเฉพาะตะวันตกมีหัวข้อวิจัยมากมายเกี่ยวกับผู้นำสำหรับตะวันออกยังมีน้อยอยู่จึงมักจะใช้ Role Model เป็นหลัก อาทิ

                   พระนเรศวร    ด้านความกล้าหาญ

                   รัชกาลที่ 5      ด้านมองการณ์ไกล (Visionary)

                   รัชกาลที่ 9      ด้านการพัฒนาแบบยั่งยืน (เศรษฐกิจพอเพียง)

                    ศ.สัญญา ธรรมศักดิ์     ด้านมีความรู้ดีและกล้าหาญ

                   ศ.ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์   ด้านความรู้ดี และกล้าหาญ

                    ชวน หลีกภัย   ด้านผู้นำและ Trust

                    พารณ     ด้านผู้นำกับคุณธรรม

                   ทักษิณ    ด้านเร็ว และความคิดใหม่

                    บัณฑูร ล่ำซำ   ด้าน Transformation กับ Leadership

          8 Rules of Leadership (Nelson Mandela)

                   1. กล้าหาญ

                   2. ต้องรุกได้ แต่ต้องตั้งรับและไม่ประมาท

                   3. การนำอยู่ข้างหลังจะต้องแน่ใจว่า คนที่เรายกย่องให้มีบทบาทอยู่ข้างหน้าต้องให้เขามีความรู้สึกว่า เขาได้นำอย่างน่าภูมิใจ และสมศักดิ์ศรี

                   4. ถ้าจะจัดการบริหารศัตรู ต้องรู้จักศัตรูให้ดี

                   5. การจะอยู่อย่างผู้นำควรใกล้ชิดกับเพื่อน แต่กับคู่แข่ง หรือคนที่เราไม่ชอบ ต้องใกล้ชิดมากกว่า

                   6. มีภาพลักษณ์ที่ดี ต้องปรากฏตัวตามที่ต่าง ๆ อย่างมีเกียรติและสง่างามเสมอ

                   7. ไม่เน้นถูกหรือผิดแบบ 100 % หรือขาวหรือดำ 100 % มีการประนีประนอมที่เหมาะสม แต่รักษาหลักการไว้ และหาทางตกลงกันได้แบบ Win-Win

                   8. รู้ว่าจะหวะไหน จะ “พอ”  หรือ จะ “ถอย”

          8 Rules of Leadership (Obama)

          1.  สร้างศรัทธาและความมั่นใจ Trust และ Confidence แก่ผู้ร่วมงานและแนวร่วม

          2.  เป็นผู้นำต้องรู้ว่า จะพาประเทศไปทางไหนโดยสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ (Communicate your Vision Effectively)

          3.  สร้างให้คนส่วนใหญ่ เข้าถึงประวัติ ความสำเร็จ ความสามารถที่สะสมมาในอดีต สร้างชื่อเสียง (Build Strong Reputation)

          4.  สร้าง Networks ในทุกๆ แห่ง โดยเฉพาะในจุดที่ตัวเองอาจจะไม่มีโอกาสได้สัมพันธ์มาก่อน (Make Friends in Unusual Places)

          5.  ทุกคนที่เกี่ยวข้อง จะต้องมีส่วนได้ส่วนเสีย ไม่ใช่มีแค่ High performance ของความสำเร็จของบางกลุ่ม แต่ต้อง All hands คือการให้ทุกๆ คนมีส่วนได้ส่วนเสีย ก็คือการสร้างทีมงานที่ทุกคนทำงานร่วมกัน

          6.  สร้างความหลากหลายให้เป็นมูลค่าเพิ่ม (Diversity to value added)

          7.  ใช้ Technology ให้เป็นประโยชน์ต่อการทำงาน เช่นการสร้าง Social Network ก็ให้คน 2 ล้านคน ช่วยสนับสนุนการเงินในช่วงหาเสียง

          8.  สร้างขวัญกำลังใจให้แก่เพื่อนร่วมงานทุกคน (Motivation and inspiration)

          คุณสมบัติของผู้นำของฮิลลารี คลินตัน

          1.  เรียนรู้ตลอดชีวิต

          2.  อย่าพอใจกับปริญญาเท่านั้น

          3.  อย่าพอใจกับการเรียนในห้อง (Formal Learning)

          4.  สนุกกับการคิดนอกกรอบ

          5.  สนุกกับการคิดข้ามศาสตร์

          6.  ถึงจะเก่งอย่างไร? ก็ต้องรับฟังคนอื่น

          6 of the Dalai Lama's Leadership Principles

                   1.  อย่าสั่งการ ต้องเป็นผู้ส่งเสริม สนับสนุน

                   2. ถ้าต้องการเรียนรู้อะไรบางอย่าง ต้องฟัง และค้นคว้าหาข้อมูล

                   3.  อย่าคิดว่าตัวเราคิดถูกทุกเรื่อง หากมีคนที่คิดไม่เหมือนเราซึ่งคุณคิดว่าไม่ถูกต้อง..ต้องควบคุมอารมณ์ให้ได้

                   4. มีอารมณ์ขัน อย่าโกรธง่าย รู้จักเห็นอกเห็นใจผู้อื่น

                   5. สอนให้คนรู้จักคิดหาคำตอบได้ด้วยตัวเอง อย่าบอกคำตอบหรือหาทางออกให้ทุกเรื่องทุกเรื่อง

                   6. มีความรับผิดชอบ

          คุณสมบัติของผู้นำของท่านผู้ว่าฯ เกษม จาติกวณิช หรือ “Super K”

                   1. ผู้นำต้องมีความรู้

                   2. ผู้นำต้องทำให้ผู้ใต้บังคับบัญชารักและเคารพ

                   3. ผู้นำต้องสร้างจิตวิญญาณในการทำงานเป็นทีม

                   4. ผู้นำต้องรู้จักมอบหมายงาน

                   5. ผู้นำต้องฟังความเห็นผู้ใต้บังคับบัญชาทุกระดับ

                   6. ผู้นำต้องรู้จักให้เกียรติผู้ใต้บังคับบัญชา ไม่โอ้อวดและยกตนข่ม

                   7. ผู้นำต้องมีความเมตตา โอบอ้อมอารีต่อผู้ใต้บังคับบัญชา

          4 E’s Leadership ( Jack Welch )

          1.  Energy มีพลัง

          2.  Energize สามารถกระตุ้นให้คนอื่นมีพลัง

          3.  Edgeเด็ดขาด กล้าตัดสินใจ

          4.  Execution ลงมือทำให้เกิดความสำเร็จ

          4 Roles of Leadership (Stephen Covey)

                   1. Path finding การค้นหาเส้นทางความก้าวหน้า/การพัฒนา

                   2. Aligning    กำหนดทิศทางไปในแนวทางเดียวกัน

                   3. Empowering    การมอบอำนาจ

                   4. Role Model   การเป็นแบบอย่างที่ดี

          ทฤษฎีล่าสุดของ  Jack Welch  Leader / Teacher

          Leadership Roles (Chira Hongladarom’s style) 

                   1.  Crisis management การจัดการภาวะวิกฤต

                   2. Anticipate change คาดการณ์ความเปลี่ยนแปลงได้

                   3. Motivate others to be excellent  การกระตุ้นผู้คนสู่ความยอดเยี่ยม

                   4. Conflict resolution การแก้ไขความขัดแย้ง

                   5. Explore opportunities การสร้างโอกาสแก่ผู้อื่น

                   6. Rhythm & Speed รู้จักใช้จังหวะและความรวดเร็ว

                   7. Edge ( Decisiveness ) กล้าตัดสินใจ

                   8.Teamwork ทำงานเป็นทีม

                   9. Uncertainty Management การบริหารความไม่แน่นอน

          ภาวะผู้นำของ Peter  Drucker

                   1. Ask what needs to be done   ถามตัวเองว่าเราต้องทำอะไรให้สำเร็จ

                   2. Ask what’s right for enterprise  ถามว่าอะไรคือสิ่งที่ถูกต้องที่ต้องลงมือทำ

                   3. Develop  action  plans  พัฒนาแผนปฏิบัติการ

                   4. Take  responsibility for decision   รับผิดชอบต่อการตัดสินใจ

                   5. Take  responsibility for  communicating   รับผิดชอบต่อการสื่อสาร

                   6. Focus on opportunities  not problems  มุ่งที่โอกาสไม่ใช่ปัญหา

                   7. Run  productive  meetings จัดให้มีการประชุมที่สร้างให้เกิดผลผลิต

                   8. Think  and say  We not  I  คิดและพูดด้วยคำว่า “เรา” ไม่ใช่ “ฉัน”

          กรณีศึกษาผู้นำจีน 5 รุ่น

          รุ่นที่ 1 (1949 - 1976) เป็นผู้นำรุ่นบุกเบิกมี เมาเซตุง (Mao Tse-tung) หรือ โจว เอ็นไล (Zhou En lai) เป็นหลัก รุ่นนี้ คือ รุ่นเปลี่ยนแปลงการปกครอง ชนะการปฏิวัติมา เป็นผู้บุกเบิก ต้องบริหารการเปลี่ยนแปลงค่อนข้างจะมากต้องสร้างระบบให้แน่น เพราะระบบเดิมยกเลิกหมด เช่น ทรัพย์สินทุกอย่างเป็นของรัฐไม่ใช่ของบุคคลเศรษฐกิจ คือ รัฐเป็นคนกำหนด

          รุ่นที่ 2 (1976 - 1992)  คือ เติ้ง เสี่ยว ผิง (Deng Xiaoping) เป็นช่วงที่การเมืองนิ่งแล้ว แต่ระบบเศรษฐกิจแบบรัฐเป็นผู้กำหนด จะไม่สามารถสร้างรายได้ให้แก่คนในชาติได้ เพราะประชากรมาก     – คาดหวังสูง จึงต้องมีเติ้งเสี่ยวผิงมาเป็นผู้นำ เน้นทฤษฎีไปสู่ Practical เป็นผู้ที่พูดว่า “แมวสีอะไรก็ได้ขอให้จับหนูเป็น” คือ เป็น 1 ประเทศ 2 ระบบ นำเอาทุนนิยมเข้ามา – เชิญต่างประเทศเข้ามาลงทุน    ทำให้จีนขยายตัวทางเศรษฐกิจเร็ว เพราะคนจีนขยันและเคยทำการค้ามาก่อน วันนี้จีนเติบโตมากกลายเป็นมหาอำนาจ

          รุ่นที่ 3 (1992 - 2003)  คือ เจียง ซี มิน (Jiang Zemin) เป็นผู้นำประเทศสู่โลกภายนอก เศรษฐกิจแข็งแรงขึ้น แต่ต้องมีบทบาทในโลก จัดประชุม APEC 2003 ในจีน นำจีนเข้า WTO เปิดประเทศทางเศรษฐกิจมากขึ้นส่งความช่วยเหลือไป Africaและประเทศด้อยพัฒนา

          รุ่นที่ 4 (2003 – 2013) คือ หู จิ่นเทา (Hu Jintao) เห็นความรุ่งเรืองของเศรษฐกิจจีนเป็นอันดับ 2 ของโลก จีนมีอิทธิพลต่อโลกมากขึ้นทั้งการเมืองและเศรษฐกิจ แต่เริ่มมีปัญหาเสรีภาพในประเทศ และความเหลื่อมล้ำ

          รุ่นที่ 5 (2013 – 2023) คือ สิ จินผิง (Xi Jinping) ผู้นำรุ่น 5 จะต้องเก่งเรื่องประชาธิปไตยเปิดแบบจีนที่โลกยอมรับ มีสิทธิมนุษยชนมากขึ้น และดูแลการกระจายความเจริญทางเศรษฐกิจไปทุกกลุ่มและทุกภูมิภาคของจีนไม่ให้เหลื่อมล้ำ ให้เศรษฐกิจจีนสมดุลกับโลกภายนอก โดยเฉพาะค่าเงินหยวน      Xi jinping พื้นฐานดี เรียนวิศวะ แล้วจึงมาเป็นผู้นำ คือ มีระบบความคิดเป็นวิทยาศาสตร์ ไม่เหมือนผู้นำไทยส่วนใหญ่คิดไม่เป็นระบบ ชีวิตช่วงวัยรุ่น เจ็บปวด เพราะ มีปัญหาทางการเมืองในจีนจึงถูกส่งไปฝึกงานในชนบท คลุกคลีกับชาวบ้าน คือ ติดดิน เห็นความจริงของสังคม เปรียบเทียบกับอดีตนายกอภิสิทธิ์เป็นคนดี แต่ไม่รอบรู้สังคมและวิถีชีวิตไทยอย่างลึกซึ้ง เป็นคนมีหลักการ มีวิธีการที่ปฏิบัติดีที่ทำให้หลักการไปสู่ความสำเร็จ คือ หลักการไม่เคยเปลี่ยน คือ จีนเป็นสังคมนิยม กระจายรายได้เสมอภาคไม่ใช่รวยอย่างเดียว ต่างกับอุดมการณ์ของระบอบทักษิณ มีวิธีการอย่างเดียวคือรวย แต่ได้มาอย่างไรก็ได้     ยกย่องเติ้งเสี่ยวผิงที่ให้ประเทศจีนมี 2 ระบบการเมืองและดึงทุนนิยมเป็นมหาอำนาจเศรษฐกิจของโลก เน้นคุณธรรมจริยธรรมก่อน ความรวย หนังสือของเขาชื่อ The Governance of China แปลว่าเป็นประเทศจีนโปร่งใส ไม่ยอมให้เกิดการโกงขึ้นในประเทศ จึงเป็นผู้นำที่น่ายกย่อง ยุคเขาจัดการผู้นำจีนใหญ่ๆหลายคนเข้าคุก ดำเนินคดีเป็นตัวอย่างโดยไม่กลัวอิทธิพลใดๆ

          ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เป็นตัวอย่างของผู้นำที่มี Charisma คือมีความนุ่มนวล แต่การดูว่าผู้นำแบบไหนเหมาะสม ให้ดูช่วงเวลา และองค์กรด้วย

 

          ภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ (2)

          แรงบันดาลใจเกิดจากการที่เราไป Unlock สิ่งที่มีอยู่ข้างในออกมา การศึกษาที่สำคัญที่สุดคือการนำสิ่งที่มีอยู่ออกมาออกมาได้  ทุกคนมีอยู่แล้วแต่ไม่ได้มีโอกาสในการดึงออกมา การนำของแต่ละคนมาหลอมรวมเพื่อเป็นประโยชน์ต่อองค์กร

 

          Happy at work กับ Happy workplace

          Happy workplace เป็นการทำงานที่มีความสุขในสถานที่นั้นด้วย ส่วน Happy at work       มาจากส่วนบุคคลคือมีความสุขในการทำงานไปด้วย

          Happy workplace เป็นเรื่ององค์กร และ Happy at work เป็นเรื่องการทำงาน เป็นอะไรที่จับต้องได้ เช่นมีแอร์ดี ห้องทำงานใหญ่ สบาย แต่แค่นั้นไม่พอต้องมี Happy at work

          Happy at work ควรมีปัจจัย 4 ปัจจัยด้วยกันคือ     

                    1. สุขภาพกับการออกกำลังกาย

                    2. Passion เป็นเรื่องที่สำคัญที่สุดในการทำงานคือการหลงใหลในงานของตัวเอง

Passion มี 2 อย่างคือทางดีและทางไม่ดี ยกตัวอย่าง ดร.จีระในช่วงหนุ่ม ๆ ชอบทำงานจะกลับดึกมาก

                    3. Purpose ถามตัวเองว่าทำงานไปเพื่ออะไร ให้ค้นหาตัวเองอีกครั้ง

                    4. Meaning ทำงานแล้วชีวิตมีความหมายหรือไม่ บางคนไม่ทำงานเพื่อเงินอย่างเดียว  เงินเยอะมากจะไม่ทำ เช่น บริษัทที่ทำโฆษณาอบายมุขเขาจะไม่ทำ  

           สิ่งที่เสริมนอกจากสุขภาพ Work life balance เครื่องมือ IT จะมาช่วยให้เราทำงานที่มีประสิทธิภาพสามารถทำงานให้เกิดการบูรณาการในการทำงานกัน

          เรื่อง Generation Gap ต้องมองรุ่นให้ดีว่าเขาต้องการอะไร ถ้าจะบริหารคนรุ่นใหม่ เราต้องมี Happy at work และ Happy workplace บางครั้งต้องมี Flexible work  ดังนั้น การมี Work life balance เป็นสิ่งที่จะเกิดขึ้นในราชการและรัฐวิสาหกิจที่ควรเกิดขึ้น

          วิสัยทัศน์ ทิศทางที่จะไป และต้องกำหนดมาตรฐานให้เราไปอย่างเป็นเลิศ

          วิสัยทัศน์ที่ดี

                   1. ต้องมีการปรับวิสัยทัศน์ตลอดเวลา และต้องได้รับการยอมรับจากคนในองค์กร

                   2. Vision without action จะถูกมองว่าไม่ได้ประโยชน์นัก และอาจถูกมองว่าเป็นความฝัน

                   3. Mission คือพันธกิจหรือภารกิจที่เราจะทำเพื่อตอบสนองเป้าหมายของ Vision เหล่านั้น

                   4. การกำหนด Vision Mission ไม่พอ ต้องมีการกำหนด Core Value ด้วย ยกตัวอย่าง Core Value องค์กรเน้น สร้างสรรค์ มูลค่าเพิ่ม และความสุขในการทำงาน

 

          Vision ได้มาอย่างไร

                    1. สนใจความรู้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง

                    2. อ่านหนังสือมากและหลาย ๆชนิด

                    3. รู้จักเรียนรู้งานที่ทำอยู่

                    4. เป็นผู้ที่ช่างสังเกต และนำไปปฏิบัติ

                    5. มีพันธมิตรทางปัญญามากหลาย ๆ ด้าน เช่น เราเป็นนักวิชาการก็รู้จักธุรกิจหรือสาขาอื่น ๆ อย่าทำตัวแคบ ๆ

                    6. เลือกดูรายการโทรทัศน์ที่ให้ประโยชน์ เช่น Cable TV

                    7. ใช้ Internet อย่างสม่ำเสมอ

                    8. มีวัฒนธรรมการเรียนรู้

                    9. เรียนรู้ตลอดชีวิต

          ประสบการณ์ของ ดร.จีระในการทำงานด้านวิสัยทัศน์

                   1. ผู้นำให้ความสนใจต่อ Vision

                   2. การระดมความคิด  โดยรับฟังความคิดแปลกใหม่(ต้อง Learn-Share-Care โดยเฉพาะที่ขัดแย้งกัน แต่ให้ความคิดเห็นไม่ตรงกันเป็น conflict องค์กร ไม่เช่นนั้นจะไม่เกิดการปะทะกันทางปัญญา)

                   3. มีคณะผู้เชี่ยวชาญเข้าไปช่วยเหลือ

                   4. ผสมผสานระหว่างความคิดคนในกับคนนอก

                   5. วิธีการระดมความคิด จะต้องเน้นการแสดงความคิด 2 ทางคือโต้ตอบและตรงไปตรงมา

                   6. ถ้าไม่มีผู้นำในองค์กรที่ต้องการ การเปลี่ยนแปลงก็คงจะทำอะไรลำบาก

 

 

          วิธีคิดเพื่อทบทวน / กำหนดวิสัยทัศน์

                   1. ต้องมองภาพ Macro ก่อน รู้ว่าจุดอ่อนจุดแข็งคืออะไร มองโอกาสและความเสี่ยงคืออะไร แล้วให้ลงเขียนวิสัยทัศน์ดู และมาตอบว่า เก่งอะไร และทำในสิ่งที่เราเก่งหรือไม่  เราต้องใช้จุดแข็งมากกว่าใช้จุดอ่อน

                   2. ศึกษา Internal Environment เช่น ระบบ วัฒนธรรม องค์กร คุณภาพของคน ฯลฯ

                    3. อะไรที่เราทำได้ดีที่สุดและอะไรที่เราทำยังไม่ดี อย่างเช่น การเคหะฯ สิ่งที่เราทำเก่งที่สุดคือ ชุมชน

                    4. ใครคือลูกค้าที่สำคัญของเรา

          บริบทข้างหน้าของการเคหะจะเป็นอย่างไร อย่างเราจะมองวิสัยทัศน์ข้างหน้า ต้องรวย ต้องมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน  การลดความเหลื่อมล้ำแล้วยังมีเรื่องของการพัฒนาคนอย่างถ้วนหน้า เพราะมีเรื่องสังคมดิจิทัลมาตอบโจทย์  องค์กรต้องการอะไร มีเรื่อง Competency อะไรที่ทำดี และอะไรที่ไม่ดี อะไรที่ดีแล้วและเราจะเดินต่อ   ถ้าอะไรทีไม่ดีไปสร้างที่คน  ถ้าเราจะพัฒนาที่อยู่อาศัยเราจะมอง Vision แบบไหนบ้าง

          Boundary ของการเคหะ อยู่ใน Boundary หนึ่ง แต่เรื่องอาเซียนตกควรพูดถึงว่าการเคหะฯ ไม่ได้สร้างบ้านอย่างเดียว แต่สร้างประเทศ สร้างชุมชน ความมั่งคั่ง ลดความเหลื่อมล้ำ

         การเคหะฯ จะขึ้นมาถึงจุดที่ขยายพรมแดนไปสู่กิจกรรมอื่น ๆ   แม้วันนี้ยังไม่ได้ แต่เราจะต้องสามารถทำได้เช่นกัน ยกตัวอย่าง Alibaba เป็นธุรกิจที่เล่นกับคนจน คนจนสามารถเป็นหลักได้ สิ่งที่อยากฝากคือ การขยายพรมแดนหรือกิจกรรมของการเคหะฯ เรียกว่า Boundary ที่การเคหะฯ มีภารกิจมาก  อยากให้มีการคุยกับต่างประเทศมากขึ้น ทั้ง 4 กลุ่มได้ความรู้มาก ในเรื่องต่างประเทศเราต้อง Shift Paradigm บางเรื่องเข้าใจ และติดตัวไป

 

วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2561

การบริหารการเปลี่ยนแปลง (1)

กรณีศึกษาของ...บมจ. ปูนซีเมนต์นครหลวง โดย คุณจันทนา สุขุมานนท์

          ในปัจจุบันจะไม่ค่อยพูดเรื่อง Change Management ส่วนใหญ่จะเปลี่ยนเป็นการพูด Transformer

          Change Management พูดถึงการเปลี่ยนแปลงในองค์กร มี Internal Factor สิ่งที่พบคือการเปลี่ยนข้างในยากมาก แต่ External Factor Force ให้เราเปลี่ยน

          External Factor is given หมายถึงเราต้องเปลี่ยน สิ่งที่สำคัญมากที่สุดคือข้างในของเราต้องอยากจะเปลี่ยนเอง เพราะถ้าเราทำเหมือนเดิม ผลลัพธ์ก็เป็นเหมือนเดิม

          คนเราต้องมีความตั้งใจ เช่นตั้งใจว่า

                   1. ต้องไม่จน

                   2. ต้องไม่พึ่งคนอื่น ต้องยืนบนขาตัวเองให้ได้

                   Holcim Mission : Vision , Values, Strategy & Operational Roadmap

          ในการทำงานที่ดีมี 4 ส่วน

                   1. Think the business

                   คิดก่อน ... คิดได้หรือไม่ มีตรรกะ หรือ Critical Skill หรือไม่ มี Strategic Thinking Skill

                   มีวิสัยทัศน์ คือการมองไปข้างหน้าว่าเป็นอย่างไร

                              - Strategic Vision / Alignment     - Analysis and Problem-Solving

                              - Business and Financial Acumen 

                   2. Deliver Results

                               - Manages Execution     - Customer Focus  

                              - Support Action , Change and Innovation  - Leads for Performance

                   3. Act as a role model

                    คุณสมบัติหนึ่งในการเป็นหัวหน้าคือการเป็น Role Model ที่ดี เช่นถ้าเป็นหัวหน้า แล้วมาทำงานสายลูกน้องจะมาทำงานสาย

                              - Adapts and learn        - Establishes Trust and Confidence

                   4. Energize People

                              สังเกตได้ว่ามีคนที่ออกจากองค์กรที่ดีได้นั้นเพราะอะไร ส่วนหนึ่งเพราะได้หัวหน้าไม่ดี

                              - Communication  - Engages and Inspires  - Develops Employees          

                               - Cultivates Relationships and Networks - Fosters Teamwork and Cooperation

          สรุปคือ Life ของแต่ละคนไม่เหมือนกัน อย่าตัดสินหรือมองคนจากภายนอก

          การเปลี่ยนแปลง  External เปลี่ยนไปอย่างไร

          7 Habits ที่เกี่ยวกับตัวเราเอง คือ

                   1. Be Proactive เราต้องทำมากกว่าที่เขาคาดหวัง จะทำให้เขา Recognize เรา เราต้องคิด without the box

                   2. Put with the end in mind เราต้องตั้งเป้าหมาย ต้องมี Target

                   3. Be Prioritize เราต้องรู้ว่าอะไรทำก่อนทำหลัง

                   4. Listen more คือการฟังมากขึ้น แต่ส่วนใหญ่คนเราฟังน้อย แต่พูดเยอะ

(The more listen the more to understand)

                   5. Energize people คือการทำงานเป็น Teamwork เพราะความสำเร็จไม่ได้มาจากตัวเองอย่างเดียว แต่มาจากคนอื่นด้วย อย่างถ้าขึ้นตำแหน่ง ความสำเร็จส่วนหนึ่งคือลูกน้อง

                   6. Think win-win เวลาที่เราจะทำอะไรเราต้องคิดให้เขา Win และเรา Win ด้วย

                   7. Sharpen your saw คือเราต้องเรียนรู้ตลอดเวลา

                   ให้ลองดูว่าในนิสัย 7 ตัวนี้ นิสัยไหนที่เราไม่ดี 

          Wheel Model สิ่งที่พบในคนส่วนใหญ่ที่ตก และทำไม่ได้ คือ เรื่อง 1. Energize wheel 2. Communication

          Leader มีความจำเป็นต้องเข้าใจและสื่อสารให้กับตรงตามแต่ละคน

          คนที่จะเป็น CEO ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก สิ่งสำคัญส่วนหนึ่งคือ Communication

          การเป็น Public Speaking

                    1.Objective คืออะไรและเราอยาก ได้อะไร What do you want other know about you?

                     - ถ้าเราอยากพูดอะไรให้เราตั้งคำถามไว้ แล้วพูดตามนั้น

                     - เหตุผลที่เราต้องเปลี่ยนแปลงตัวเอง ที่ต้องเริ่มจากตัวเองข้างใน

ยกตัวอย่าง บริษัทที่ทำดีที่สุดในการทำ Rule & Regulation คือ OEM อย่างเช่นการเคหะฯ ต้องเปลี่ยนกฎในการอยู่รวมกันของคนหมู่มาก ที่ฮอลแลนด์ การเคหะฯ บ้านที่อยู่เรียบร้อยมากเนื่องจากเขามีกฎ

          สิ่งที่เราควรต้องระวัง คือ การทำงานไปเรื่อย ๆ จะติดอยู่ใน Comfort Zone ไม่ Proactive แล้วจะทำให้แย่มากกว่าดี

          ทำอะไรที่เป็น Productive เช่น การบ่นไม่ Productive แต่จะทำอย่างไร ? เราจะเปลี่ยนอย่างไร : Why? How? What? When?

          ทำไมเราถึงต้องเปลี่ยน?  เราจะเปลี่ยนอย่างไร ?  เราจะเปลี่ยนอะไร?  เราจะเปลี่ยนเมื่อไร?

          สรุป ที่เราเปลี่ยนวันนี้เพราะเราเปลี่ยนจากข้างใน ทุกวันเราต้องเปลี่ยนตัวเองให้ดีขึ้น เราเป็นน้ำครึ่งแก้ว เราจะเติมวิตามินอะไร เราต้องรู้ว่าเราขาดอะไร  เราจะเปลี่ยนแปลงอะไรเพื่อให้ชีวิตเราดีขึ้น

ไม่ว่าลูกน้องจะมาปรึกษาอะไร ต้อง Open Question ถามเขามากขึ้น โค้ชไม่เคยให้คำตอบ แต่ให้ถามจนเขาสามารถหาคำตอบด้วยตัวเองได้ โค้ชคือกระจกส่งเราเท่านั้นเอง เราจะรู้จักตัวเองดีที่สุด

 

กรณีศึกษาของ… สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล โดยคุณชูชาติ มั่นครองธรรม

          การเปลี่ยนแปลง

          การเปลี่ยนแปลง ไม่ใช่ศาสตร์เดียวในการทำงาน แต่ใช้หลายศาสตร์ผสมกัน คือ Change Management ,Risk Management, Business Continuing Plan เช่น การเปลี่ยนวิถีชีวิต การเดินทางเปลี่ยน การบริหารความเสี่ยง

          1. ทุกวันนี้มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ใด ๆ ในโลกล้วนอนิจจัง เมื่อมีการจัดการต้องมีการวางแผน

          2. องค์ประกอบการเปลี่ยนแปลง ต้องมีผู้นำการเปลี่ยนแปลง

          การเปลี่ยนแปลงมี 2 อย่างคือเชิงรุก และเชิงรับ ดูแนวโน้มในอดีตและสิ่งที่เกิดขึ้นในอนาคต

          การเปลี่ยนแปลงเชิงรับ  เราจะรู้ว่าเราจัดการแต่ละเรื่องอย่างไร

          สาเหตุที่ทำให้เกิดการต่อต้านการเปลี่ยนแปลง

                   1. ไม่ต้องการเปลี่ยนแปลง

                    2. ระยะเวลาการเปลี่ยนแปลงสั้นไป

                    3. เกิดความตระหนกในการเปลี่ยนแปลง

                    4. แรงกดดันจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

                    5. ผลประโยชน์

                    6. ความไม่รู้ ไม่เข้าใจ

          กรณีการย้ายที่ทำการแห่งใหม่

          แต่ก่อนสำนักงานสลากกินแบ่ง อยู่ราชดำเนิน อยู่ในแหล่งยุทธศาสตร์ต่อผลจากการเกิดเหตุการณ์ต่าง ๆ มีปัญหาเรื่องความแออัด ได้มีการวางแผนและปักธงในการย้ายแบ่งเป็น 3 Phase โดยหน่วยที่ได้รับผลกระทบจากการย้ายกับประชาชนให้อยู่ก่อน และส่วนอื่นย้ายก่อน

          Phase แรกที่โดนย้ายคือ ฝ่าย HR  เริ่มต้นจากการวางแผนห้องที่ทำงานเสร็จ และของค่อยลงให้สัมพันธ์กับงานที่มีการดูถึงผลกระทบจากสิ่งแวดล้อมภายนอกมีความสัมพันธ์กับวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไปของพนักงานอย่างไร เช่น   การเดินทาง ร้านอาหาร โรงเรียนลูก ฯลฯ สิ่งที่เราควรทำ Survey คือทำให้เห็นว่าวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไปไม่ได้กระทบกับวิถีชีวิตเดิมของคนในองค์กรมากนัก

          ปัญหาที่พบ คือ

                   1. แต่ละส่วนยังมีการทำงานที่ไม่สัมพันธ์กันคือ คนสร้าง คนติดกล้อง คนตกแต่งห้อง เช่น มีการติดกล้องวงจรปิดในห้องตรวจภายใน

                   2. ข่าวลือเรื่องผี 3  ตัว วิธีการคือการตรวจสอบข่าวลือ และประชาสัมพันธ์

                   3. การย้ายระบบ IT ให้เกิดความต่อเนื่อง ไม่ให้สับสน เช่นทำงานถึงวันศุกร์ โดยจะมีการประชาสัมพันธ์เรื่องการเปลี่ยนแปลงสถานที่การจ่ายเงินจริง เพื่อเป็นการทดสอบให้ระบบทำงานได้ และมี Server สำรอง และในที่สุดวัน D-Day ระบบจะทำงานได้

          การบริหารการเปลี่ยนแปลง ใช้หลักทฤษฎี

                   1. แม่ปู ลูกปู – ผู้นำต้องเอาด้วย นำก่อน แล้วคนจะตาม

                   2. ตีฆ้อง ร้องป่าว – การประชาสัมพันธ์

                   3. ตีซี้ – สหภาพแรงงานจะเกาะติดมวลชน ให้เขาเห็นประโยชน์ และเขาจะช่วยเรา

                   4. พวกมากลากไป – เมื่อส่วนใหญ่มาแล้ว ส่วนเล็กจะตามไปโดยปริยาย

                   5. ทุบหม้อข้าวหม้อแกง – ฟันธงว่าจะย้ายเมื่อไร

          ช่วงการเปลี่ยนผ่านใช้วิธีการสร้างตัวแทนแต่ละหน่วยเป็นลักษณะ Change Agent ทำอย่างไรให้รับรู้วิธีการใช้งานต่าง ๆ เพื่อหาข้อดีข้อเสีย ที่จะทำอย่างไรให้ระบบดีขึ้นป้องกันการผิดพลาดได้บ้าง

          การเปลี่ยนแปลงใด ๆ ในโลกล้วนอนิจจัง ขอให้ท่านทำใจให้มีความสุขกับการเปลี่ยนแปลงนั้นก่อน

          สรุปขั้นตอนการเปลี่ยนแปลง

                   1. มี Vision ว่าเปลี่ยนแล้วได้อะไรขึ้นมา

                   2. ผู้บริหารระดับสูงต้องเกี่ยวข้องทุกขั้นตอน

                   3. การวางแผนร่วมกัน

                   4. Stakeholder ทั้งหมดต้องเข้าใจตรงกันคือผู้เห็นด้วย และไม่เห็นด้วย ผู้เห็นด้วยตั้งเป็น Change Champion

                   5. การสื่อสารกันทุกระดับชั้น

                   6. สร้างระบบการเปลี่ยนแปลงให้ชัดเจนเป็น Platform และมีการฝึกอบรม

                   7. ต้องมี Milestone คือตัววัดความก้าวหน้า ว่าเสร็จอย่างไร และเมื่อไร

 

          การบริหารธุรกิจในยุค ASEAN Economic Community (AEC) (1/1) โดย รศ.ดร. อัทธ์ พิศาลวานิช ผอ.ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

             การพัฒนาเขตอุตสาหกรรมน่าจะเป็นเรื่องของนิคม

                    1) การพัฒนาอุตสาหกรรมในเขต CLMV คือเขตอุตสาหกรรม และเขตเศรษฐกิจพิเศษ อย่างในกัมพูชาจะเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษทั้งหมด ส่วนทางเมียนมา จะเป็นได้ทั้งเขตอุตสาหกรรมและเขตเศรษฐกิจพิเศษ เขตที่ 1 ที่รัฐยะไข่  เขตที่ 2 ที่ท่าชินวา เขตที่ 3 ที่ท่าเรือทวาย

                    2) การพัฒนาที่อยู่อาศัย ซึ่งคนในอาเซียนและ CLMV ยังขาดอยู่ การเคหะฯ น่าจะร่วมมือกับรัฐบาลต่างประเทศในการทำด้านนี้ และคาดว่าอาจจะได้สิทธิพิเศษในการทำการลงทุนพัฒนาที่อยู่อาศัย โดยอาจตั้งบริษัทร่วมกับประเทศนั้น ๆ ทำด้านการพัฒนาที่อยู่อาศัย อาทิเช่น สิงคโปร์ไปตั้งบริษัทร่วมกับบริษัทร่วมของเมียนมา เช่นการสร้างเมืองใหม่ที่เนบิดอร์   การเคหะฯ ก็น่าจะไปด้วยเช่นกัน ที่เห็นส่วนมากไม่ค่อยเห็นภาครัฐวิสาหกิจไทยไปต่างประเทศเท่านั้น ส่วนใหญ่เห็นแต่ภาคเอกชนไปเช่น ซี.พี. ปตท. 

                    เสนอว่า ถ้าจะไปให้ตั้งบริษัทลูกร่วมทุกกับบริษัทเมียนมาเนื่องจากมีจำนวนมาก อย่างที่คอนโดขายดีมาก และให้สิทธิ์นักลงทุนต่างชาติเป็นเจ้าของคอนโดฯได้ตลอดชีวิต แต่ไม่เปิดสิทธิ์ให้ต่างชาติเป็นเจ้าของที่ดิน นอกจากเป็นนอมินี  เช่นเดียวกับเมืองไทย

          การบริหารธุรกิจในอาเซียน (10 ทำ 10 ไม่)

          10 ทำ

                   1. เลือก 9 ประเทศ เพราะเราไม่สามารถทำธุรกิจได้ทั้ง 9 ประเทศ  (อาเซียนเก่า อาเซียนใหม่ เราควรจะไปอินโดนีเซียเพราะตลาดใหญ่มาก แต่มีเกาะและไกลมาก ที่ไทยไปทำธุรกิจในอินโดนีเซียคือจาร์กาตา สิ่งที่พบคือ ไกลมากและกำลังซื้อถดถอยลง  เป็นมุสลิม เราต้องเข้าใจขนบธรรมเนียมประเพณีของชาวมุสลิม เราต้องเข้าใจวัฒนธรรมของเขา เขาจะไม่สามารถให้เวลาได้ตามต้องการ

                    CLMV-T  คนที่มาลงทุนมากสุดในกลุ่มนี้คือ มาเลเซีย และสิงคโปร์  แต่ประเทศไทยกับเหมือนใกล้เกลือกินด่างคือมองไม่ค่อยเห็น

                    ประเทศเวียดนาม มองข้ามประเทศไทยไปแล้วตอนนี้ Benchmark ข้ามไปที่สิงคโปร์แล้ว อย่างเวียดนามมีโมเดลเหมือนกับจีน เนื่องจากเวียดนามเคยเป็นเมืองขึ้นจีนเมื่อ 1,000 ปีก่อน ผู้หญิงเวียดนามเป็นกำลังหลักของรายได้  ส่วนใหญ่เป็นแรงงานผู้หญิงหมดเลย

                    ขณะนี้เราทำธุรกิจในกลุ่มนี้มากสุดในเรื่องการค้า วัตถุประสงค์ของ AEC คือ Production Base คือการเป็นฐานการผลิตเดียวกัน เป็นตลาดเดียวกัน หมายถึง 1. ไม่มีกำแพงภาษี 2. เป็นฐานการผลิตเดียวกัน คือตั้งโรงงานผลิตที่ CLMV ได้ เพราะวัตถุดิบที่นำเข้ามาไม่มีกำแพงภาษี

                    เช่นมะม่วงแก้วขมิ้น เป็นหนึ่งในวัตถุดิบจากกัมพูชา มะม่วงที่แปรรูปนี้ส่วนใหญ่เป็นมะม่วงแก้วขมิ้น และเป็นมะม่วงของกัมพูชา หมายถึงเอาวัตถุดิบจากกัมพูชามาแปรรูปที่บ้านเรา กลายเป็นวาระแห่งชาติของกัมพูชาที่ปลูกมะม่วงแก้วขมิ้นนี้จำนวนมาก   ต่อไปน่าจะเป็นมะม่วงเซงตารงของเมียนมาเข้ามา

                    นอกจากส่งของไปขายแล้วให้เอาของเข้ามาขายด้วย  มะม่วงไทยน้ำดอกไม้อร่อยที่สุด แต่อีกทางเลือกหนึ่งคือเซงตารงของเมียนมา  จะเอาเข้ามาในการบริหารธุรกิจได้อย่างไร

                    แตงโมของเมียนมาลูกละ 15 กิโลกรัม เป็นอีกตัวอย่างหนึ่งของการขายความแปลกอย่างใน    CLMV ต้องเลือกมาก่อนว่าจะไปลงทุนที่ไหน

                   2. รู้นโยบายเศรษฐกิจ กฎหมายการลงทุน กฎระเบียบกติกาประเทศเหล่านี้ เน้นเรื่องอะไรเป็นหลักอย่างถ้าจะไปตั้งโรงงานเพื่อขายคนเมียนมา หรือตั้งโรงงานเพื่อไปขายต่างประเทศ แล้วเอาเงินเข้ามา

                    นโยบายเศรษฐกิจของเขาคือ

                             1) ต้องไปเอาวัตถุดิบเขาแปรรูปแล้วส่งออกไปต่างประเทศแล้วเอาเงินกลับบ้านเขา เขาจะชอบ

                              2) การตั้งโรงงานแล้วถ้าไม่ใช้แรงงานของประเทศเขาเลยเขาไม่ชอบ ถ้าจะตั้งโรงงานให้ตั้งโรงงานที่บริษัทใช้แรงงานเขา

                              3) ถ้าตั้งโรงงานช่วยฝึกแรงงานเขา เขาจะรู้สึกดีมาก เช่นสอนให้เขาซ่อมแอร์ วิทยุ นวด เป็นเขาจะชอบมาก  จากการไปมาหลายประเทศพบว่าคนที่บริการดีที่สุดคือคนไทย

                    กฎหมายการลงทุนในเขตอุตสาหกรรม เขตเศรษฐกิจพิเศษก็อีกอันหนึ่ง เขตอุตสาหกรรมเมียววดีใช้กฎหมายอีกฉบับหนึ่ง เขตที่ชินวาก็ใช้อีกที่หนึ่ง

                   3. รู้ศักยภาพของประเทศ แรงงาน ทรัพยากร สิทธิประโยชน์ การส่งออก ต้องรู้ศักยภาพเขาว่าเป็นอย่างไร ศักยภาพของประเทศเหล่านี้เราควรทำธุรกิจอะไร ศักยภาพของประเทศเหล่านี้มีอะไรบ้าง

                    - แรงงาน มีศักยภาพหรือไม่ ถ้าอยากลงทุนบ้านเขา ต้องไปฝึกแรงงานเขาด้วย โรงงานที่ตั้งที่เกาะกงหาแรงงานกัมพูชายากมาก จึงได้เปลี่ยนกลยุทธ์เป็นการอบรมเช่นสอนเรื่องเย็บผ้าฟรี จะพบว่าทางผู้ว่าฯ เกาะกงมีความสุขภาพ เพราะช่วยเขาด้านนี้ ระหว่างการสอนจะเป็นคนไทยสอน ความคุ้นเคยจะมักคุ้น ได้ถ่ายทอดวัฒนธรรมไทย ที่ซึมซับโดยปริยาย

                   4.ต้องมี Connection และ Partner ทางธุรกิจ เช่นกลุ่มสภาอุตสาหกรรมของประเทศนั้น ๆ หอการค้า และอุตสาหกรรมของประเทศนั้น ต้องให้หน่วยงานเขาเซ็นรับทราบด้วยว่าจะทำธุรกิจนี้ เพื่อป้องกันปัญหาที่สามารถป้องกันการฟ้องร้องได้ สินค้าต้องมีคุณภาพและราคาไม่แพง เพราะราคาเป็นส่วนสำคัญในการตัดสินใจ

                    ถ้าจะไปเมียนมาได้ปลอดภัย เมืองหลักคือย่างกุ้ง  และเมืองมันดาเลย์ เป็นเมืองที่เหมาะสำหรับทำธุรกิจ ส่วนเนบิดอร์ไม่เหมาะทำธุรกิจ เนื่องจากมีแต่ข้าราชการ นักท่องเที่ยวไปน้อย เมืองรองคือ หงสาวดี ผาอัน พะโคว์ แม้กำลังซื้อน้อย แต่ได้ต้นทุนทำธุรกิจดีกว่าเมืองหลัก

                   5. ไปเป็นกลุ่มธุรกิจ อย่าไปเดี่ยวเพื่อป้องกันความเสี่ยงทางธุรกิจ

                   6. ทดสอบสินค้าโดยการวางในห้างในกรุงเทพฯ ต้องทดลองก่อนที่จะนำสินค้าไปนอกประเทศว่าเป็นอย่างไรก่อน

                   7. ร่วม Business Trip กับหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ร่วมงานแสดงสินค้าดูว่ามีกิจกรรมอะไรบ้างที่น่าไปร่วมด้วย ถ้าแนะนำธุรกิจใน CLMV แนะนำให้ไปเมียนมาเพราะ ธรรมะ ธรรมโม หนุ่มสาวเวลานัดพบกันจะนัดไปไหว้พระ

                   8. ต้องรู้ช่องทางในการจำหน่ายสินค้า การจำหน่ายอะไร ? และเอาสินค้าไปวางจำหน่ายในประเทศนั้น ๆ

                   9. เดินทางไปศึกษาตลาดเอง  เพื่อให้รู้ถึงความต้องการของผู้บริโภคในประเทศนั้น ๆ

                   10. ทำเว็บไซต์ภาษาอังกฤษ  และภาษาของประเทศนั้น ๆ

          10 ไม่

                   1. ไม่มีข้อมูล

                   2. ไม่มีหุ้นส่วน

                   3. ไม่รู้ภาษา

                   4. ไม่รู้นโยบายการค้า การลงทุน

                   5. ไม่ตัดสินใจ

                   6. ไม่ร่วม Business Trip

                   7. ไม่ร่วมงานแสดงสินค้า

                   8. ไม่กล้าลงทุน

                   9. ไม่กล้าจ่ายเงินเดินทาง

                   10. ไม่มีเครือข่ายและรวมกลุ่ม

 

                    ประเด็นที่น่าสนใจมากคือเรื่องการพัฒนาที่ดิน ที่ทำเพื่อให้เพิ่มมูลค่าหรือคุณค่าที่มีอยู่  ที่อยู่อาศัยต้องอยู่ในเขตอุตสาหกรรมและใกล้เคียงด้วย ต้องคิดเชื่อมโยง สิ่งที่รู้จักการเคหะฯ มากขึ้นต้องคิดถึงที่ดิน และในส่วนที่มีในการเคหะฯ

                    สิ่งที่น่าสนใจคือคนในประเทศ CLMV ยังขาดที่อยู่อาศัยอยู่มาก ในฐานะผู้บริหารการเคหะฯ เราจะจับมือกับรัฐบาลอย่างไร ทุกท่านคิดได้ในฐานะคนทำงาน ว่าโครงการฯ นี้จะจับมือกับรัฐบาลเหมือนอย่างสิงคโปร์และมาเลเซียได้หรือไม่ ใช้วัสดุไม่แพง แต่มีคุณภาพ มะม่วงแก้วขมิ้น  มะม่วงดองวรพร เป็นตัวอย่างที่เราศึกษาเรื่องการ Upgrade ตัวเองอย่างไร

                    1. Upgrade สินค้าเป็นพรีเมียม ลูกค้าที่อยู่ในโซนหัวเมืองหรือเขตเศรษฐกิจชายแดนมีอะไรที่การเคหะฯ ไปส่งเสริมได้

                     2. การปรับกฎระเบียบที่ต้องศึกษามากขึ้น การเคหะฯ จะเคลื่อนไปจับมือกับสิ่งเหล่านี้อย่างไร ถ้าเป็นสิ่งที่ดีโครงการที่ดีจะเสนอได้

                    3. การอบรมหรือสอนคนฝึกคน เช่น พันธมิตร การออกแบบสิ่งแวดล้อม

                    4. การหา Partner ที่รัฐรับรอง เป็นสิ่งที่เป็นประโยชน์กับท่านคือการพัฒนาที่ดินในอุตสาหกรรม

 

วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2561

การบริหารกลยุทธ์องค์กร (1) โดย รศ.ดร.สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์

          องค์กรเป็นประเภทหรือคน

                   1. ความสามารถวางแผนชีวิตให้สอดคล้องกับโลกแห่งการเปลี่ยนแปลง และสอดคล้องกับตัวเอง ซึ่งนักวิชาการเอามาเรียก SWOT

                    - จริง ๆ อยากให้ประเทศมีความสุข โลกมีความเจริญ ก็ต้องวัดการเปลี่ยนแปลง

                    - ถ้าไม่รู้ว่าโลกเปลี่ยนแปลงอย่างไร เปลี่ยนองค์กรจะไม่ตรงเลย

                    - สิ่งที่รู้ แต่คนไม่รู้คือนวัตกรรม นวัตกรรม กับ นวัตกรรมตามนโยบาย 4.0 ต่างกันตรงไหนจริง ๆ นวัตกรรมมีมานานแล้ว

                     - อย่างไรก็ตามเราไม่สามารถประสบความสำเร็จได้ถ้าไม่รู้จักตัวเอง

          การวิเคราะห์ SWOT

          1. ต้องเริ่มที่ O และ T คือการวิเคราะห์ Change ถ้าไม่เริ่มวิเคราะห์ตรงนี้ อาจจะผิดแผนและอนาคตจะมีปัญหา  ดังนั้นการบริหารจัดการไม่ต้องเรียนได้เลยเพราะเป็น Common Sense เราต้องเอาจุดแข็งไปไขว่คว้าโอกาส  ส่วนจุดอ่อนบางคนแก้ได้ บางคนแก้ไม่ได้ มนุษย์ไม่มีใครโง่ ทุกคนฉลาดหมด แต่การศึกษาบางอย่างทำให้คนทำได้เรื่องเดียว ทั้ง ๆ ที่ความจริงมนุษย์ทำได้หลายเรื่อง

          2. การจัดการที่กำลังจะเกิดขึ้น เริ่มจาก Common Sense

          - วิเคราะห์อนาคต  - วางชีวิตให้ตรงกับอนาคต  - การจัดการอนาคต

          เมื่อเป็นทิศทางองค์กร องค์กรต้องรู้ทุกคน และเมื่อรู้ทิศทางองค์กรแล้ว ก็มาบริหารระยะสั้นคือ 3 ,5, 10 ปี ต้องทำอะไรบ้าง

          การจัดการเชิงกลยุทธ์องค์กร

                   1. SWOT

                   2. วิสัยทัศน์ พันธกิจ – วางทิศทางองค์กร

                   3. เป้าประสงค์ กลยุทธ์ Action Plan คือตัว Action ต้องมีดัชนีตัววัด KPI

จะดูว่าประเทศนั้นมีคนฉลาดหรือไม่วัดจากการเรียนรู้ ซึ่งการเรียนรู้มี 3 แบบ ยกตัวอย่าง อ.สมชายบอกว่าหลังเกษียณจะมีรายได้ไม่ต่างจากเกษียณ และต้องดัง ต้องรวยด้วยสมองเพราะมีจุดแข็งคือสมอง และต้องเป็นอาจารย์

เป้าหมายต้องเก่งภาษา และเก่งคำนวณ นั่งอ่านหนังสือภาษาอังกฤษตั้งแต่เด็ก จุดเริ่มต้นคือการสอนให้คนอ่านหนังสือ คือจุดแห่งความฉลาด เป็นลักษณะแบบ Life time learning มองอนาคตว่าเป็นอาจารย์เฉย ๆ ไม่รวย ดังนั้นจึงมองว่าจะเป็นที่ปรึกษา จึงเริ่มเรียนอักษรศาสตร์ เรียนภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส สเปน อิตาลี เพื่อให้ได้ทุนแล้วไปศึกษาต่อที่รัฐศาสตร์ แล้วไปศึกษาเรื่องหุ้นต่อ  และที่อาจารย์สมชายดัง เพราะมองก่อนคนอื่น เป็นคนแรกที่มองเรื่องหุ้น เป็นคนแรกที่สอนเรื่องกลยุทธ์ ไม่ได้อยากเล่นการเมืองเพราะอยากเป็นอาจารย์สอนที่ดี แต่ไม่ได้เลือกที่จะรู้ทุกเรื่อง

          Action Plan ต้องสอดคล้องกับวิสัยทัศน์และพันธกิจ เช่นวิสัยทัศน์อยากเป็นนักการเมือง ต้องตีกอล์ฟเพื่อสร้าง Connection ถ้าไม่อยากเล่นการเมือง แต่ทุกคนต้องมีชีวิตรอด มีสุขภาพดี ถ้าเอาเวลาไปตีกอล์ฟ จึงเลือกที่จะอ่านหนังสือ ซึ่งเปรียบเทียบเวลาแล้วจะมากกว่าตีกอล์ฟ

          แผนกลยุทธ์ใครทำได้ แต่การศึกษาทำให้เราใช้ศักยภาพสมองได้น้อยกว่าที่เป็น

          แผนกลยุทธ์ 4.0 คือยุทธศาสตร์ของประเทศที่พัฒนาให้ประเทศจากวันนี้ไปถึง 20 ปี ข้างหน้าหลุดจากกับดักรายได้ปานกลาง ซึ่งหน้าที่นี้ควรเป็นของสภาพัฒน์ ฯ เพราะวางแผนด้านกลยุทธ์ กำเนิด 4.0 มาจากหนังสือ Marketing 4.0 ของ Philips Cotler

          Smart City

          โลกกำลังเข้าสู่ Smart City และ Smart Home

          สรุปคือ แผนกลยุทธ์ที่เชิญมาคือสอน SWOT วิสัยทัศน์ พันธกิจ และกลยุทธ์ แต่แท้จริงเป็นเรื่อง Common Sense ถ้าวางองค์กรให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคตเราจะประสบความสำเร็จมาก แต่ทำไมใคร ๆ ก็เรียน ทั้งๆ ที่ประเทศไทยมีแผนมานานแล้ว แต่ไม่ใช่แผนกลยุทธ์ ทั้งที่สภาพัฒน์ฯ ต้องเป็นผู้ทำตรงนั้น

          Vision

          เส้นทางที่จะไปในอนาคต Vision การทำได้ ต้องมีการวิเคราะห์การวางแผนในช่วง 4-5 ปี ฯลฯ เป้าประสงค์จะสำเร็จได้ต้องอาศัยกลยุทธ์ กลยุทธ์จะสำเร็จด้วย Action Plan

          Action Plan คือแนวทางที่ทำให้กลยุทธ์ประสบความสำเร็จ กลยุทธ์คือแนวทางที่ทำให้เป้าประสงค์ประสบความสำเร็จ เป้าประสงค์คือแนวทางที่ทำให้ยุทธศาสตร์ประสบความสำเร็จ การจะวางแผนได้คือ ใน 5 ปีข้างหน้าจะทำอย่างไร เรียกว่าเป้าประสงค์

          จุดอ่อนมี 2 เรื่อง จุดอ่อนบางเรื่องแก้ได้ บางเรื่องแก้ไม่ได้ เช่นอาจารย์สมชายมองตัวเองเป็นนักวิเคราะห์อนาคตได้เก่ง จึงพัฒนาตัวเองจากการเรียนภาษาเพิ่มเติมอีกหลายภาษา สามารถสอนการละคร เรียนรัฐศาสตร์ และสอนละครได้ แต่จุดอ่อนบางเรื่องเช่นหน้าตาแก้ไม่ได้ อาจไม่ได้เป็นพระเอกเป็นต้น

          สรุป การจัดการเชิงกลยุทธ์ที่โคตรยาก เพราะหัวใจข้อแรกสู่ความสำเร็จ ตรงที่ยากที่สุดคือ คุณภาพของ SWOT คือต้องมีความสามารถในการวิเคราะห์อนาคตได้เจ๋ง ทั้งสั้น กลาง ยาว เพราะคุณภาพในการวิเคราะห์สมัยนี้ไม่ได้ง่ายเหมือนสมัยก่อน เพราะสมัยนี้โลกเปลี่ยนแปลงเร็ว คุณสมบัติสมัยก่อนคือ เอาอดีต ปัจจุบัน มาวิเคราะห์อนาคต แต่ใน 20-30 ปีมานี้ เริ่มประมาณปี ค.ศ. 1980 โลกเข้าสู่ยุคดิจิทัล สภาพแวดล้อมไม่ได้เป็นเหมือนเก่า โลกเปลี่ยนไปเร็วมาก เข้าสู่ยุคโลกแบน สิ่งต่าง ๆ ไม่เหมือนเดิม แต่คนคิดยังเหมือนเดิม

          สิ่งที่ยากที่สุดคือความสามารถในการเห็นการเปลี่ยนแปลงที่เจ๋งคือการมอง SWOT เป็น

          Strategic Gap คือช่องว่างเชิงกลยุทธ์ คือช่องว่างระหว่างทิศทางไม่ตรงกับการเปลี่ยนแปลง หัวใจสำคัญที่เป็นปัญหาที่ทำให้การบริหารยากมาก ระบบคิดของคนปรับไม่ทัน

          Key Success Factor ในการบริหารจัดการสู่ความสำเร็จที่สำคัญคือ

                   1. การพัฒนาระบบคิด Mindset คือ Rethinking the future  Paradigm Shilft ในการสามารถวิเคราะห์ SWOT ได้เจ๋ง ต้องฝึกให้มองบางสิ่งที่คาดไม่ถึง สอนให้มองข้ามช้อต มองอนาคตได้เจ๋ง และวิเคราะห์ได้แม่นยำ มองเห็นสั้น กลาง ยาว 

                   2. ต้องรู้ตัวเอง  ระวังกับดักที่คุณเชื่อในสิ่งที่ตัวได้ยิน ได้เห็น เชื่อตามสิ่งที่รัก เพราะสิ่งนี้จะเป็นอุปสรรคคือ Obstacle อย่างโกดักเจ๊งเพราะการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของ SWOT คิดว่าจะสามารถยืดเวลาได้ แต่ไม่ทัน  ระวังอย่าเชื่อคนง่าย ๆ กับดักได้แก่ กับดักจากมองจากตัวเอง กับดักความเคยชินกับสิ่งที่เป็นอยู่ และกับดักจากประสบการณ์ในอดีตและปัจจุบันคิดว่าจะสามารถมาใช้ได้ในอนาคต ณ ตอนนี้ต้องศึกษาอนาคตเพราะโลกเปลี่ยนไปเร็วมาก ถ้าคิดจะเปลี่ยนต้องเปลี่ยนตั้งแต่วินาทีนี้

                    3. อย่าเคยชินกับสิ่งที่เป็นอยู่ แล้วไปว่าคนอื่น เราต้องรู้ว่าตัวเองและทุกคนไม่ได้โง่ แต่มีหลายคนชอบมองคนอื่นที่คิดไม่เหมือนตัวเองว่าโง่ ทั้ง ๆ ที่เป็นอัจฉริยะ  เช่น คนมองกาลิเลโอโง่ เพราะบอกว่าโลกกลม พูดในสิ่งที่ไม่ตรงกับเขา หรือเจ้ไฝช่วยประเทศไทย  จากผัดไทยจากละ 30 ขายได้ 300 บาท แต่คนไทยไม่รู้ว่าเขาเป็นอัจฉริยะมัวไม่ว่าเขา  Jiffy จับมือกับปั๊มน้ำมันที่มีห้องน้ำสะอาด และได้มีการวัด KPI

 

 

 

          สรุป

                   1. วิเคราะห์ SWOT ได้

                   2. วางทิศทาง เช่นการเข้าสู่ดิจิทัลจะทำอย่างไร โลกจะเข้าสู่ 5 Gแล้วจะกระทบอะไรกับเราบ้าง อย่างประเทศไทยแก้เกมส์โดยวางยุทธศาสตร์ 4.0

                   3. การวางกลยุทธ์ แต่อย่างไรก็ต้องวิเคราะห์ SWOT

          สิ่งที่เราควรทำคือการพัฒนาคนในองค์กรให้เป็น Strategic Thinker เพราะโลกวันนี้เกิดการเปลี่ยนแปลงเยอะมากและเราหนีไม่พ้น

 

          การเปลี่ยนแปลงของตัวเอง

          - ต้องไม่มองจากตัวเองเพราะตัวเองคือมนุษย์มีความผิดพลาด มนุษย์เป็นสัตว์ประเสริฐ เพราะเรามาจากลิง มนุษย์มีความชั่วอยู่ในนั้น ทฤษฎีกรีก กล่าวว่ามนุษย์มีจุดด่างพร้อย และบางครั้งไม่รู้ตัว และการมองจุดด่างพร้อยต้องมองจากสีหน้าของคนอื่น แล้วมาวิเคราะห์ว่าเรามีจุดด่างพร้อยตรงไหนบ้าง เช่น ลูกต้องเข้าใจ   ลูกว่าเขาชอบอะไร อยากเรียนอะไร ทำงานอะไร ไม่ใช่บอกให้ลูกทำตามเรา

          - ไม่เชื่อคนอื่น เช่นบอกว่าคนรวยไม่โกง วิธีการพิสูจน์และกลั่นกรองใช้สัญชาตญาณในการสร้างสัมพันธ์ นาย ก.รวยไม่โกง นาย ข.รวย โกง นาย ค.รวย ไม่โกง นาย ง.รวยโกง  แสดงว่าคนนี้พูดผิด เราต้องมองเหรียญสองด้าน

          - การมองอนาคต วิธีการฝึกมองอนาคตคือ เช่นมีเมล็ดพันธุ์อะไรจะมองเห็นอนาคตตรงนั้น การเคยชินสิ่งไหนทำสิ่งนั้น ต้องมีการปรับตัว เช่น MK มีการปรับการสั่งอาหารให้เร็วมากขึ้นโดยใช้ปาล์ม หรือร้านอาหารสมัยนี้สามารถสั่งอาหารได้จากเมนูดิจิทัลในโต๊ะอาหารเลย

 

การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลง

          คนฉลาดทำ 5% จะรู้ได้ว่าในโลกนี้มีบางเรื่องไม่สำคัญ คนฉลาดจะตัดออกจากสมองโดยเด็ดขาด ทำเฉพาะเรื่องสำคัญและเน้นเฉพาะเรื่องที่โคตรสำคัญ ในโลกนี้มีข้อมูลไม่สำคัญ ให้ทำเฉพาะ Strategic Information สิ่งที่พบคือคนที่เก่งทำกลยุทธ์เพียงไม่กี่เรื่อง เช่น ร้านอาหารทำรสชาติอาหารให้ตรงตามลูกค้าเป้าหมาย อร่อยมาก  และเน้นตรงเวลา หรือเรื่องโรงพยาบาล เน้นคุณภาพรักษาเยี่ยม และไม่เสียเวลา 5% แห่งการเปลี่ยนแปลงที่กระทบกับเรา

         ในช่วง 30 ปีที่ผ่านมา เป็นช่วง Strategic System Change ทุกวันนี้โลกมีการเชื่อมโยง  เช่น ข่าวบอกว่า นาย ก.เอาถังมาใส่ขี้ ถ้า นาย ก.ไม่บ๊อง มี 3 อาชีพที่เป็นไปได้คือใส่ปุ๋ย ทำชีวภาพ และ กทม.

          มนุษย์เราที่แท้คือสัตว์ประเสริฐ ที่เราประเสริฐขึ้นมาได้มาจาก Change คือ เมื่อมอง Change ได้จะสามารถวิเคราะห์คนได้

          เมื่อ 20,000 ปีที่แล้ว  มีบ้านเอาพืชผลมาปลูก และเอาสัตว์มาเลี้ยง สิ่งที่ตามมา คือมีคนทำตาม เกิดสังคมเกษตร มนุษย์จะหยุดเร่ร่อน มีสังคม ต้องการที่ดิน มีการบุกรุกเอาที่ดิน เกิดสงคราม ฆ่ากัน กรีกสร้างปิรามิด

          หลังจากนั้น 200 ปีที่ผ่านมา สังคมเกษตรอยู่ไม่ไหวเนื่องจากคนอยู่มาก คนคิดอะไรใหม่ ๆ       ถูกเผาทั้งเป็น คนเหล่านี้จึงกลับไปที่กรีกเนื่องจากเป็นต้นกำเนิดปรัชญา คณิตศาสตร์ ศิลปะวัฒนธรรม เชื่อว่ามนุษย์ฉลาดให้มนุษย์ออกความเห็น เกิดเป็นโสเครติสให้ออกเป็น Thesis Anti-Thesis และ Synthesis แต่ปัญหาคือโสเครติสโดนมองว่าโง่เนื่องจากไปต่อกรกับเสียงข้างมาก ทำให้โสเครติสโดนประหาร นักปราชญ์ที่ฆ่าเป็นพวกที่พูดจาไม่อยู่กับร่องกับรอย เป็นสิ่งที่ไม่จากสิ่งที่เป็นจริงแท้

          สิ่งที่แน่นอนคือแล้วแต่มุมมอง คนเหล่านี้ถูกสอนให้พูดจาต่อยหอย  เกิดการโต้วาที

          ในทุกนี้ทุกอย่างมีกรอบ มีฟอร์ม โสเครติส ลูกศิษย์คืออริสโตเติล ที่มาท้าทายว่าห้ามมองจากตนเอง ต้องมองกับคนอื่นด้วย จงทำกับคนอื่นในสิ่งที่อยากให้คนอื่นทำกับเรา คุณภาพความดี ความถูกต้องคือในสิ่งที่เป็นของคุณ      ที่กระทบกับคนอื่นด้วย ดังนั้นต้องมองมุมมองคนอื่นด้วย

          มนุษย์ที่เก่ง มนุษย์จึงควรมีเสรีภาพในการมองความแตกต่าง เสรีภาพที่อย่าไปเชื่อคนได้ง่าย      ไม่จำเป็นต้องเชื่อโป๊ป สามารถสื่อสารกับพระเจ้าได้ เกิดคริสตัง คริสเตียน เกิดนักทฤษฎีต่าง ๆ มากมาย และทำให้เกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรม และเมื่อมนุษย์ฉลาด สอนให้เกิดความเชื่อมโยง ทุกอย่างสามารถเชื่อมโยงกันได้ ในการเชื่อมโยงเหล่านี้ มาจากกรีก คนโง่มองแยกส่วน คนฉลาดมองเชื่อมโยง ทุกคน       มีเหมือนกันหมด แล้วแต่มุมมอง เกิดการวิเคราะห์เชื่อมโยง เช่นแอปเปิ้ลทำไมถึงตก เซอร์ไอแซก นิวตัน ต่อยอดเป็นนวัตกรรม และเกิดสิ่งต่าง ๆ มากมาย เป็นต้น

          ยุคที่ 1 การเปลี่ยนแปลงเกษตร 10,000 กว่าปี 

          ยุคที่ 2 ยุคอุตสาหกรรม ที่กำเนิดโดยแนวคิดเซอร์ไอแซกนิวตันกำเนิดยุคอุตสาหกรรม

          ยุคที่ 3 ดิจิทัล โลกมีแรงดึงดูด ถ้าโลกไม่มีแรงดึงดูดกับพระอาทิตย์ทำไมไม่ชนกัน ที่ไม่ชนเพราะมีสนามแม่เหล็ก กำเนิดแนวคิดด้านนี้โดย ไอน์สไตล์นำกำเนิดยุคดิจิทัล

          ยุคของการปฏิวัติอุตสาหกรรม

          ปัจจุบัน กำลังเอาเรื่องดิจิทัล ไปพบกับไบโอเทค เป็นเมล็ดพันธุ์ที่เกิดขึ้นในแต่ละปี เปลี่ยนแปลงที่เร็วและรุนแรงมากขึ้น  การซื้อของผ่านทางอินเทอร์เน็ต เช่น Amazon อ่านข่าวต่างประเทศต่าง ๆ ทำให้ร้านหนังสือที่มีอยู่เจ๊งได้ อาชีพนักข่าวกำลังมีปัญหา เพราะทุกคนสามารถเป็นนักข่าวตัวเองได้ เทเลคอมนำสู่การเชื่อมโยง Intranet Internet เกิดการเชื่อมโยงอย่าง โลกาภิวัตน์ทำให้ประเทศฉลาดขึ้น แต่ในไทยสิ่งที่พบคือหลังดิจิทัล อัตราการเติบโตของไทยน้อยลง โลกเปลี่ยนจากสนามรบเป็นสนามการค้า มีการรวมตัวเกิดการตั้งเขตการค้าเสรีใน 4.0

          1. Economic Corridor ถ้าประเทศไหนมีการจัดตั้งเขตการค้าเสรี หมายถึงรัฐบาลทั้งสองประเทศจะต้องร่วมมือกัน ประเทศต่าง ๆ ต้องมีการปรับปรุงถนนหนทาง เช่น IMT-GT และ GMS ทั้งหมดมี 3 ระเบียงคือ ตะวันออก-ตะวันตก  เหนือ-ใต้

          2. โครงการการเชื่อมโยงกับประเทศจีน

          3. RCEP การเชื่อมโยงกับอาเซียน+3 +6 คือ 16 ประเทศรวมตัวเป็นเขตการค้าเสรี จะเหมือนกำแพงเดียวกันภาษีเหลือ 0  ประเทศไทยเกิดการขยายตัว เนื้อที่ในการแข่งขันมากขึ้น แต่ละประเทศกำลังพัฒนาถนนหนทาง หนึ่งในนั้นคือการขยายการค้าชายแดน ซึ่งจะพุ่งอีกหลายร้อยเปอร์เซ็น  แม่สาย-ท่าขี้เหล็ก กาญจนบุรี น้ำพุร้อน –นราธิวาส หนองคาย นครพนม  การเชื่อมโยงกับระยอง ชลบุรี ฉะเชิงเทราเชื่อมโยง Eastern Seaboard และเข้าสู่ดิจิทัล เกิดผลกระทบต่อการเมือง ชุมชน ซึ่งการเคหะฯ ต้องเกี่ยวข้องมาก Smart City เป็น Antropotism ไม่ใช่แค่เครื่องจักร แต่เป็นการเชื่อมทั้งหมด ต้อง Smart Environment , Smart Neighborhood ฯลฯ การเคหะฯ ต้องเชื่อมโยงสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ให้ดี  ยกตัวอย่างรายได้แสนสิริลูกค้ามาจากต่างประเทศ รายได้ของเจ้ไฝ ลูกค้ามาจากต่างประเทศ

          ปฏิวัติอุตสาหกรรมยุคที่ 4 เกิด Internet of Things รถไม่มีคนขับ เรือไม่มีคนขับ เกิดลักษณะการ Sharing Economy บ้านให้เช่า Robot นำไปสู่การตกงานของแต่ละแห่งมากมาย ในขณะเดียวกัน  มีการสร้างงานใหม่เกิดขึ้น มี Big Data สามารถวิเคราะห์พฤติกรรมของลูกค้าได้ด้วย รู้เส้นทางของลูกค้าที่เดินและไม่จบ และคนที่ฉลาดกว่านั้นจะสามารถสร้างลูกค้าได้เลยเกิด Blue Ocean และมีคนคิด     สายการบินราคาถูก คนที่เป็นต้นกำเนิดคือ South East Airline โลกเหล่านี้เปลี่ยนแปลงตลอด อยากรู้อะไรติดต่อ Google ได้หมด วันนี้โลกกำลังเปลี่ยน Internet of things สามารถอยู่อีกที่แต่สามารถ     กดรีโมทไปอีกที่ได้

          Material Science ถ้าปรับไม่ดี จะไม่สามารถทราบว่ามีสินค้าทดแทน อาจปรับไม่ทัน เช่น บ้านอาจเกิดการเช่าเป็นสำนักงานอยู่แค่วันเดียว

          ใช้ Genome เปลี่ยนคน สังคมโลกเปลี่ยน โลกเกิดการแข่งขันทุก 2,000 ปี ดังนั้นการวางแผนการเคหะฯ ไม่ใช่แค่ Aging หรือไม่ เกิดการเปลี่ยนแปลงมหาศาล ลักษณะของบ้านก็จะต้องเปลี่ยนแปลงไป  การเคหะฯ ต้องปรับให้ทัน

          From digital to 4th  Industrial revolution : Financial Transformation

                    1. E-Commerce นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงเยอะมาก ตัวอย่างคู่แข่งของ E-commerce คือ Zara ที่ราคาถูก ดังนั้น E-Commerce คือตัวช่วย แต่ขึ้นอยู่กับตัวสินค้าด้วย

                    2. E-Banking

                    3. Fintech

                    4. Blockchain คือสมุดบัญชีบันทึกรหัส หลายธุรกรรมเรียกว่า Blockchain   

ยกตัวอย่าง Starbucks 1. สร้าง Platform ให้คงเส้นคงวาตามกลุ่มเป้าหมาย แต่ละวันจะมีการทำให้คงเส้นคงวา  และ 2. บ้านที่มีความสุขด้วยกลยุทธ์คือ จะทำให้ลูกค้ารู้สึกมีความสุขเหมือนอยู่บ้าน อย่าเรียกลุง ป้า น้า อา แต่เรียกคุณลูกค้า และต้องรู้ใจลูกค้า จำลูกค้าได้ทำอย่างเดียวแบบโอเรียลเตล คือการขายสิ่งที่จับต้องไม่ได้  3. กำลังเข้าสู่ Fintech สามารถให้ลูกค้าฝากเงิน และให้กู้เงินซื้อสินค้าได้ด้วย

          โลกกำลังน่ากลัวมาก ดังนั้นสิ่งที่เกิดขึ้นคือ เราต้องการหลักประกัน ที่ทุกอย่างอยู่ใน Blockchain มีระบบ Cloud funding คือการระดมเงินลงทุนมาสามารถแข่งกับแบงค์ต่าง ๆ

 

การบริหารในยุค AEC โดย คุณพูลสวัสดิ์ เผ่าประพัฒน์

          องค์กรไหนที่ไม่ทำนวัตกรรมอาจจะอยู่ยากขึ้นเพราะในวันนี้ทุกประเทศคุยแต่เรื่องนี้ โลกเปลี่ยนแปลงเร็วมาก ไม่ได้เปลี่ยนแปลงเฉพาะสินค้าแต่มีวิวัฒนาการใหม่ ๆ ตลอดเวลาพฤกษา เรียลเอสเตทเริ่มต้นธุรกิจตั้งแต่สมัยต้มยำกุ้ง ปัจจุบันเป็นอันดับ 1 ด้านธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ของภาคเอกชน 60,000 ล้านบาท แม้แต่บริษัทชั้นนำในอเมริกา อายุสั้นลง ในอดีตเฉลี่ยอายุในองค์กร 67 ปี ปัจจุบันเหลือแค่ 1.5 ปี ที่เป็นเหตุนี้เกิดอะไรขึ้น อย่างในบ้านเราอายุบริษั่ทสั้นลงเป็นเพราะอะไร

 

          Sustainable Organization  ปัจจัยที่ทำให้องค์กรอายุยืน

                   1. พัฒนาบุคลากร         2. พัฒนาสินค้า

                   3. พัฒนาเทคโนโลยี       4. ผลกระกอบการดี

          เรื่องแรกที่ต้องทำในธุรกิจ Input Process Output หมายถึง ยอดขายหรือกำไรขึ้นลง สาเหตุที่เปลี่ยนไปเพราะอะไร Input เปลี่ยน ความต้องการของลูกค้าเปลี่ยน ตลาดที่เคยเป็นของเราเป็นตลอดหรือไม่ เพราะมีคู่แข่งรายใหม่เกิด เทคโนโลยีเปลี่ยน กระทบหรือไม่ หลายอย่างสิ่งที่เกิดขึ้น สิ่งที่ตามมาจะเกิดผลทันที ดังนั้นสิ่งที่เราสามารถบริหารจัดการได้คือ Process

          การมอง Input และ Output การบริหารจัดการที่เป็น Process จะทำอย่างไร สิ่งสำคัญคือคนของเราพร้อมที่จะปรับ พร้อมที่จะเปลี่ยน ถ้าเราไม่เปลี่ยนไม่ปรับแสดงว่าทุกอย่างเป็นตามยถากรรม

 

          องค์กรมี 2 แบบคือ องค์กรที่เรียนรู้ และไม่เรียนรู้

          A : องค์กรที่ไม่เรียนรู้จะมีของเสียมาก เหมือนปลาตู้ เบื่องาน ไม่มีความคิดสร้างสรรค์ ต่างคนต่างทำ

          B : องค์กรที่เรียนรู้คือองค์กรที่ปรับตัวเร็ว ทำงานเป็นทีม ประสิทธิภาพ ความยืดหยุ่น การถ่ายทอด

          องค์กรที่เรียนรู้คือจะรู้ที่มาและรู้ Process สามารถตอบคำถามได้ ทำงานอย่างรู้เหตุ รู้ผล แล้วคนจะ Smart คือจะเลือกทำในสิ่งที่ควรทำ ทำให้องค์กรเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ ตลอดเวลา

          องค์กรที่ไม่เรียนรู้ คือไม่รู้ว่ามาอย่างไร รู้แค่ผลลัพธ์ที่เกิดแล้ว ไม่สามารถตอบได้ว่าที่มาที่ไปเป็นอย่างไร รู้เฉพาะที่งานที่รับผิดชอบ

          เมื่อรู้เป้าหมายแล้วเราจะรู้ว่าจะจัดการสิ่งใดก่อน  สิ่งเหล่านี้หมายถึงถ้าเราเป็นนักเรียนประเทศเรียนรู้ เราจะต้องมีข้อมูล และต้องคุ้มค่า ทำให้เราเห็นการจัดการที่ง่ายขึ้น ไม่ใช่หลับตาเดิน

          องค์กรส่วนใหญ่จะรู้ว่ากระบวนการที่นำไปสู่การที่ลูกค้า Happy หรือไม่ มีกระบวนการสำรวจความพึงพอใจ แต่เราจะใช้สำรวจแบบไหน เช่นร้าน 7-eleven ในญี่ปุ่นใช้ผู้จัดการร้านสังเกต ถ้าดูแลลูกค้าดีจะดีทุกหย่อมหญ้า แต่ถ้าใช้วิธีการเทข้อมูล จะใช้เวลานาน  เช่นการจะรู้ว่าบรรยายดี ไปจ้างบริษัทมาทำสำรวจ หรือดูจากแบบประเมินจะเชื่อได้หรือไม่ แต่ที่ใช้คือการสังเกต ยกตัวอย่าง Steve Job กล่าวถึงการออกแบบโทรศัพท์ มองความต้องการลูกค้าว่าอยากได้อะไร

          การขายสินค้าราคาแพงสามารถขายได้อย่างไร อยู่ที่กระบวนการที่สามารถขายของได้ในราคาแพง เช่น หลุยส์วิตตอง นาฬิกา

          ถ้าอยากให้บ้านการเคหะฯ ขายแพงขึ้นจะทำอย่างไร กระบวนการสร้างแบรนด์ของการเคหะฯ ทำอย่างไร แบรนด์อาจเกิดจาก Value ที่ลูกค้ายอมรับในของดี ราคาถูก เช่น นกแอร์ หรือแอร์เอเชีย  แต่ละคนจะมีจุดยืนของตัวเอง แต่โดยส่วนใหญ่สุดยอดของแบรนด์คือขายแพงแล้วขายได้ และจะทำให้แบรนด์มี Value สูง แบรนด์เติบโตเร็ว และขายดีทำอย่างไร

          - ลดต้นทุน กำไรมากขึ้น ถ้าอยากให้ยอดขายโต และกระบวนการโต

          - สร้างความแตกต่างทางนวัตกรรม ความสำคัญของนวัตกรรม ประเด็นอยู่ที่เราไม่โปรโมท ซึ่งถ้าทำดี ๆ จะมีเวทีเกิดขึ้นจำนวนมาก เอาจุดแข็งของหลายหน่วยงานมารวมกัน ยกตัวอย่าง บริษัท Impossible Burger คิดนวัตกรรมผลิตเบอร์เกอร์ที่ไม่ทำจากเนื้อสัตว์ ได้พัฒนา รส สี กลิ่น แต่ประเด็นคือจะทำให้คนเชื่อ Convince ได้อย่างไร ถ้าจะทำแพงต้องขาย Ron Mark

          กรณีการสร้างบ้านแบบ Knock down ที่มีความรวดเร็วมากที่ตะวันออกกลาง  เราใช้เวลาสร้างบ้านกี่วันในการทำบ้าน 1 หลัง พฤกษาใช้ 45 วัน คอนโด 30 ชั้นใช้เวลาไม่ถึง 1 ปี แต่ที่จีนสร้างคอนโด 30 ชั้นได้ประกอบคอนโดได้ภายใน 15 วัน (มีการเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการสร้างเรียบร้อยแล้ว)  ที่มีการออกแบบและ test แผ่นดินไหวแล้ว Innovation ไม่ใช่เรื่องไกลตัว แต่เป็นเรื่องของเรา

 

          การนำเสนอสินค้าและบริการ

                   1. ตอบความต้องการเขา ขายได้

                   2. ตอบความต้องการเขาไม่ได้จะทำให้ของเหลือ และลูกค้าจะบ่นว่าสิ่งที่อยากได้ทำไมไม่ทำ ที่ทำมาไม่อยากได้ ประเด็นคือเราพร้อมจะเปลี่ยนหรือยัง  ถ้าเปลี่ยนเพื่อตอบโจทย์ลูกค้าจะมีนวัตกรรมที่ตอบโจทย์ลูกค้า แต่ถ้าไม่ตอบโจทย์ลูกค้าจะเรียกว่านักประดิษฐ์แล้วอาจขายไม่ได้ เราต้องเปลี่ยนความคิดให้ลูกค้าเป็นศูนย์กลาง เรากลับไปหาลูกค้าแล้วจะได้ลูกค้า นวัตกรรมคือการเปลี่ยนความคิด ยกตัวอย่างคอนโดที่จีน ทุกอย่างถูกวางไว้ล่วงหน้าหมดแล้ว สามารถใช้เวลาได้ภายใน 15วัน

          Unicorn Start up Company อาทิ  

          1. Grab Taxi เป็น Unicorn  หมายถึง Start up ที่มีการระดมทุน 1,000 ล้านเหรียญ หรือ 35,000 ล้านบาท

          2. เทรเวลโลก้า ก็คือ Unicorn ที่เป็นมูลค่าเช่นเดียวกัน

          3. Uber เป็นลักษณะของผู้โดยสารที่อยากไปไหน เช่นถ้ามีรถจะไปจุดหนึ่ง แล้วเอาผู้โดยสารมาแชร์คอร์สจะเป็นอีกแบบหนึ่ง แต่ Uber ไทยคือการเรียกรถว่าจะไปไหน

          กรณี 2 ตัวอย่างนี้บอกว่าเราอยู่เฉย ๆ ไม่ได้

          4. Ant Finance เบื้องหลังคือบริษัทของ Jack Ma ปล่อยเงินกู้ผ่าน Ali Pay ซึ่งจะ Link กับ Bitcoin ต่าง ๆ ในขณะที่ทำเรื่องนี้ เขาได้บอกว่าทำ CSR ให้กับโลกใบนี้ได้เท่าไหร่ด้วย  ล่าสุดฮ่องกง กับเขาจับมือกัน  และได้ข่าวว่าจับมือกับ CP

          สรุปคือ เรามีสิ่งที่เราไม่รู้เยอะมาก และเกี่ยวกับตัวบุคคลด้วยเอาข้อร้องเรียนของลูกค้ามาทำให้เป็นประโยชน์

          5. DJI เป็นบริษัทของจีน ขาย Drone ไปทั่วโลก สามารถทำให้สิ่งที่เป็นของเล่นกลายเป็นธุรกิจใหญ่โต  มีบริษัทหนึ่งทำหนังสือออนไลน์ที่รวบรวมเกี่ยวกับ Start up อยู่ใน Inc. มีเรื่องใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นในโลกทุกวัน และถ้าใครต้องการข้อมูลเชิงลึก สมัครเป็นสมาชิก บริษัทจะได้รายได้จากค่าสมาชิก

          6. Airbnb คือการสร้างรายได้จากห้องว่างของคุณ มีคนนำมาเขียน Platform เป็นหนังสือให้คนไทยสามารถเข้าถึงสิ่งเหล่านี้ได้

 

          TQA/SEPA

          กระบวนการที่สำคัญมีกระบวนการสำคัญอะไรบ้างที่ทำด้านนี้ เคยมีการให้ comment ว่าเป็นการประเมินกระบวนการ จะทำให้เป็นการเรียนแบบประเภท B ไม่ใช่แบบ A คือ ไม่รู้เหตุรู้ผลแต่ละ Checklist มีคำถามที่สำคัญ แล้วมาประเมินแต่ละหัวข้อ แต่ละองค์กรจะไม่เหมือนกัน จะทำให้รู้ว่าปัญหาของเขาที่เป็นอย่างนี้ กระบวนการไหนดีแล้ว กระบวนการไหนที่ยังไม่ได้ทำ มีการจำลององค์กรว่าให้ทุกคนอยู่ในองค์กรเห็นภาพรวมแล้วมาช่วยกันดู ซึ่งการประเมินที่ได้ออกมาจะนำไปสู่คะแนน และจะบอกคะแนนนักเรียนที่เรียนรู้ได้เร็วจะรู้จากผล ยกตัวอย่างเช่นสิงคโปร์จะดูที่หมวด 7 ก่อน คือเน้นที่เรื่องคน และจะทำให้เราทำงานให้ง่ายขึ้น ผลลัพธ์กับกระบวนการจะต้องเชื่อมกัน วิธีการควบคุมให้ได้ผลลัพธ์ไม่ใช่วิธีการให้ได้กระบวนการ

          โปรเจคปรับปรุง SEPA ย้อนศร โอกาสในการปรับปรุงองค์กร

          TQA / SEPA เรื่องที่สำคัญมี 6-7 เรื่องเท่านั้น ทำแต่ละเรื่องให้ชัดเจนให้เป็นสีเขียวและผลลัพธ์จะดีเอง 

          1. การนำองค์กร                 2. แผนกลยุทธ์          3. ลูกค้าและตลาด              

          4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้   5. ทรัพยากรบุคคล    6. กระบวนการทำงาน

          7. ผลลัพธ์

                   ความสำคัญของวิสัยทัศน์ และพันธกิจขององค์กร ตัวอย่าง Google วิสัยทัศน์ว่า “จัดระเบียบ ข้อมูลของโลก และทำให้มันเป็นสากล สามารถเข้าถึงได้และมีประโยชน์”

                    - มองคนในโลกเป็นลูกค้า

                     Apple ของ Steve Job วิสัยทัศน์ว่า “นำประสบการณ์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่ดีที่สุดไปสู่นักเรียน นักศึกษา ผู้เชี่ยวชาญ และผู้บริโภคทั่วโลก โดยการนำเสนอนวัตกรรม ของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ โปรแกรม และเครือข่ายอินเตอร์เน็ต

                    Apple ของ Steve Job – เอาอุปกรณ์มาหาข้อมูลให้คนใช้มากขึ้น นวัตกรรมคือ Software ที่สามารถทำสิ่งที่คาดไม่ถึง มีอุปกรณ์ไม่กี่ชิ้นขายให้คนทั้งโลกใช้ ทำน้อยแต่ได้ผลเยอะ นำอุปกรณ์มาประยุกต์ในแต่ละพื้นที่ สิ่งที่เกิดขึ้นคือมีการติดตามผลลัพธ์ ถ้าดูจากกราฟเราจะเห็นอะไรเป็นดาวเด่นใน Apple คือ I-Phone สร้างประโยชน์ให้ธุรกิจเกือบ 50% ดังนั้นการดูผลลัพธ์สำคัญ

                    I-Pad ประสบความสำเร็จน้อยเพราะว่าเจอ Sumsung  ความสำเร็จเบื้องหลังคือ Software

          ตัวอย่าง-วิสัยทัศน์

          1. เราคือครัวของโลก     2. เราคือธุรกิจตัวแทนของความรัก

          3. เราคือธุรกิจที่ช่วยให้ทุกคนมีสุขภาพดี   4. เราให้บริการความสะดวกกับทุกชุมชน

          เราต้องจับให้ได้ว่าธุรกิจเราจะมีแนวร่วมอะไร หมายถึง เราจะมีแนวร่วมเยอะ

ตัวอย่าง CPAll  

          วิสัยทัศน์ “เราให้บริการความสะดวกกับทุกชุมชน”

          พันธกิจ “มุ่งสร้างความผูกพันกับลูกค้าด้วยสินค้าและบริการที่เปี่ยมด้วยนวัตกรรม พร้อมทั้งสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับชุมชนและสังคม”

          ปรัชญาองค์กร “เราปรารถนารอยยิ้มจากลูกค้า ด้วยทีมงานที่มีความสุข”

CPAll Innovation Center

          วิสัยทัศน์ “เราคือสะพานเชื่อมนวัตกรรมไปสู่ตลาด”

          วิสัยทัศน์ “การเคหะแห่งชาติเป็นองค์กรหลักด้านการพัฒนาที่อยู่อาศัย ชุมชนและเมืองเพื่อความมั่นคงและยั่งยืนของสังคมไทย”

เราต้องปรับปรุงสิ่งใหม่ให้ดีกว่าเดิม เมื่อโยนนวัตกรรมไป คือไม่ทำไม่ได้ ต้องสร้างให้อยู่ที่ DNA และเป็นภาพใหญ่ เพราะจากวิสัยทัศน์นึกไม่ออกว่านวัตกรรมคืออะไร ถ้าปลายทางไม่ทำ Innovation จะยั่งยืนได้อย่างไร ทุกสิ่งในหลายอาชีพจะถูกแทรกด้วยนวัตกรรม AI มาทำในหลายอาชีพ และคนจะอยู่ได้อย่างไร ยกตัวอย่างหมากล้อม AI ชนะคนแล้ว เพราะ AI แพ้คนเป็นล้าน ๆ ครั้ง แล้วเขาได้เติมเต็มประสบการณ์หมายถึงแพ้จนไม่มีสิ่งที่จะแพ้อีกแล้ว AI เลยชนะคน คาดว่าในอนาคต คนเหล็กมาแน่นอน เราสามารถทำให้นวัตกรรมเป็นรูปธรรมได้หรือไม่ คือเอางานมาปรับปรุงจะเกิดสิ่งใหม่

          การเป็น Smart City ต้องมีการบูรณาการกับหลายหน่วยงาน อาทิ Public Transportation, IT Connectivity , Water, Power Supply, Sanitation, Solid Waste Management, Urban Mobility, E-Governance, Citizen Participation ยกตัวอย่างบ้านพลังงานแสงอาทิตย์ แนวคิดประเทศไทย 4.0

          แต่ก่อนขายวัตถุดิบ กำไรไม่ได้อยู่ที่เรา ต่อมารับจ้างผลิต เน้นต้นทุนต่ำ มาที่ยุคนวัตกรรม เน้นรายได้ ในมีค.ศ. 1960 รายได้คนสิงคโปร์เป็น 4 เท่าของคนไทย ปีค.ศ. 1990 รายได้คนสิงคโปร์ 8 เท่าของคนไทย ปีค.ศ. 2014 รายได้คนสิงคโปร์เป็น 10 เท่าของคนไทย   ความจริงแล้วรายได้ของคนไทยก็เพิ่มขึ้น แต่เราก็ไปทำให้คนประเทศอื่นรวยกว่า สิ่งที่อยากเปลี่ยนคือสินค้าของไทยคือที่เน้นต้นทุนต่ำอาจไปไม่รอด ปรับสู่สินค้าที่เน้นมูลค่าเพิ่ม

          ยกตัวอย่าง เราจะทำเสื้ออะไรที่ขายแพงกว่า Nike ได้ เราต้องคิดนวัตกรรมให้กับเสื้อตัวนี้ เราถึงขายได้ดีกว่า Nike แต่ต้องขายให้ถูกกลุ่มลูกค้าได้

          4.0 คือทำอะไรที่แตกต่าง มีมูลค่า และขายให้ได้แพงกว่า ยกตัวอย่างกระดาษชานอ้อยคือ ผู้บริโภคไม่ต้องได้อันตรายจากสารพิษ และสามารถย่อยสลายลงดินได้โดยไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม

Solar City :Tesla  เป้าหมายในการติดตั้ง Solar Cells บริษัทผลิตรถยนต์ไฟฟ้า ในขณะที่รถยนต์ไฟฟ้าผลิตไม่ทัน ก็ผลิต Solar Cell ฝังโซล่าเซลล์ไปในหลังคากระจก

          วิสัยทัศน์เปลี่ยนเป็น Energy Company บ้านทุกบ้านผลิตไฟ สถานีรถไฟฟ้า ในไทย ปตท. เริ่มทำแล้ว

 

          แนวทางในการสร้างสรรค์นวัตกรรม

          นวัตกรรม = ความต้องการของตลาดและลูกค้า + ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ + เทคโนโลยี

Product Innovation   : คิดเรื่องสินค้าที่ลูกค้าต้องการ

          1. สินค้าที่ลูกค้าถามหา แต่เราไม่มีขาย

          2. สินค้าที่เราขาย แต่ลูกค้าไม่รู้

          3. สินค้าที่ขายดีในต่างประเทศ แต่เรายังไม่เคยขาย

          4. สินค้าที่ขายไปแล้ว ลูกค้ายังไม่พอใจ

          5. สินค้าที่เกิดปัญหากับลูกค้าบ่อย ๆ

Service Innovation   : คิดเรื่องความสะดวกของลูกค้า

          1. บริการที่ลูกค้าถามหา แต่เราไม่มี

          2. บริการที่มี แต่ลูกค้าไม่ค่อยได้ใช้

          3. บริการที่ลูกค้าต้องรอนาน

          4. บริการที่ทำไปแล้ว แต่ลูกค้ายังไม่พึงพอใจ

          5. บริการที่เกิดปัญหากับลูกค้าบ่อย ๆ

Process Innovation   : คิดเรื่อง  QCD

          1. ทำให้การทำงานรวดเร็วขึ้น

          2. ทำให้ต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายลดลง

          3. ทำให้ประสิทธิภาพการทำงานดีขึ้น

          4. ทำให้การส่งมอบสินค้าและบริการดีขึ้น

          5. ทำให้ประสิทธิผลของการทำงานดีขึ้น

Business Model Innovation   : คิดเรื่องโอกาส กลยุทธ์ขององค์กรและความสามารถในการแข่งขัน

          1. การขยายงานแบบแนวนอน

          2. การขยายงานแบบแนวตั้ง

          3. การร่วมทุน

          4. การสร้างพันธมิตรเชิงกลยุทธ์

อาทิ True + Counter Service = Online no bill

Business Model Innovation

          - การประปา + Counter Service = ประปาหน้าปากซอย

          - กรมสรรพสามิต + Counter Service = จ่ายภาษีได้ 24 ชั่วโมง

          - โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา +  Counter Service = ???

          - การเคหะแห่งชาติ + CPALL = ???

 

          AEC กับการเคหะฯ

          เสาหลักมี 3 ประการทุกประเทศต้องทำร่วมกันหมด

          เสาเศรษฐกิจ การเงินการลงทุน

          1.เพื่อตอบโจทย์ประเทศไทย 4.0 สภาพเศรษฐกิจดีขึ้น คุณภาพชีวิตดีขึ้น เพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม เป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์ที่ต้องทำ

          2. โครงการนวัตกรรมที่จะทำอะไรให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น ถ้ากฎระเบียบไม่เอื้อในเรื่องพิเศษ จะทำอย่างไรได้หรือไม่ เช่นมีโครงการต่าง ๆ ทำอย่างไรให้เพิ่มรายได้ให้กับคนในองค์กร ถ้าติดเรื่องกฎระเบียบอาจไปมองในเรื่องหารางวัลที่มาเสริมแรงเรา

          3. คนใน AEC หรือ CLMV บริษัทหาคนไปสอนแล้วสามารถไปพัฒนาคนได้หรือไม่ การเพิ่มการฝึกอบรม การเคหะฯ มีดาวเด่นด้านไหน

          4. สร้างรายได้จากที่พักของท่าน ที่พักของคนการเคหะฯ จะสร้างรายได้เสริมได้อย่างไร

 

          เสาสังคมวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม

          1. บ้านกตัญญู (สังคมผู้สูงอายุ)

          2. บ้านทันสมัย ใช้พื้นที่คุ้มค่า จิ๋วแต่แจ๋ว (Minimall)

          3. บ้านอนุรักษ์พลังงาน

          เสาการเมืองความมั่นคง

          1. การเคหะคือเครื่องมือสำคัญของรัฐบาลในประเทศ

          2. เป็นเครื่องมือการทูตระหว่างประเทศได้หรือไม่ อาทิ CLMV (การเคหะมีความเชี่ยวชาญมากกว่าประเทศใน CLMV หรือไม่ อย่างไร

          วิสัยทัศน์

          ครัวของโลก – พื้นที่ที่ปลูกเราทำอะไรได้บ้าง

          ตัวแทนของความรักและความสัมพันธ์ – พาคนออกไปต่างประเทศได้โดยไม่ควักเงินตัวเอง

          สุขภาพที่ดี (ทั้งกายและใจ) สังคม

          สิ่งแวดล้อม- อยู่ในยุทธศาสตร์ประเทศไทย 4.0

          ให้บริการความสะดวกกับทุกองค์กร- มี Application ใหม่ ๆ

          นวัตกรรม

          1. สิ่งใหม่เอี่ยม คิดใหม่ ทำใหม่ เป็นสิ่งใหม่ที่ไม่เคยมีมาก่อน

          2. นำของเก่ามาปรับปรุงให้เกิดประโยชน์ใหม่  แต่จะเป็นนวัตกรรมได้ ต้องได้ประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจ และสังคมหรือทั้งสองอย่าง

 

วันที่ 5 มีนาคม 2561

การบริหารทุนมนุษย์เชิงกลยุทธ์ (1) โดย ดร.ทายาท ศรีปลั่ง ดร.เกริกเกียรติ  ศรีเสริมโภค

หลักการและวิธีการพัฒนาขีดความสามารถบุคลากร

          แนวคิดที่ 1  Leadership Pipeline

          การเป็นผู้บริหารไม่จำเป็นต้องเรียนมาตั้งแต่ต้น Six-Passage Model ถูกพัฒนาขึ้นโดย Ram Charan, Stephen J.Drotter และ James Noel (Jossey-Bass,2001) แบบจำลองระบุถึงการสร้างการพัฒนาและการรักษาไว้ซึ่งทักษะความสามารถเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมสำหรับผู้นำภายในองค์กร แบบจำลองนี้ทำให้เข้าใจถึงทักษะภาวะผู้นำ ที่ต้องการในองค์กรในแต่ละเส้นทางของแบบจำลองนี้ จะเป็นการแสดงถึงเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นในการเติบโต ก้าวหน้าของการเป็นผู้นำ

          - เราอยู่ถนนสายไหน  คนเรามี 6 เส้นทาง เราไม่จำเป็นต้องขึ้นไปสู่ถนนสายที่สูงที่สุด

1. การเริ่มทำงานครั้งแรกจะดูแลงานที่รับผิดชอบที่ได้รับ

          - เรียนรู้งาน ทำงานที่นายสั่ง และเมื่อ 2-3 ปีจะเริ่มคล่องแคล่ว ปีที่ 3 ถ้าหลายคนคล่องแล้วมีแววสอนคนได้ ก็จะขึ้นมาเป็นถนนสายที่ 2 คือ ต้องมีการดูแลคนอื่น บริหารจัดการ Deligate งาน โค้ชงาน

          ถนนสายที่ 1 ปีที่ 1 เรียนรู้งาน

          ถนนสายที่ 2 ปีที่ 2 แสดงผลงาน

          ถนนสายที่ 3 ปีที่ 3 เชี่ยวชาญ ถ่ายทอดงาน

          ถนนสายที่ 4 ปีที่ 4 เปลี่ยนงาน เรียนรู้ใหม่

          ถนนสายที่ 1 ถ้ามีตำแหน่งว่าง อาจเข้าสู่ถนนสายที่ 2 ยังไม่มีลูกน้อง แต่เมื่อโตขึ้นจะเข้าอยู่ถนนสายที่ 3 มีลูกน้อง ต้องบริหารงบประมาณ ทำBudget การใช้เกี่ยวกับเงิน  หลังจากนั้นสู่สายที่ 4 ต้องมองวิสัยทัศน์

          สรุปถนนแต่ละเส้น ถ้าเรามีทักษะ ความรู้ และทัศนคติที่ดีก่อนล่วงหน้า เราจะเตรียมพร้อมได้ดีกับตำแหน่ง ถ้าในบริษัทที่เคี่ยวมาก ๆ จะจัดคอร์สอบรมโดยการฝึกปฏิบัติในงานจนเป็น

                    1. Pre คือการอบรม 100 วันก่อนดำรงตำแหน่ง (เรียนรู้งานล่วงหน้าก่อนจะไปตำแหน่งใหม่)

                    2. Post คือผลงานที่ทำหลังจากดำรงตำแหน่ง 100 วัน (วางผลงาน 30 วัน 90 วัน 100 วัน)

          ถนนสายที่ 6 จะดูทั้งองค์กร อย่างคนที่ Rotate ไปหลายหน่วยงาน เป็นคนที่รู้ทั้งงานและคน เกิดความคุ้นเคยกัน

          การ Rotate แต่เด็กจะช่วยทำให้เรารู้ทั้งงานและคน

          ทางจิตวิทยาเอริสันพูดว่า เมื่ออายุ 45 ปี แล้วยังมีประเด็นกับอาชีพตัวเอง จะไม่มีความสุข คนที่มีความสุขความไม่สำเร็จในงานให้วางได้แล้ว มุ่งสู่การสร้างผลงาน และอภัยคน

          IDP สร้างให้เราเก่ง แต่ IDP แต่ละขั้นมีกิจกรรมไปสร้างองค์กรอย่างไร เพราะการพัฒนาเน้นว่า ยิ่งโตเราต้องไปช่วยคนอื่นในเชิงจิตวิทยาจะได้รู้จักนิสัยคน เป็นการพัฒนาเพื่ออยู่กับคนและช่วยเหลือองค์กร เมื่อเราโตขึ้นเราจะเริ่มพัฒนาตนเอง และพัฒนาคนอื่นด้วย

          ยิ่งโตมากขึ้นจะฟังคนมากขึ้น และฟังอย่างเข้าใจหรือฟังไม่เป็นคือไม่เข้าใจคนอื่น ถ้าพัฒนา IDPแบบ Self Centric จะทำให้เกิด Ego มากขึ้น

          การโตจะทำให้เราเรียนรู้มากขึ้น อยู่กับธรรมชาติมากขึ้น สรุปคือ1.พัฒนาตนเอง 2. พัฒนาคนอื่น และ 3. พัฒนานอกองค์กร

          การพัฒนา IDP ให้เอางานมาพัฒนาด้วย

          - ผลงานที่ Process ที่ดีขึ้น ก็ฝากไว้สำหรับองค์กรเลย

          - มี Cross Functional Project เกิดปัญหาหรือกรณีที่ติดขัด ต้นเหตุเกิดจากอีกหน่วยงานหนึ่ง เน้นการมีโครงการร่วมกัน ปรับปรุงและขจัดปัญหาเดิมร่วมกัน จะช่วยทำให้รู้จักองค์กรอื่น และรู้ว่าภาคประชาชนต้องการอะไร

          - เสร็จจะ IDP จะทำให้องค์กรดีขึ้น และผู้รับบริการดีขึ้นด้วย

          แนวคิดที่ 2 9 Box -เกณฑ์การพิจารณาการเวียนงานหรือเลื่อนตำแหน่ง

          การพัฒนาพนักงานเพื่อให้เป็นพนักงานที่มีความเก่ง (Talent) เพื่อที่จะให้พนักงานกลุ่มนี้สร้างอนาคตให้กับบริษัทต่อไป มีเครื่องมืออยู่หลายตัวที่จะเป็นตัวช่วยในการประเมินและหาคนเก่งในองค์กร ตัวหนึ่งที่ผมชอบมาก และก็ใช้อยู่ในบริษัทปัจจุบันด้วยก็คือ เครื่องมือที่เรียกกว่า 9 Box

          เครื่องมือที่เรียกว่า 9 Box ประกอบไปด้วย 9 ช่องของคุณลักษณะพนักงานซึ่งประกอบไปด้วย 2 แกน แกนแรกก็คือเรื่องของผลงาน (Performance) แกนที่สองก็คือ เรื่องของศักยภาพ (Potential)

          วิธีการใช้งาน เนื่องจากในแต่ละด้านของปัจจัยจะถูกแบ่งออกเป็น 3 ระดับคือ

                   - ด้านผลงาน จะแบ่งออกเป็น 3 ระดับคือ ยังต้องพัฒนา (Needs Improvement) ถัดไปก็คือ ผลงานได้ตามที่คาดหวัง (Meets Expectation) และดีที่สุดคือ ผลงานได้เกินกว่าที่คาดหวัง (Exceeds Expectation)

                   - ด้านศักยภาพ ก็แบ่งออกเป็น 3 ระดับเช่นกัน คือ ศักยภาพสูง (High) ถัดมาก็คือ เติบโตได้ (Growth) และสุดท้ายก็คือ มีศักยภาพที่จำกัด (Limited)

ในแต่ละละช่องก็จะมีลักษณะของพนักงานว่าถ้าประเมินแล้วตกอยู่ในช่องนี้จะเป็นอย่างไร และจะต้องดำเนินการพัฒนาอย่างไร

          High Performance, High Potential เป็นช่องของพนักงานที่เรียกว่าเป็นดาวเด่นที่สุดขององค์กรก็คือ ศักยภาพในการทำงานสูงมาก อีกทั้งผลงานที่แสดงออก ก็สูงกว่าเป้าหมาย หรือมาตรฐานตลอดเวลา (เน้นนะครับว่าตลอดเวลา ไม่ใช่เดี๋ยวดีเดี๋ยวไม่ดี) ใครที่ตกอยู่ในช่องนี้ เรียกได้ว่าเราจะต้องรักษาพนักงานคนนั้นไว้อย่างดี เพราะนี่คือคนที่จะนำพาบริษัทไปสู่อนาคตที่สดใสได้อย่างแน่นอน วิธีที่จะพัฒนาพนักงานในช่องนี้ต่อก็คือ พยายามทำให้เขาเรียนรู้งานหลายๆ ด้านมากขึ้น จากหน่วยงานต่างๆ โดยใช้วิธีการหมุนเวียน โอนย้ายงาน เพื่อให้เขาเรียนรู้งานได้มากขึ้น คนๆ นี้ไม่นานจะสามารถขึ้นเป็นเบอร์ 1 ขององค์กรได้อย่างไม่ยาก

          High Performance, Moderate Potential ในช่องนี้ก็เป็นอีกช่องที่ยังคงอยู่ในกลุ่ม Talent เช่นกัน เพียงแต่จะมีศักภาพที่สู้คนกลุ่มแรกไม่ได้ แต่ผลงานนั้นเกินเป้าหมายมาตลอดเช่นกัน การพัฒนาพนักงานใช่ช่องนี้จะคล้ายๆ กับกลุ่มแรกครับ ก็คือ สร้างศักยภาพให้สูงขึ้น โดยเน้นไปที่การทำความเข้าใจงานอื่นๆในองค์กร และเน้นไปที่เรื่องของพัฒนาการมีวิสัยทัศน์ เพื่อที่จะสามารถนำพาองค์กรไปสู่อนาคตได้

          Average Performance, High Potential กลุ่มที่ 3 นี้ก็จะเป็นอีกกลุ่มที่ถือว่าเป็น Talent อีกเช่นกัน เพียงแต่ผลงานอาจจะอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานมาตลอด แต่ศักยภาพในการพัฒนาต่อยอดนั้นมีสูงมาก การพัฒนาคนที่อยู่ในช่องนี้มักจะเน้นไปที่การหา Gap ทางด้านพฤติกรรมที่มีผลต่อผลงาน เพื่อที่จะให้เขาสามารถสร้างผลงานที่ดีขึ้นไปอีกนั่นเอง

          Average Performance, Average Potential คนกลุ่มนี้ถือได้ว่าเป็นกลุ่มที่ทำงานได้มาตรฐาน และศักยภาพก็ไม่ได้ขี้เหร่อะไร จริงๆ แล้วคนกลุ่มนี้จะเป็นคนที่เป็นกลุ่มหลักขององค์กรเลยทีเดียวครับ เรียกได้ว่า  ถ้าองค์กรมีคนในช่องนี้สัก 60-70% องค์กรก็สามารถไปสู่เป้าหมายที่ตั้งไว้ได้อย่างแน่นอนทุกปี เพียงแต่จะพัฒนาไปสู่อนาคตยากสักหน่อย เพราะพนักงานกลุ่มนี้ยังขาดศักยภาพ และขาดพฤติกรรมบางอย่างในการสร้างผลงานในระดับที่สูงกว่ามาตรฐานได้

          4 กลุ่มข้างต้นนั้นถือได้ว่าเป็นพนักงานที่อยู่ในเกณฑ์ผลงานดี ถึง ดีมาก ซึ่งถ้าองค์กรใดมีพนักงานตกอยู่ใน 4 ช่องนี้เป็นส่วนใหญ่แล้ว ผลงานขององค์กรจะพุ่งอย่างรวดเร็วมาก เพราะองค์กรนั้นมีพนักงานฝีมือดีเยอะ แถมยังมีศักยภาพที่สูงอีกด้วย ส่วนใน 5 ช่องที่เหลือนั้น ก็ถือว่าเป็นกลุ่มพนักงานที่จะต้องถูกพัฒนาอย่างแรง

          High performance, low potential กลุ่มนี้เป็นพนักงานที่สั่งงานอะไรก็มักจะได้เกินเป้า และทำงานได้ดีกว่าเป้าหมายเสมอ แต่ยังฝากผีฝากไข้ไม่ได้เท่าไหร่ เพราะขาดศักยภาพอย่างแรง (ในทางปฏิบัติอาจจะไม่ค่อยเจอนะครับ เพราะใครที่ทำผลงานได้ดีสุดๆ แต่ศักยภาพต่ำสุดๆ นั้นมันขัดๆ กันอยู่พิกล) ถ้าจะมีก็น่าจะเป็นพนักงานที่ทำงานประจำเข้านานๆ จนรู้วิธีการทำงานอย่างดีมากๆ แต่ไม่สามารถที่จะพัฒนาวิธีการทำงานของตนให้ดีขึ้นได้อีกในอนาคต พนักงานแบบนี้ต้องส่งให้เขาไปดูโลกภายนอกมากขึ้น ให้เห็นถึงความก้าวหน้า และความเป็นไปได้ต่างๆ เพื่อที่จะสร้างศักยภาพของเขาให้สูงขึ้น

          Average performance, low potential กลุ่มนี้น่าจะ make sense หน่อย ก็คือ ผลงานอยู่ในเกณฑ์เฉลี่ย แต่ศักยภาพยังต่ำอยู่มาก แนวทางการพัฒนาก็คือ ต้องคอยให้ Feedback แก่พนักงานอยู่เสมอ และดันเขาในด้านของการคิดอะไรใหม่ๆ และการแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในการทำงานด้วยตนเอง เพื่อเน้นไปที่การพัฒนาศักยภาพที่สูงขึ้น

          Low performance, High potential เป็นอีกช่องที่อาจจะมีในตาราง แต่ในชีวิตจริงอาจจะหายากสักหน่อย พนักงานที่ผลงานเข็นไม่ออก ให้ทำอะไรก็ทำไม่ได้สักอย่าง แต่กลับมีศักยภาพที่สูงมากมาย แต่ถ้าเจอเข้าจริงๆ แปลว่า เรากำลังให้คนๆ นี้ทำงานที่เขาไม่ถนัดเลยนั่นเอง วิธีพัฒนาก็คือ หาจุดแข็งของเขาให้เจอ และมอบหมายงาน หรือโอนย้ายไปในงานที่เขาถนัดนั่นเองครับ เพื่อเป็นการสร้างผลงานให้ดีขึ้นกว่าเดิม

          Low performance, Moderate potential คนกลุ่มนี้อาจจะมีมากขึ้นกว่ากลุ่มที่แล้ว แนวทางในการพัฒนาก็คล้ายๆ กับกลุ่มที่แล้วคืออาจจะวางเขาผิดที่ก็เป็นได้ ดังนั้นมองหาจุดแข็ง และความถนัดของเขา แล้วมอบหมายงานให้ตรงกับความถนัด

          Low performance, Low potential กลุ่มสุดท้าย ก็คือ ต่ำทั้งผลงาน ต่ำทั้งศักยภาพ ถ้าพนักงานคนไหนตกในช่องนี้จริงๆ ใน Model ให้ Replace ก็แปลง่ายๆ ว่า ให้เขาไปโตที่อื่น และหาคนที่เหมาะสมกว่าเข้ามาทดแทน เพราะถ้าใครตกในช่องนี้จริงๆ เราจะพัฒนาเขายากมาก ไม่ใช่พัฒนาไม่ได้ พัฒนาได้แต่ยากมาก การให้เขาไปโตที่องค์กรอื่นอาจจะเป็นทางออกที่ดีที่สุด

          แนวคิดที่ 3 Mentoring คนที่เป็น Mentor ต้องมี Authority ที่สูง แต่อย่าให้เป็นแนวตั้งมากเกินไป ต้องมีการสลับด้วย

          แนวคิดที่ 4 Coaching มี 2 แบบ โค้ชชิ่งทั่วไปคือการสนทนาให้เราคลายเครียดและเกิดความไว้วางใจมีสติของตัวเอง ให้ตัวเองไม่มีความหวาดกลัว ภาวะที่เขามาหาเราเกิดจากภาวะติดขัดต้องสร้างให้เกิดความมั่นใจ 

          โค้ชชิ่งจะเป็นแนว Hope

                    1. Process Coach  คือการทวนให้รู้ปัญหาและ และหาคำตอบด้วยตัวเอง

                    2. Expert Coach จะมีความรู้ และเมื่อมีปัญหาจะบอกได้ หมายถึงต้องรู้ในสิ่งที่คุยกับเขาดี

          โค้ชต้องมองโค้ชชี่เป็นหลักแล้วให้เขาพัฒนาไปเรื่อย ๆ

          การคิด ผุดความคิดด้วยตัวเอง อาทิ Unconscious พวกระลึกได้เอง การคุยกันจนเกิดความน่าเชื่อถือ แล้วจะทำให้สารความคิดผุดได้

          แนวคิดที่ 5 Trust เป็นเรื่องความเชื่อมั่นปกติเราจะเชื่อมั่นใน 6 เรื่องคือ

                   1. Competence เก่ง  คือ จะเรียนรู้ในงานก่อน รู้งาน และรู้คนด้วย

                   2. Communicate openly ต้องพูดจาดี  มีปิยวาจา คือ 1.พูดจริง ไม่พูดเท็จ 2. ไม่พูดเพ้อเจ้อ ส่อเสียด (พูดอะไรต้องมีเหตุมีผล มีหลักการ) 3.พูดมีกาลเทศะ  4.พูดต้องก่อประโยชน์ (พูดเรื่องนี้พูดไปทำไมมีประโยชน์อะไร หรือสะใจ)

                   3. Consistency สม่ำเสมอ

                     - ต่อหน้าลับหลังให้ชมคน ติงาน  อย่าด่าคนเด็ดขาด

                     - ต่อหน้าลับหลังต้องชมคนอย่างเดียว เพราะคำพูดลับหลังจะกลับมาได้ดังกว่าเสมอ

                   4. Concern about others (Caring)

                   - คือการแคร์จิตใจคน ถามสารทุกข์สุขดิบ แคร์เรื่องงาน และชีวิตความเป็นอยู่ด้วย

                   5. Do what you say พูดอะไรต้องทำแบบนั้น รักษาคำพูดของตนเอง ทำที่ตนพูด

                   6. Credit ให้เครดิตลูกน้องและเพื่อนร่วมงาน เพราะผลงานออกจากทีม  เราต้องสังเกตว่าคนทำอะไรเก่งไม่เก่งอะไร

 

          การบริหารเจ้านายและลูกน้องให้เครดิตเจ้านาย และลูกน้อง การบริหารคนรุ่นเก่ายากเพราะติด Comfort Zone และใช้อารมณ์ในการตัดสิน ผู้ใหญ่เมื่อทำงานไปถึงจุดหนึ่งเข้าไปอยู่ในช่วงสบายติด Comfort Zone ปัญหาคอรัปชั่นส่วนใหญ่เกิดตอนใกล้เกษียณคือจะเก็บไว้ให้ลูกหลาน แต่ฝรั่งไม่ใช่ เพราะไม่ได้มองเรื่องมรดก 

 

ดร.เกริกเกียรติ  ศรีเสริมโภค

          Management in the Digital Age

          6. วิถีชีวิตคนเปลี่ยน

                    - Digital Native เป็นกลุ่มตั้งแต่เกิด – 29 ปี เป็นกลุ่มที่เกิดมากับเทคโนโลยีใช้ได้อย่างคล่องตัว

นำเทคโนโลยีมาปรับให้เกิดประโยชน์กับ Life Style คนรุ่นใหม่

                   - Digital Immigrant

 

          การพัฒนาคนจุดใหญ่เราหนีคุณค่าไม่พ้นคือ

          1. Diversity  2. Value Creation  3.Value Added

          *** สิ่งสำคัญคือการออกแบบกระบวนการคิด

          Business and HR Grid

                   1. กลับบ้านเก่า = คนไม่มีศักยภาพ เศรษฐกิจไม่ดี

                   2. กินบุญเก่า = คนมีศักยภาพไม่สูง เศรษฐกิจดี

                   3. ความยั่งยืน = คนมีศักยภาพสูง เศรษฐกิจโต

                   4. ??? = คนมีศักยภาพสูง แต่เศรษฐกิจไม่โต

 

การพัฒนาเพื่อสร้างให้องค์กรขับเคลื่อนแบบนวัตกรรมและเกิดความยั่งยืน

          1. ความรู้  2. ความคิด 3. จินตนาการ

 

กรณีศึกษา OEM : การรับจ้างผลิต วันหนึ่งเราต้องผันตัวเองเป็นการรับจ้างผลิตที่เติบโตมากกว่า เราจะ Transform อย่างไร The Stan Shift Smile Curve คุณค่าและมูลค่าจะสร้างได้อย่างไร OEM – ODM- OBM

          การวิ่งไปข้างหน้า ต้องมี Design , Brand , R&D  กลยุทธ์การพัฒนาคนต้องเริ่มเปลี่ยน เช่นคิดสูตรอะไรที่สามารถพัฒนาได้ และต้องสร้างแบรนด์ด้วย

          หลักคิดของการบริหารคนในธุรกิจ

                   1. ถ้าธุรกิจขยายตัวจะใช้คนเท่าเดิมหรือไม่ ลดคนหรือเพิ่มคน เช่นใช้คนเท่าเดิมแต่ใช้หลักการ       3 : 4 : 5 คือใช้คน 3 คน จ่ายเท่ากับ 4 คน แล้วให้ทำงานได้เท่ากับ 5 จะทำให้ทุกส่วน Win หมด แล้วมี Productivity เพิ่มขึ้น

                   2. ต้องตอบโจทย์ให้ได้ว่าอะไรคือคุณค่าและมูลค่า วิธีคิดในการบริหารและพัฒนาคน Business Value จึงเป็นตัวตั้งที่สำคัญ

                   3. มูลค่าของสินทรัพย์ที่จับต้องได้และจับต้องไม่ได้ สินทรัพย์ที่จับต้องได้และจับต้องไม่ได้คืออะไร ในวันนี้องค์กรต้องอยู่บนพื้นฐานสินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้  ยกตัวอย่างองค์กรที่บริหารเรื่องคนได้ดีมากคือ ปตท. และ Apple ปตท.มีสินทรัพย์ 1.1ล้านล้านบาท Apple มีสินทรัพย์ 9แสนล้านบาท ROA ของ ปตท. ประมาณ 9% ROA ของ Apple  ประมาณ 172% สังเกตได้ว่าสินทรัพย์ทางปัญญาของ Apple เยอะมาก และเร็ว ๆ นี้จะสามารถเขียนแท็บเล็ตบนอากาศได้ วิธีคิดของการบริหารคนอยู่ที่ Intangible เป็นสำคัญ

          หลักคิดของการบริหารคน

                    1. ทำอย่างไรก็ตามต้องดีกว่าคู่แข่งเสมอ

                    2. ลืมสิ่งที่สำเร็จทั้งหมดและคิดสิ่งใหม่ ๆขึ้น

                    3. อย่าละเลยสิ่งเล็ก ๆ น้อย ๆ

          หลักคิดไม่ใช่แค่รู้ เข้าใจ ประยุกต์ใช้ พัฒนา แต่สุดท้ายเราต้องการ Innovation แต่เราจะบริหารทุนมนุษย์อย่างไรให้เกิดประโยชน์มากที่สุด เราต้องสร้างให้เกิดใน DNA ในการพัฒนางานมากขึ้นเรื่อย ๆ เข้าใจเรื่องการสร้างที่อยู่อาศัยใหม่ ๆ มากขึ้น

 

          Less is More Business Model เป็นเรื่องต้นทุนกับ Benefit  ถ้าต้องการให้องค์กรเป็น Less is More ต้องใช้ต้นทุนไม่สูงแต่ Business สูง ดังนั้น ธุรกิจเราจะขายอะไร ขาย Knowledge , Service , Information เป็นหลัก ดังนั้นถ้าอยากให้การเคหะฯ เติบโต การเคหะฯจะทำอย่างไร อาทิ ย้ายไปที่ Knowledge & Service & Information มากขึ้น

          กระบวนการบริหารธุรกิจแบบใหม่ต้องให้สอดรับกับ Mega Trend ในสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปในอนาคตเราจะปรับตัวหรือมีความพร้อมอย่างไรในการบริหารทุนมนุษย์ 

          Intensive Knowledge Management องค์กรทุกองค์กรต้องเปลี่ยนแปลง มีผลกระทบต่อ

          1. Process และกระบวนการ

          2. ลูกค้า มีความเชื่อมั่นหรือไม่ โปร่งใสหรือไม่ สร้าง Trust อย่างไร

          3. ทุนที่จับต้องไม่ได้ อย่างทุนมนุษย์ ทุนทางปัญญา เราเตรียมพร้อมรองรับการแข่งขันหรือไม่ การแข่งขันที่รุนแรงขึ้น คือสิ่งที่ต้องสร้างให้คนเรามีความพร้อมต่อการแข่งขัน เพื่อสร้างให้เกิดคุณค่าต่อธุรกิจ ปรับตัวให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้ หมายถึงการปรับตัวขึ้นอยู่กับวิธีคิดและ Mindset ของคนที่ทำให้คนมองเชิงรุกมากขึ้น สภาพแวดล้อมเป็นอย่างไร คนมีความพร้อมยืดหยุ่นอยู่เสมอ

 

          HR Transformation Process เป้าหมายองค์กร Roadmap IDP KPI การบริหารคนในด้านต่าง ๆ  เป็นอย่างไรสู่การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการเป็นเครื่องมือ Transform  เช่น การลาออนไลน์จะทำอย่างไรให้เป็นดิจิทัลจริง ๆ

 

          มิติการบริหารคน การบริหารคนมีเรื่องการบริหารด้านศักยภาพเข้ามาด้วย  ในเชิงการพัฒนาคน ส่วนใหญ่จะเน้นเรื่อง Put the right man in the right job  แต่ถ้าต้องการดูศักยภาพคน อาจลอง Put the wrong man in the wrong job แล้วอาจเห็น Potential ที่หัวหน้าเห็นหรือไม่ แล้วใช้คนถูกหรือไม่

          การประเมินต้องให้ลูกค้าประเมิน ไม่ใช่คนในองค์กรประเมิน คน-องค์กร-มูลค่าเพิ่มทางธุรกิจ คนเน้นเรื่องทัศนคติเป็นสิ่งสำคัญที่สุด ถ้าเราทำให้เกิด Positive Attitude จะเกิดผลดีต่อองค์กร กระบวนการหาคนใหม่ ๆ ไม่ใช่ Skill หรือ Knowledge แต่เป็นการแคร์ที่วิธีคิดอย่างไรปรับบทบาทหน้าที่การบริหารคน

 

          คลื่นลูกที่ 1 ดั้งเดิม การบริหารคนจะเป็นส่วนที่ HR ทำเป็นหลัก

          คลื่นลูกที่ 2 หัวหน้างานต้องเกี่ยวข้องในการวางแผน สร้างแรงบันดาลใจ

          คลื่นลูกที่ 3 ยุคดิจิทัล ตัวพนักงานเป็นกลไกสำคัญ เพราะไม่ใช่หน้าที่ HR หรือ Line แต่ตัวพนักงานจะต้องวางแผนพัฒนาตนเองในการเรียนรู้และพัฒนา  เนื่องจากในยุคปัจจุบัน คนมีลักษณะวิธีคิดและวัฒนธรรมเปลี่ยน

          - ความเป็นปัจเจกสูง           

           - การตั้งคำถามในการมีส่วนร่วมในการทำงาน

          นำสู่การพัฒนาคนที่มีความแตกต่างกัน มีทั้งแบบ Classroom และ Non-Classroom ซึ่งสิ่งที่น่าสนใจคือการเรียนรู้ด้วยตนเอง Self-Learning

          ยกตัวอย่าง คนในอเมริกา Search เรื่องความรู้ 70% ญี่ปุ่น 60% คนไทย 6% สิ่งที่คนไทย Search มากสุดคือเรื่องบันเทิง เรื่อง erotic 40%

      

          วิธีการทางจิตวิทยาที่คนคิดสร้างสรรค์ไม่เป็นสามารถสร้างสรรค์งานได้ด้วย คิดในเชิง Episode Future Thinking คือเริ่มต้น กลาง และสิ้นสุดได้ ในระยะหนึ่งสมองจะถูกพัฒนาให้มีวิสัยทัศน์ คิดริเริ่มได้ หรือ Mental Rehearsal คือการทวนสิ่งที่เราทำบ่อย ๆ จะทำให้เราบริหารและคาดการณ์ล่วงหน้าได้มากขึ้น เหตุการณ์ต้องเกิดแต่เราจะบริหารเหตุการณ์ให้ดีขึ้นอย่างไร เป็นการคิดแบบ Future Thinking ต้องเชื่อว่าศักยภาพคนสามารถพัฒนาได้ด้วย แต่เราอย่าคาดหวังมาก เพราะสิ่งที่ไม่ดีไม่เป็นตามคาดหวัง คนในปัจจุบันต้องเป็น Multiple Skill รุ่นเราหรือรุ่นน้องต้องคิดแบบนั้น เรื่องความรู้เป็นสิ่งสำคัญ ไอน์สไตล์พูดถึงการพัฒนาจินตนาการสู่ New Knowledge ปัญหาในสังคมมากเราต้องปรับตัว มี Value อยู่ได้ด้วยความสุข ต้องเชื่อว่าทุกอย่างพัฒนาได้ สมองก็จะงอกออกมาใหม่ด้วย

 

การบรรยายพิเศษ การเคหะแห่งชาติ กับการบริหารธุรกิจ โดย คุณกษิต ภิรมย์

          1. ความเป็นเลิศในหน้าที่การงาน ต้องตั้งใจทำงานและมุ่งมั่นในความเก่งของการทำงานมีความมุ่งมั่น ขยันหมั่นเพียรที่ต้องทำให้ดีที่สุด และสุดฝีมือ ไม่ว่าจะทำอะไรก็ตามต้องทำให้ดีที่สุด

          2. ความซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมั่นทำอะไรที่ดีงาม ต่อตัวเองและประเทศชาติแล้วจะมีสิ่งศักดิ์สิทธิ์     ที่คอยอุ้มชูเรา และไม่เคยคิดว่ามีประเด็นที่เราต้องฟันฝ่า ไม่เคยโกรธแค้นใครใด ๆ ทั้งสิ้น ไม่มีอะไรที่เก็บไว้ในใจข้ามคืน อะไรที่แล้วไปแล้วก็แล้วไปแล้ว เลยไม่ตัดสินใจลงการเมือง คิดว่าชีวิตที่เหลืออยู่ในวันนี้    จะสร้างพลเมืองไทย เลยอาสามูลนิธิควง อภัยวงศ์เป็นโรงเรียนการเมือง สร้างธรรมาภิบาล สร้างวัฒนธรรมการเมือง เพื่อสร้างคน โดยเริ่มที่สมาชิกพรรคก่อน แล้วขยายไปสู่สาธารณชน ต้องสร้างพลเมืองไทยที่เป็นพลเมืองมีความเข้มแข็งทางองค์ความรู้และทักษะ งานการทำได้ตามทุกช่วงอายุเหล่านี้ ต้องมีความมุ่งมั่น ทำอะไรเพื่อส่วนรวม แล้วผลพลอยได้จะตามมา

          3. ความคิดความอ่านที่ดีเป็นบ่อน้ำทิพย์ ทำอะไรที่ดีจะต่อไปได้เรื่อย ๆ เราสามารถทำอะไรอย่างสร้างสรรค์ได้  อยากให้พี่น้องชาวไทยทุกคนมีหลังคาคุมหัว ทำไม ไทยทำไม่ได้ แต่คนอื่นทำได้ ถือเป็นวาระแห่งชาติที่คนไทยทุกคนต้องมีหลังคา เมื่อรัฐมีหน้าที่สร้างบ้านให้คนอยู่ ต้องหาทุกวิถีทางที่ทำให้บ้าน คนมีบ้านสอดคล้องกับรายได้  งานการเคหะฯ เป็นสิ่งสำคัญยิ่งต่อปัญหาของที่อยู่อาศัยที่กำลังพัฒนา     อยู่ นอกจากนั้นยังมีแรงงานต่างชาติ 6-8 ล้านคนก็ต้องมีที่อยู่อาศัยเพราะมาสร้างประโยชน์ให้กับประเทศไทย

 

          การเชื่อมโยงกับอาเซียน

                   1. การขยายไปใน 30 จังหวัดชายแดน

                   2. ความเป็นไปได้ในการขยายการลงทุนไปในกลุ่มประเทศอาเซียน อย่างมาเลเซียก็มีกลุ่มผู้ลี้ภัยไปอาศัยอยู่

                    สิ่งที่จะฝากไว้กับคนในการเคหะฯ คือ Mindset จะมองว่าเป็นพนักงานในประเทศไทยไม่ได้แล้ว ต้องคิดว่าเป็นพนักงานของอาเซียนด้วย คือการคิดไปถึง 9 ประเทศในอาเซียน และเพราะเหตุใดถึงไม่ร่วมลงทุน

                   3. อุตสาหกรรมก่อสร้าง แหล่งผลิตที่สำคัญที่สุดคือประเทศไทย มีโรงงาน มี Supply Chain ที่ก้าวข้ามเขตแดน ไปเป็นกลุ่ม  เราต้องเริ่มคิดว่าจะไปหรือไม่ และถ้าไปโดด ๆ ไม่น่าได้

          - ไร้พรมแดน

          - ตลาดเดียว ครอบครัวเดียว

          - มีการรับรองคุณวุฒิ วิชาชีพ

          แรงงานยังไม่มีฐานแม่บทติดต่อกันในระดับ ขั้นตอนกระทรวงแรงงานควรให้มีกฎเกณฑ์อาเซียนกฎเกณฑ์เดียวเป็นอาเซียนพลัส ไม่ต้องใช้ Passport สามารถให้แรงงานทำงานได้อย่างเสรี และคาดว่าอาเซียนจะมีมาตรฐานกลาง

          โลกร้อนการพัฒนาอย่างยั่งยืน เศรษฐกิจพอเพียง การสร้างบ้านในอนาคตต้องประหยัดไฟ ลดอุณหภูมิของโลก ทุกอย่างต้อง Cycle ได้ และ Recycle ได้ ต้องไม่มีสารพิษตกค้าง พนักงานต้องรู้เรื่องเงื่อนไขของโลก  อาทิ มีหลอดประหยัดไฟ มี Solar Roof ทุกอย่างต้องเริ่มที่การเคหะฯ เพื่อ Set the trend

          ทำไมต้องมีอาเซียน

          ประเทศไทยตัดสินใจตั้งแต่สมัยจอมพลป.พิบูลสงครามว่าจะเป็นสมาชิกในโลกเสรี จึงไปเป็นสมาชิกองค์กรซีโต ต่อต้านคอมมิวนิสต์ ได้รับการช่วยเหลือจากอเมริกา ญี่ปุ่น ยุโรป ในการช่วยเหลือพัฒนาประเทศ แต่ไปโดด ๆ ไม่เพียงพอ จึงร่วมมือกับพันธมิตรคือมาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย บรูไน และเกิดการร่วมมือกันต่อต้านโลกตะวันตก ด้านการเมืองร่วมมือกับสหรัฐ ด้านซีโต้ มีในกลุ่ม 5 ประเทศดังกล่าวข้างต้น

 

          เทคโนโลยีทางอากาศ นำสู่การใช้อินเทอร์เน็ต ไม่มีการกีดกันทางการเมือง โลกมีการเชื่อมโยงเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน “โลกาภิวัตน์” การเสริมสร้างความมั่นคง และก้าวหน้า มีการเชิญลาว กัมพูชา เวียดนามมาช่วยด้านการทหาร

          การอยู่รวมกันต่อต้านองค์กรลัทธิคอมมิวนิสต์ ก็จะหมดยุคสมัยแล้ว เลยเริ่มการเปลี่ยนจากสมาคม เป็นประชาคมอาเซียน มีกฎบัตรอาเซียนเป็นกฎหมายรัฐธรรมนูญของ 10 ประเทศที่ทุกคนต้องปฏิบัติตาม ถ้าขัดแย้งต้องไปที่อนุญาโตเพื่อตัดสิน

          10 ปีที่ผ่านมานี้ ไทยเป็นองค์กรระหว่างประเทศที่มีการผู้มัดสมาชิกระหว่าง 10 ประเทศ หัวใจคือการส่งเสริมความผาสุกประชาชน Human Center ไม่ใช่องค์กรของท่านผู้นำ องค์กรทหาร องค์กรราชการ แต่เป็นองค์กรของประชาคมอาเซียน 600 ล้านคน ที่ต้องคำนึงถึงความเป็นสังคมประชาธิปไตย ที่ส่งเสริมเสรีภาพ ตามกฎบัตรอาเซียนต้องเป็นสังคมเปิด

          1. ร่วมมือกันทางการเมืองระหว่างความมั่นคง

          2. ปัญหาการคุกคามต่าง ๆ อาทิ  ปัญหาทางเศรษฐกิจ และภัยพิบัติต่าง ๆ

          3. สังคม และวัฒนธรรม การชำระประวัติศาสตร์เพื่อสร้างความร่วมมือ

          การคิดประดิษฐ์สร้างสรรค์ และความอึด ทำให้สิงคโปร์ก้าวล้ำมา การประดิษฐ์คิดค้นอยู่ที่ แคลิฟอร์เนีย ที่ต่างประเทศ แต่ไม่ได้มีอยู่ในประเทศไทย หมายถึงนิ้วมือเก่ง แต่สมองเรายังพึ่งพาเขาอยู่

          อย่างการสร้างบ้านต้องไปกับสิ่งแวดล้อม ใช้ไฟฟ้าให้น้อยลง ให้ปลอดภัยร่มเย็น ชิ้นส่วนทนทาน น้อยชิ้น ไม่มีสารพิษ  ต้องมีฝ่ายวิจัยของการเคหะฯ หรือร่วมกับมหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าลาดกระบัง  ไม่ใช่ส่งไปแค่ Supplier หรือ ซีเมนต์เท่านั้น ต้องรู้หลัก SDG ต้องรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ต้องรู้หลักในการย้อนไปดูว่าชิ้นส่วนมาจากไหนอย่างไร ต้องรู้เรื่อง Supply Chain ว่ามาจากโรงงาน มีการบริหารจัดการที่ Transparency หรือไม่ ทุกอย่างต้องตรวจสอบได้และโปร่งใส ในอนาคตอาจไปอยู่ในตลาดหลักทรัพย์ สามารถ Rest fund ได้ และต่อไปนี้ไม่ใช่ขาดทุนหรือกำไร แต่เป็นรายงานแห่งความยั่งยืน ต้องเขียนด้วยว่าความสัมพันธ์ระหว่างบอร์ดและเจ้าหน้าที่ ความสัมพันธ์ระหว่างเคหะฯ และ Supplier เป็นอย่างไร ความสัมพันธ์ระหว่างลูกค้าหลายประเภทเป็นอย่างไร ความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนเป็นอย่างไร สิ่งนี้จึงเป็น Trend ของโลกและเป็น Trend ของอาเซียน ดังนั้นงานการเคหะฯ ไม่ใช่แค่ที่อยู่อาศัย ต้องใส่จิตวิญญาณ ความรักไปด้วย และต้องอยู่ภายใต้หลักธรรมาภิบาลและความโปร่งใส และจะเอารัดเอาเปรียบ Supplier ไม่ได้ ต้องมีมาตรฐานกลาง

          การ Rest fund ถ้ามีการบริหารจัดการที่ดีจะทำให้มีความน่าเชื่อถือเกิดขึ้น ซึ่งเกิดจากฝีมือฝีไม้ของการเคหะฯ เอง

          การพัฒนาประเทศในอาเซียน

          1. อาเซียนทั้ง 10 ต้องให้ความสนใจต่อบทบาทมหาวิทยาลัย สถาบันวิจัย แล็ป เพื่อมีสิ่งคิดค้นของตัวเอง โดยไม่ต้องซื้อ franchise

          ต้องช่วยกันเองของแต่ละประเทศ  และเมือมีพลเมือง  600 ล้านคน ส่วนใหญ่เราต้องคิดอ่านในการพึ่งตนเอง สิ่งอำนวยความสะดวก สถาบันการศึกษาต้องคิดที่จะพึ่งตนเองให้มากที่สุด และในโลกกว้าง ทุกประเทศหลัก ๆ มีปัญหาภายใน ไม่ว่า ญี่ปุ่น สหรัฐฯ ยุโรป ไม่มีเวลาที่มาคุ้มกันเหมือนยุคสงครามเย็น ดังนั้นไทยต้องพึ่งตนเอง ต้องมี Innovationโดยทำงานร่วมกันระหว่างรัฐ สถาบันการศึกษา และภาคเอกชน ต่อไปนี้การเคหะฯ จะ Position ตนเองอย่างไร ต้องคิดวิธีการที่ทำงานใหม่ ๆ หลุดพ้นการทำงานแบบเดิมที่เป็นข้าราชการ ต้องมีความเป็นสากล ต้องรักษาสิ่งแวดล้อม ให้สิ่งแวดล้อมอยู่อย่างยั่งยืนและก้าวหน้า

          ที่กระทรวงต่างประเทศ ได้ตั้งคณะทำงานขึ้นมาเพื่อเตรียมเป็นประธานประชุมอาเซียนในปี พ.ศ. 2562 ภายใต้กฎบัตรอาเซียน ได้ทำแผนแม่บทการเชื่อมโยง Master Plan Connectivity  เพื่อการเชื่อมโยงทั้ง 10 ประเทศ เพราะถ้าไม่เชื่อมทั้ง 10 ประเทศ ความเป็นอาเซียนจะไม่ส่งผล ยกตัวอย่างยุโรป มีมาตรฐานสากลด้าน Facility ที่สะดวกและมีความปลอดภัย โบราณสถาน และสถานที่ท่องเที่ยวทั่วยุโรปจะเป็นสีน้ำตาลเข้ม  แต่แม้ไทยเองป้ายยังสีไม่ตรงกัน ถ้าเชื่อมโยงกันในอาเซียนต้องมี Common Sign , Common Standard

          2. การหาความเหมือนทางวัฒนธรรม เช่น Bamboo Culture, Rice Culture , แข่งเรือยาว สร้างส่วนรวมที่เหมือนกัน เพื่อให้ประชาชนรู้สึกถึงความเป็นยากพี่น้อง และลดความเลวในการสร้างความเกลียดชังทางความแตกต่าง ซึ่งเป็นการทำลายทางมนุษยชาติโดยไร้มนุษยธรรม

          3. ภัยพิบัติธรรมชาติ เสนอให้ใช้สนามบินอู่ตะเภา เป็นที่สู้รบภัยพิบัติต่าง ๆ เหล่านี้ มีการปรึกษาหารือในรัฐมนตรีกลาโหม กิจการพลเรือนฝ่ายกองทัพ 10 ประเทศ การลาดตระเวนเพื่อให้เกิดความไว้เนื้อเชื่อใจในทหารตำรวจทั้งหลาย

          4. ความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้าง อาวุธ ยุโธปกรณ์ เอาเงินส่วนนี้มาสร้างบ้านการเคหะฯ ให้มากยิ่งขึ้น เคยเสนอให้มีกองกำลังอาเซียนภายใต้ธงสีฟ้าเพื่อไปทำงานสหประชาชาติ อะไรที่ทำร่วมมือกันได้ก็ควรทำเพื่อสร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวในการร่วมกันของอาเซียน

          5. ปัญหาของประชาคมอาเซียน

          - วันนี้ประเทศสมาชิกทั้งสิงคโปร์ และอินโดนีเซียมีปัญหามากมาย หรือมาเลเซียก็มีปัญหาเรื่องการไม่มีเสถียรภาพ เวียดนาม ลาว พรรคคอมมิวนิสต์ ก็มีการกดขี่ประชาชน เมียนมา อองซานซูจีก็ไม่กล้าเผชิญกับทางทหาร อาจถูกถอดจาก Nobel Prize ผู้นำแต่ละประเทศต้องสาละวนกับการเมืองภายใน และเมื่อเป็นอย่างนี้อาเซียนในเวทีโลกจะเป็นอย่างไร โดยเฉพาะต้องแข่งกับจีนและอินเดีย ถ้าอาเซียน 600 ประเทศไม่พัฒนา ก็จะไม่ทำให้อาเซียนเป็นจุดดึงดูดอีกต่อไป ได้อย่างเดียวคือการท่องเที่ยว

          - ความอ่อนแอของกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องการให้ความรู้ต่อประชาชน

          ต้องให้เวลากับอาเซียนอย่างน้อยวันละครึ่งหรือหนึ่งชั่วโมง และมีหน่วยงานเฉพาะที่จะต้องป้อนข้อมูลเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนและประเทศอาเซียน ที่รากเหง้าของเราคล้ายกันมากไม่ว่าจะเป็นศาสนา พุทธ มุสลิม ฮินดู ขงจื้อ ลดช่องทางการขัดแย้งโดยการนำเอาความต่างเป็นตัวตั้งให้เกิดความเกลียดชัง

          ดังนั้นอาเซียนขึ้นอยู่กับความกระตือรือร้นของท่านผู้นำด้วย ถ้าไม่มีก็เป็นผู้นำไม่ครบคือเป็นผู้นำไทยและอาเซียนร่วมด้วย ต้องมีวิสัยทัศน์ให้อาเซียนโดดเด่น จะเป็นมือสองรองจากอินเดียและจีนไม่ได้

          การใส่ใจต้องทำอะไรที่เป็นสาระไม่ใช่ไม่มีสาระ ไม่เช่นนั้นจะกลายเป็นพิธีกรรมและไม่เป็นสาระ

          การนำไปปรับใช้กับการเคหะฯ

          1. Repositioning ถ้าไม่คิดด้านนี้ถ้าสิงคโปร์มาทำ Low Cost ด้านอสังหาริมทรัพย์จะทำอย่างไร

          2. ป้องกันตัวเอง พัฒนาอย่างไร มีที่อยู่ให้กับคนไทย การการันตีให้คนมีที่อยู่อาศัย เริ่มต้นชีวิตทุกคนต้องมีที่อยู่ของตัวเอง เพื่อให้ทุกคนมีหลังคาคลุมหัว แล้วการเริ่มต้นชีวิตจะไปต่อได้

          3. การขยายงานในต่างประเทศสร้างบ้านในต่างประเทศ

 

          การร่วมมือเป็นสิ่งที่ดี คนต้องเป็นตัวตั้ง ในกฎบัตรอาเซียนจะใช้อาเซียนเป็นฐานการผลิตของโลกเป็น Production Base โลกใช้  10 ประเทศเป็นโรงงานขายสินค้าทั่วโลก  ผู้นำเป็นกำลังสำคัญ

          การเคหะฯ จะสามารถปรับสู่เป็นหน่วยงานที่ดูเรื่องการกำกับและดูแลจะเป็นไปได้มั้ย อีกเรื่องคือ เรื่อง Aging Society เป็นทิศทางของโลก และน่าจะเป็นไปได้ในการสร้างที่อยู่อาศัยในต่างจังหวัด

          ในฐานะประเทศกำลังพัฒนา รัฐต้องมีหน้าที่ด้าน Housing อยู่ และต้องมี Master Plan Longterm ทำกี่เปอร์เซ็นต์ จะ Joint  Venture กี่เปอร์เซ็นต์ เป้าหมายกลุ่มลูกค้ามีใครบ้าง คนที่ทำงานแล้ว คนเช่าอาศัย และคนชรา

          -  เรื่องราคา รัฐบาลจะ Subsidize มากน้อยแค่ไหน ถ้าบอกว่าการสนับสนุนที่อยู่อาศัยเป็นหน้าที่ของรัฐ รัฐบาลหลีกเลี่ยงการรับผิดชอบไม่ได้ เป็นหน้าที่ของรัฐ

          - Citizen Salary เริ่มต้นฐานชีวิตเท่ากันคือ 15,000 บาททุกคน

          - เรื่องคนชราไม่เห็นด้วยเอาคนชราอยู่รวมกันและแข่งกันตาย อยากอยู่กับคนรุ่นใหม่ ๆ แต่ถ้าอยู่คนเดียวกับภรรยา จะมีคนมาช่วยอย่างฉุกเฉินหรือไม่ ทุกอย่างยังอยู่ใน Website ทั้งหมด อยากให้เป็นระบบแบบนี้มากกว่าเป็นเมืองลับแลแห่งความชราซึ่งไม่ Healthy ส่วนในกลุ่มที่ไม่มีบ้าน ไม่มีพี่น้อง สิ่งนั้นเป็น Priority ของรัฐ ปล่อยให้สิ่งเหล่านี้เกิดขึ้นไม่ได้ ต้องช่วยกัน สร้างระบบ

          เรื่องที่อยู่อาศัยมีความสำคัญเท่ากับการศึกษาเป็นวาระแห่งชาติ สิงคโปร์ในลีกวนยูเน้น 3 เรื่องคือ การศึกษา ที่อยู่อาศัย และความซื่อสัตย์สุจริต เป็นสิ่งที่ทำได้

 

การบรรยายพิเศษ การเคหะแห่งชาติ กับ การบริหารธุรกิจในยุค ASEAN Economic Community (AEC) (2/2) โดย คุณชาย สังขะเวส  ผู้อำนวยการ กองสิทธิประโยชน์ทางการค้ากรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

          วัตถุประสงค์การรวมตัวกันของอาเซียน

                   1. การรวมตัวเพื่อให้มีการเคลื่อนย้ายวัตถุดิบมาทำการผลิต ผลิตสินค้า และส่งต่อใน 10 ประเทศ โดยเสรี และการเคลื่อนย้ายแรงงานโดยไม่มีภาษี

                   2. การสร้างขีดความสามารถทางการแข่งขันด้านเศรษฐกิจ มีโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่งเพื่อเป็นตัว Support วัตถุประสงค์แรก มีการเคลื่อนย้ายวัตถุดิบสินค้าและบริการ

                   3. มีวัตถุดิบอย่างเสมอภาค บางประเทศมีความถนัดด้านหนึ่งอีกประเทศไม่มีความถนัดอาจมีการร่วมทุนสร้างเสรีมากขึ้น

                   4. การรวมตัวกันเพื่อให้แข่งขันกับเศรษฐกิจโลก ความสำคัญตรงนี้อยู่ที่ประชากรของแต่ละประเทศเป็นสำคัญ  ประชากรมากคิดว่า Degree ของ Consumption มีมาก ด้านการค้าจะดูที่ประชากรเป็นหลัก จะต้องมีการรวมตัวกับตลาดใหญ่ ๆ ที่มีประชากรมาก

          ความเป็นเสรี มี 3 เรื่องหลัก ๆ

                   1. Agreement เรื่องการค้า เรื่อง Asean Trade in Goods เป็นการพูดเรื่องการค้าอย่างเดียว ไม่มีภาษี ไม่มีเงื่อนไข ไม่มีมาตรการใด ๆ เป็นเรื่องเสรี ซึ่งโดยความเป็นจริงไม่สามารถทำได้ แต่ละประเทศมีกลุ่มการค้าเสรีที่ต้องปกป้องสินค้าภายในตัวเอง ทุกคนพยายามปกป้องอุตสาหกรรมภายในของตัวเอง อาทิ ไทยมีสินค้า 13 รายการที่ภาษีไม่เป็นศูนย์  และมีราคาที่ต้องเสียภาษีในการนำเข้าอีก โดยต้องดูมาตรการที่ไม่ใช่ภาษี เพื่อป้องกันการนำเข้าให้น้อยที่สุดเช่นเรื่องสุขอนามัย เรื่องความปลอดภัยผู้บริโภคในประเทศ เช่น มะพร้าว ประเทศไทยสร้าง Value Added ได้มากเพราะมะพร้าวในไทยคุณภาพดี แต่ผลผลิตต่อปีที่จะเสริม Production ไม่พอ แม้มีมะพร้าวเมียนมาดีเช่นเดียวกัน แต่มีการป้องกันทางด้านภาษี เพื่อป้องกัน  การนำเข้ามะพร้าวที่นำเข้าส่วนใหญ่นำเข้าจากอินโดนีเซียโดยต้องปอกเปลือกก่อน ซึ่งปอกเปลือกแล้ว 3- 5 วัน เน่าแล้ว 1 ล็อตของเสียหาย 30-40 %

                   2. AFAS (ASEAN Framework Agreement on Service) เป็นเรื่องการบริการล้วน ๆ อาทิ ธุรกิจประกันภัย โรงแรม การก่อสร้าง ทุกวันนี้จะมีการเปิด 7 สาขาให้ต่างชาติมาลงทุนได้ มีเงื่อนไขมากมาย อาทิ ในเรื่องของสัญญา มีกลุ่มอุตสาหกรรมก่อสร้างเข้ามาคุย เปิดในเรื่องการคุย การรับงานเหมาได้ ในเรื่องสัญญาจะเข้าไม่ถึงเขา  Technical Term ด้านกฎหาย และสัญญาต้องได้รับการส่งเสริมจาก ก.พาณิชย์สร้างสมรรถภาพผู้ประกอบการไทยไม่ให้เสียเปรียบ นำโดยสมาคมก่อสร้างไทย

                   3. ACIS เป็นเรื่องการลงทุนเปิดใน 5 สาขา คือป่าไม้ อุตสาหกรรมการผลิต การทำเหมืองแร่ เป้าหมายเพื่อการสร้างการลงทุนข้ามแดนทุกอย่างเป็นเสรีหมด รัฐบาลประเทศนั้นต้องส่งเสริมต่างชาติให้ลงทุน  ปฏิบัติกับคนต่างชาติเหมือนปฏิบัติให้กับคนไทยเอง เป็นการลงทุนแบบ Foreign direct investment และการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ แต่มี บางประเภทไม่ให้ต่างชาติลงทุน เช่น การทำสวน การทำนา การทำเหมืองแร่ การค้าจะมีการเคลื่อนย้ายวัตถุดิบระหว่างภูมิภาค เคลื่อนย้ายแรงงานได้ แต่อาจไม่มี Knowhow ทางการผลิต ผลิตเสร็จแล้วส่งขายอาเซียน ไม่มีภาษี มีการส่งออกทางการผลิต ส่งขายสินค้าไปต่างประเทศ มีกฎแหล่งกำเนิดสินค้าเป็นตัวควบคุม การเคลื่อนย้ายผลิต ไม่ได้มีแหล่งกำเนิดในอาเซียน จะเข้าในเรื่องของการเสียภาษี

 

          กฎแหล่งกำเนิดสินค้ามี 2 ตัวคือ

          - Wholly Obtained คือสินค้าทางการเกษตรที่เพาะปลูกในประเทศที่ส่งออกเช่น มะพร้าวต้องปลูกจากสวนในประเทศไทยถึงเป็น Wholly Obtained ในประเทศไทย หรือ  Substantial Transformation มะพร้าวปลูกที่อื่นเช่นจีน และไทยเป็นคนกลางแล้วส่งไปขายในสิงคโปร์ มะพร้าวแบบนี้ต้องเสียที่ภาษีที่สิงคโปร์ตามราคานำเข้าปกติ

          - Regional Value Content คือมูลค่าเพิ่มการผลิตสินค้าในอาเซียน เช่นประเทศไทยผลิตสินค้าตัวหนึ่ง Production Base ส่งขายสิงคโปร์ ถ้าวัตถุดิบนำเข้ามาจากที่อื่น วัตถุดิบตัวนี้สามารถนำรวมกับวัตถุดิบในไทยได้ใช้แบบ Accumulation เช่นการนำการผลิตได้ Direct Consignment เป็นการขนส่งโดยตรง สินค้าต้องอยู่ในความดูแลของศุลกากร

          AFTA

          การรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าเสมือนเป็น Passport ถ้าไม่มีแหล่งกำเนิดสินค้าจะเก็บตามปกติ

          Competent Authority  ในแต่ละประเทศจะไม่เหมือนกัน ส่วนใหญ่จะเป็นหน่วยงานภาครัฐทั้งหมด หน้าที่คือออกหนังสือรับรองสินค้าเหล่านี้ แต่ถ้าตรวจสอบว่าเป็นสินค้าปลอม Competent ต้องเข้าไปตรวจสอบ

          Form Back to back  เป็น Trading Firm ไทยเป็นตัวกลางในสิงคโปร์ เราเป็นคนกลางที่ออกหนังสือจากเวียดนามได้ เป็นคนกลางที่ส่งจากสิงคโปร์ เป็นคนกลาง การอำนวยความสะดวกทางการค้า เปิด Option การอำนวยความสะดวกทางการค้า  ถ้าไม่ขอรับรอง ผู้ส่งออกที่ประสงค์จะค้า ต้องมีการรับรองว่ามีการรับรองในประเทศไทยตามที่อาเซียนกำหนด

 

          การขยายออกนอกภูมิภาคอาเซียน

          ปัจจุบันไปทำ Free Trade Agreement  อาเซียนเข้าไปทำกับ 5 ประเทศในการขยายพันธมิตรออกนอกภูมิภาค มีอินเดีย เกาหลี ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ มีการขยายเศรษฐกิจออกไปนอกประเทศ  ได้รับสิทธิลดหย่อนประเทศเหลือศูนย์ เช่นไทยให้จีนเท่านี้ จีนก็ไทยเท่านี้ ในระดับที่เท่าเทียมกัน ทั้งนี้ขึ้นกับภาคเอกชนและความต้องการตลาดของจีนเอง

          FTA ยกเว้นภาษี Import Beauty ในเรื่องต้นทุนก็สู้จีนไม่ได้ เช่นเดียวกับญี่ปุ่น เกาหลี ฯลฯ แล้วแต่ข้อตกลงแต่ละรายการ มูลค่าเพิ่มที่อยู่ในประเทศไทย

          การคำนวณว่าสินค้าได้ RVC หรือไม่ ดูได้จากต้นทุนการผลิต และวัตถุดิบการผลิต เช่นวัสดุก่อสร้างไทยเป็น Base ทางด้านนี้ ใช้วัตถุดิบที่เป็น Originate ที่เป็นของไทย และไม่ใช้วัตถุดิบที่เป็นของไทย ถ้านำเข้าจากต่างประเทศใช้กฎ Accumulate ของอาเซียนได้

          ต้นทุนการผลิต ค่าใช้จ่ายในโรงงานที่เป็น Overhead ที่เกี่ยวข้องกับการผลิต มีราคาในการผลิตสินค้าต่อหน่วย เป็นราคาสินค้าหน้าโรงงาน เป็นสินค้าที่เป็นวัตถุดิบที่เป็นมูลค่าเพิ่มในประเทศไทย

          ราคาสินค้าโรงงาน + Transportation มีรถรับส่งที่งาน  ต้องผลิตสินค้าเสร็จแล้วมีรถมา ไปท่าเรือแหลมฉบัง ไปสนามบิน

          ฐาน RVC คิดจากราคา FOB

          ธุรกิจบริการถ้าอ้างเรื่องความมั่นคงจะจบ เพราะมีส่วนร่วม ประเทศไทยค่อนข้างเสียเปรียบ

 

วันที่ 6 มีนาคม 2561

การบริหารงบประมาณเชิงกลยุทธ์ (1) โดย ดร.ดวงตา  ตันโซ  คุณสาธิต อนันตสมบูรณ์             ดร.มงคล เหล่าวรพงศ์

          การจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์  ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561

          วัตถุประสงค์

          1.เพื่อให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจและหน่วยงานอื่นนำไปใช้ประกอบ ในการพิจารณาจัดทำ งบประมาณ โดยทบทวนเป้าหมายแนวทางและตัวชี้วัดให้เชื่อมโยงสอดคล้องกับร่างกรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (2560 – 2579) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับ ที่ 12 (2560 – 2564) นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ (2558-2564)  นโยบายรัฐบาล และแผนแม่บทกระทรวง/หน่วยงานรวมถึงแผนแม่บทด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เป็นตัวเริ่มต้นในการคิดแผนงบประมาณ

          2. แสดงให้เห็นถึงประโยชน์ที่ ประชาชน และประเทศชาติจะได้รับทั้งในระยะสั้นและระยะยาวรวมทั้งสามารถประเมินผลสัมฤทธิ์ของ ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นในแต่ละระดับได้อย่างชัดเจน  อันเป็นปัจจัยสำคัญประการหนึ่ง ของระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์และเอื้อต่อการจัดการงบประมาณและการตัดสินใจเชิงนโยบายต่อไป

 

          การดำเนินงาน

          1. พิจารณากำหนดหลักเกณฑ์ วัตถุประสงค์ ขอบเขตภารกิจ เป้าหมาย แนวทางการดำเนินงาน ตัวชี้วัด หน่วยงานเจ้าภาพ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับประเด็นการจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์

          2. ให้ความสำคัญกับการจัดทำแผนแม่บทระยะปานกลางและระยะยาว แผนการปฏิบัติงาน แผนการใช้จ่ายงบประมาณ การดำเนินงานโครงการ กิจกรรมที่มีการบูรณาการใน 3 มิติ ได้แก่ มิติงานตามยุทธศาสตร์พื้นที่ (Area) มิติงานตามยุทธศาสตร์กระทรวง/ หน่วยงาน (Function) และมิติยุทธศาสตร์สำคัญของรัฐบาล(Agenda)

          3. จัดทำแผนแม่บทระยะปานกลางและระยะยาว แผนการปฏิบัติงาน และแผนการใช้จ่ายงบประมาณส่งสำนักงบประมาณ

          4. กำกับดูแลติดตามประเมินผลสัมฤทธิ์ และตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณตามแผนงานบูรณาการรวมทั้งบูรณาการการทำงานในทุกมิติ

 

          แนวทางการจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561

          กำหนดขอบเขต หลักการ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย แนวทางการดำเนินงาน ตัวชี้วัด หน่วยงานดำเนินการ

          กำหนดโครงการ กิจกรรมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำงบประมาณในลักษณะ บูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ให้ชัดเจนพร้อมรายละเอียดประกอบ กำหนดแนวทางในการติดตามประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนงานบูรณาการให้สามารถแสดงผลการบูรณาการภารกิจและงบประมาณได้อย่างครบถ้วน และนำไปสู่เป้าหมายของแผนงานบูรณาการได้อย่างชัดเจน มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

          โครงการ - กิจกรรม ในแผนงานบูรณาการต้องเป็นไปตามภารกิจและหน้าที่ตามกฎหมายของหน่วยงาน และสอดคล้องกับพันธกิจของรัฐวิสาหกิจ สะท้อนและส่งผลต่อการ บรรลุเป้าหมายของแผนงานบูรณาการ เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ  พ.ศ. 2561 และนโยบายสำคัญของรัฐบาล

 

          แนวคิดการเชื่อมโยงและการประสานแผนงานในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์

          1. การจัดการงบประมาณในเชิงบูรณาการนั้น เป็นการบูรณาการโดยใช้กระบวนการงบประมาณเป็นเครื่องมือ ให้บรรลุวัตถุประสงค์ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยให้การดำเนินงานของแต่ละหน่วยงานเป็นไปอย่างส่งเสริมสนับสนุนซึ่งกันและกัน และเป็นไปอย่างสมดุล และมีการรวบรวมรายจ่ายในลักษณะองค์รวมก่อให้เกิดสัมฤทธิ์ผลสูงขึ้นกว่าการดำเนินภารกิจอย่างเป็นอิสระจากกัน เช่น มีโครงการอยู่โครงการหนึ่งแต่ละฝ่ายต้องมาระดมความคิดเห็นร่วมกัน

          2. หลักการในการดำเนินการคือ หน่วยงานเจ้าภาพมีหน้าที่ในการกำหนดเป้าหมาย ตัวชี้วัด ขอบเขตงาน ระยะเวลา หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และงบประมาณเชิงบูรณาการโดย เน้นการจัดทำเป็น Project Base มีความเป็นไปได้ คุ้มค่า และไม่ซ้ำซ้อน

 

Matrix Organization แต่ละคนมีหน้าที่เดิมอยู่ แต่มีงานใหม่เข้ามาใน Project แล้วท่านมีหน้าที่อะไรใน Project นี้ เป็นการทำให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังต้องทำหน้าที่ในงานประจำอยู่

 

          แนวคิดการกำหนดตัวชี้วัดผลสำเร็จ

         งบประมาณ บูรณาการ ยุทธศาสตร์ สำเร็จคืออะไร ต้องมีการระบุในส่วนที่เกี่ยวข้อง สามารถวัดผลได้เป็นรูปธรรม มีความชัดเจน โดยมีการระบุเป็นค่าของตัวเลขที่ชัดเจน เป็นที่เข้าใจตรงกันและเป็นที่ยอมรับของทุกฝ่าย

ความครอบคลุมภารกิจตามแผนงานบูรณาการอย่างครบถ้วน เพื่อให้วัดได้ง่ายไม่ให้เกิดการตีความที่แตกต่างกัน

 

          แผนงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์  ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 (28 แผนบูรณาการ)

                    1.การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์

                    2. การขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาในจังหวัดชายแดนภาคใต้

                    3. การจัดการปัญหาแรงงานต่างด้าวและการค้ามนุษย์

                    4. การป้องกัน ปราบปรามและบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด

                    5. การพัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพ

                    6. การส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

                    7. การพัฒนาพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ

                    8. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์

                    9. การพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล

                    10. การวิจัยและนวัตกรรม

                    11. การสร้างรายได้จากการท่องเที่ยวและบริการ

                    12. การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก

                    13. การพัฒนาฝีมือแรงงานไปสู่ไทยแลนด์ 4.0

                    14. การพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคเกษตร

                    15. การพัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย

                    16. การยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต

                    17. การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเข้มแข็ง

                    18. การจัดการปัญหาที่ดินทำกิน

                    19. การพัฒนาระบบประกันสุขภาพ

                    20. การสร้างความเสมอภาคเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ

                    21. การบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม

                    22. การพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

                    23. การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ

                    24. การป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ

                    25. การปฏิรูปกฎหมายและพัฒนากระบวนการยุติธรรม

                    26. การอำนวยความสะดวกทางธุรกิจ

                    27. การส่งเสริมการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

                    28. การส่งเสริมการพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ

1. ดูว่าแผนบูรณาการ 28 แผนแผนใดเกี่ยวข้องกับเรา

2. งบประมาณแต่ละปีที่ได้รับกี่บาท

3. เป้าหมายของแผนที่เกี่ยวข้องกับเราคืออะไร ตัวชี้วัดคืออะไร แนวทางในการทำงานคืออะไร และมีตัวชี้วัดของแต่ละแนวทางด้วย

4. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หน่วยงานที่เป็นเจ้าภาพ

5. งบประมาณที่จัดทำและนำเสนอ

6. ระบุชัดเจนว่าแต่ละกระทรวงไหน หน่วยไหนมีงบดำเนินการเท่าไหร่ และรวมแล้วเท่าไหร่

7. มีการจัดทำงบประมาณผูกพันข้ามปี

8. เป้าหมายคืออะไร ตัวชี้วัดคืออะไร แนวทางการดำเนินงานแต่ละตัวชี้วัดคืออะไร และตัวชี้วัดเกี่ยวข้องกับกระทรวงอะไร หน่วยงานไหน โครงการอะไร

          การทำงบประมาณ การบริหารความเสี่ยงเป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญ  ยกตัวอย่างธนาคารไทยพาณิชย์ที่เน้น Digital Banking มากจนมีการปรับลดสาขาจำนวนมาก

 

          บริบทของรัฐวิสาหกิจ

                    1. การนำองค์กร

                    2. การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์

                    3. การมุ่งเน้นลูกค้าและตลาด

                    4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

                    5. การมุ่งเน้นบุคลากร

                    6. การมุ่งเน้นการปฏิบัติการ

                    7. ผลลัพธ์ อาทิ ผลิตภัณฑ์และบริการ การมุ่งเน้นลูกค้า การเงิน และการตลาด การมุ่งเน้นบุคลากร ประสิทธิผลกระบวนการ การนำองค์กร

 

          การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์

          การถ่ายทอดยุทธศาสตร์ต้องคาดการณ์ได้ว่าบรรลุวัตถุประสงค์อย่างไร การเคหะฯ มีเทคโนโลยีดิจิทัลไปหรือยัง อย่างแสนสิริ มีระบบ Automate มีระบบ IT ในห้อง แต่ละที่ใช้อะไรเป็นแม่แบบในการบริหารความเสี่ยง

 

          การวัดผลการดำเนินงานของรัฐวิสาหกิจ –Financial

          ตัวชี้วัดทางการเงิน (Financial)

                   1. EVA – วัดความสามารถในการทำกำไร และ/หรือการบริหารสินทรัพย์

                   2. ROA – วัดการบริหารสินทรัพย์

                   3. Profitability : EBITDA, Profit margin,etc – วัดความสามารถในการทำกำไร

                 **4. Human Productitivity : Net Profit/personnel – วัดความสามารถในการทำกำไร

                   5. Cost : Cost / Personnel,Cost/ Unit product ,or serviced, etc. – วัดความสามารถในการทำกำไร (โดยการควบคุมต้นทุน)

                   6. Debt Service Coverage Ratio (DSCR) – วัดความสามารถในการชำระคืนหนี้

 

ระบบงบประมาณของประเทศไทย โดยดร.ดวงตา  ตันโซ

 

                    การขยับจาก B ไป A เป็นส่วนสำคัญที่การเคหะฯ ไปทำ สำนักงบประมาณจะอยู่ช่วงการปฏิบัติแล้ว แผนฯ 12 มี 117 ตัวชี้วัด

                   งบประมาณ ที่เป็นแบบมุ่งเน้นผลงานที่ต้องการวัดผลสัมฤทธิ์ ถ้า พ.ร.บ. ออกเมื่อไหร่ต้องวัดผลสัมฤทธิ์ เน้นที่ผลงาน เราต้องเอาผลงานมาแรกกับเงิน

             ปี 61 นี้ การเคหะฯ ได้เงินงบประมาณได้ 874 ล้านบาท + เงินกู้และงบประมาณ จะบริหารความเสี่ยงอย่างไร  ปี 62  แนวทางการเคหะฯ มีส่วนสร้างที่อยู่อาศัยให้ผู้สูงอายุเหมือนกัน ต้องใช้งบประมาณเป็นเครื่องมือ เช่นการฝึกอาชีพในผู้สูงอายุ และมีรายได้น้อย

 

             รัฐบาลสั่งแบบ Top-Down ตอนนี้ใช้ยุทธศาสตร์ของแผน 12 ต้องดูว่าตัวชี้วัดใดที่ไปสู่ตรงนั้นได้ พวกเราคือผู้เขียนโครงการฯ ให้สอดคล้อง เพียงแค่ ปี 62 ได้รับงบประมาณเท่าไหร่ เงินกู้เท่าไหร่ และจะทำให้สำเร็จเพื่อรับงบประมาณปี 63  สิ่งสำคัญในระบบงบประมาณคือ ต้องทำแบบ LTF- Long Term Equity Fund ต้องวางแผนงบประมาณไปถึงปี 2579 ให้ได้

             กระบวนการงบประมาณ มี 5 ขั้นตอน

             1. วางแผน

             2. การจัดทำงบประมาณ

             3. การอนุมัติงบประมาณ

             4. การบริหารงบประมาณ

             5. การประเมินผล

 

             การวางแผนต้องสอดคล้องกับกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ถ้าตัวเลขได้แล้ว แต่พอเข้าสภานิติบัญญัติแห่งชาติประมาณมิถุนายน ต้องรีบวางแผนงบประมาณอย่างไร เพื่อให้ทำสัญญาได้ทัน ลูกหนี้ที่เกิดขึ้นจะบริหารความเสี่ยงอย่างไร เมื่อรู้ตัวว่าได้รับงบประมาณให้ลงนามจัดซื้อจัดจ้างได้เลย และให้เข้าสู่กระบวนการวางแผนจัดซื้อจัดจ้างทั้งหมด

             สำนักงบประมาณจะรายงานการดำเนินงานรายจ่ายกับสำนักนายกรัฐมนตรีทุกอาทิตย์

          การทำข้อเสนองบประมาณ  - รอบแรกประมาณเดือนธันวาคม

                                           - รอบที่สอง เสนอประมาณเดือนมกราคม – เมษายน

          แบ่งเป็น 5 กล่อง

          1.  Function – แผนบุคลากร แผนพื้นฐาน

          2.  Agenda เสนอโดยรัฐมนตรีว่าการ เข้าสภาพัฒน์ และเข้า ค.ร.ม.

          3.  Areaงบประมาณเสนอให้จังหวัดเป็นแผนภาคมีเป้าหมายว่าแต่ละภาคเป็นอย่างไร

             - งบประมาณตามยุทธศาสตร์หรือแผนบูรณาการ

          4. งบกลางฉุกเฉิน จำเป็น / ภัยพิบัติ / เร่งด่วน

          5. ชดใช้เงินกู้ / คงคลัง

 

          แนวทางการวิเคราะห์และจัดสรรงบประมาณประจำปีงบประมาณพ.ศ.2561

          การวิเคราะห์และจัดสรรงบประมาณ ต้องมีการประเมินและการจัดลำดับความสำคัญของผลผลิต/โครงการ ที่คำนึงถึงความสอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์ของรัฐบาล รวมทั้งความพร้อมและความสามารถในการดำเนินงานของหน่วยงาน โดยมีแนวทางการพิจารณา ดังนี้

                    1. มีความสอดคล้องเชิงยุทธศาสตร์ มีลำดับความสำคัญสูงในเชิงนโยบาย ส่งผลสำเร็จต่อยุทธศาสตร์การจัดสรร และจุดเน้นของยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561

                    2. มีการกำหนดเป้าหมาย ค่าเป้าหมาย และตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ/กิจกรรมอย่างชัดเจน เป็นรูปธรรม และแนวทางการดำเนินงานมีความเป็นไปได้ ตามระยะเวลาที่กำหนด และนำไปสู่ความสำเร็จของเป้าหมาย

                    3. ผลประโยชน์หรือผลกระทบที่คาดว่าจะได้รับ/เกิดขึ้นจากการดำเนินการมีความเหมาะสมและคุ้มค่าในเชิงเศรษฐกิจ สังคม หรือความมั่นคง

                    4. มีการตรวจสอบและยืนยันอย่างชัดเจนว่าสามารถตอบสนองต่อความต้องการหรือสภาพปัญหาของกลุ่มเป้าหมาย โดยขอบเขตงานที่ทำมีความเหมาะสม

                   5. เป็นพันธกิจหลักตามกฎหมายจัดตั้งหน่วยงาน หรือมีมติ ครม.รองรับ/มอบหมายให้ดำเนินการ โดยมีแผนของหน่วยงานรองรับชัดเจน รวมทั้งมีความเชื่อมโยงในลักษณะเครือข่ายทั้งภายนอกและภายในไม่ซ้ำซ้อน

                    6. หน่วยงานและบุคลากรมีศักยภาพและจำนวนที่สอดคล้องกับภารกิจที่ต้องดำเนินงานโครงการหรือกิจกรรมมีความพร้อมและความเหมาะสมทางเทคนิค/กายภาพ พื้นที่ดำเนินการ เครื่องมือและอุปกรณ์

                    7. การดำเนินงานไม่ก่อให้เกิดภาระของภาครัฐมากเกินสมควร ทั้งในมิติของวิธีการดำเนินการ ระยะเวลา และค่าใช้จ่าย โดยเฉพาะภาระงบประจำ เช่น การเพิ่มบุคลากร การบำรุงรักษา เป็นต้น

                    8. กรณีเป็นโครงการหรือกิจกรรมเดิม ให้ทบทวน/ตรวจสอบสถานภาพ ผลการดำเนินงาน ผลการเบิกจ่าย ปัญหาและอุปสรรค เพื่อพิจารณาความเหมาะสมและความจำเป็นในการดำเนินโครงการหรือกิจกรรมต่อเนื่อง

 

 คุณสาธิต อนันตสมบูรณ์

 

                   1. สิ่งที่เสียไปเกิดประโยชน์หรือไม่ คุ้มค่าหรือไม่ เงินที่เสียไปได้อะไรกลับคืนมา ใน 1 เดือนเราใช้เงินอย่างไร งบประมาณอย่างไร บริหารเงินอย่างไร เราต้องการของดีราคาถูกใช้งานคุ้ม หรือมีเงินและอยากได้รัฐวิสาหกิจเพื่อสร้างให้เกิดกำไร และช่วยเหลือประชาชน

                   2. การเคหะฯ ที่สร้างขึ้นมา ได้ทำบ้านให้ประชาชนดีขึ้นหรือยัง มีการดูแลอย่างไรบ้าง  สิ่งที่อยากฝากไว้คือการสร้างบ้านแล้วเป็นอย่างไร ทำเลที่ตั้งเป็นอย่างไร สาธารณูปโภคเป็นอย่างไร

                    เราเสียเงินสร้างทุกอย่างแต่ไม่คิดถึงผลลัพธ์ สิ่งที่เกิดขึ้นคือผลลัพธ์ที่เกิด เราไม่ได้คิดตลอดว่า ถ้าอยากมีบ้าน 1 หลังคือ บ้านสบาย บ้านดี ไม่มีปัญหา บ้านคนจนที่สร้างขึ้นมามีเสียงคนตำหนิบ้างหรือไม่

 

          สิ่งที่รัฐวิสาหกิจต้องมีคือ ธรรมาภิบาล   1. สุจริต   2. โปร่งใส   3. ถูกกฎหมาย

เรามีธรรมาภิบาลหรือไม่ ถ้ามีคนมาว่ารับได้หรือไม่ องค์กรการใช้เงินก็เหมือนกับคน คนที่อยากได้ อยากได้อะไร ได้บ้านที่ดี มีคุณภาพ ต้องกำกับการก่อสร้างให้ดีมีคุณภาพ  ถ้าของราคาเปลี่ยนแปลง ขอปรับได้หรือไม่ ราคาทุกอย่างเปลี่ยนตามความก้าวหน้าของเทคโนโลยี เงินส่วนนี้ต้องไม่หายไปไหน การทำงบประมาณทุกอย่างให้มองผลลัพธ์ที่เกิด แล้วไล่กลับมาหาการดำเนินการ ไม่ว่าเราจะตั้งอะไรก็ตาม แต่กลับมาต้องนำมาใช้ได้จริง อย่ายอมกับสิ่งที่ไม่ถูกต้อง

 

          วิธีการตรวจสอบเยอะมาก เนื่องจากมีการใช้เงินทุจริตเยอะมาก ทำไปเพื่ออะไร แล้วการใช้เงินรัฐวิสาหกิจดีขึ้นหรือไม่ วัดจากกระดาษไม่ได้วัดจากผลลัพธ์ที่เกิดจากงานจริง ๆ  มูลเหตุคือทุจริต ประพฤติมิชอบ ไม่รู้ว่าผลคืออะไร การทำงานต้องคิดว่าเกิดผลประโยชน์ได้จริงหรือไม่  ระบบ IT เหมาะหรือไม่ ต้องคิดว่าเงินทุกอย่างมีค่าจะบริหารอย่างไรให้อยู่ได้ ดังนั้นอนาคตในองค์กรต้องมองความเป็นไปได้ในอนาคต

 

          ปัญหาคือการใช้เงินของรัฐมีข้อบกพร่องมากเนื่องจากความโลภ โกรธ หลงของผู้นำทำให้เกิดความลำบากใจในการทำงาน ดังนั้นขอให้คิดถึงข้างหน้า ใครเป็นผู้บงการเรื่อง E-auction อยากให้ทุกท่านทำตามแผนยุทธศาสตร์ที่ถูกต้องอย่าละเลย แล้วทุกอย่างจะมีประสิทธิภาพที่ดูแล

 

          วิธีการเป็นผู้นำ ต้องคิดเป็น ใช้เงินเป็น คนทำดีต้องสนับสนุนต้องส่งเสริม ผู้นำบางครั้งอาจต้องไม่เปิดเผยตัว เพื่อที่จะรู้จักคนมากขึ้น แล้วจะให้ความเป็นธรรม ความถูกต้อง ปกป้องลูกน้อง    อะไรต้องทำให้ถูกต้องตามกฎหมาย  เรื่องจัดซื้อจัดจ้างระวังเรื่องเวลาไม่ทัน ยกตัวอย่างการก่อสร้างที่จีน  เวลาสร้างตึกใหญ่ จะดูว่ามีพื้นที่เท่าไหร่ มีระบบสาธารณูปโภคราคาถูกให้คนทำงานได้ จีนถึงเจริญเร็ว  ความเป็นอยู่ของคน การทำมาหากินเป็นเรื่องสำคัญ

 

 ดร.ดวงตา  ตันโซ

             ตัวงบประมาณจะแปลงแผน แปลงหลักการไปสู่การปฏิบัติได้อย่างไร กว่าจะได้มาดูแผนของประเทศไทยเป็นอย่างไร  อย่างภาคกลางมีเป้าหมายตัวชี้วัดอย่างไร GDP ภาคเป็นอย่างไร รายได้เศรษฐกิจสังคมเป็นอย่างไร และมีแนวทางและตัวชี้วัดอย่างไร

             เรื่อง Project Base เป็นกลุ่มโครงการ แต่ละภาคต้องเหมือนกัน และแต่ละประเภทต้องเหมือนกัน

             ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ ทำกิจกรรมที่แตกต่างกันแต่สุดท้าย Output ต้องเกิดให้ได้

             แผนผู้สูงอายุ สภาพแวดล้อมต้องดี

             กรมกิจการผู้สูงอายุ เป็นภาพของแผนใหญ่ที่หลายกองต้องดู

 

สิ่งที่จะทำในการบริหารเป็นอย่างไร วิสัยทัศน์ขององค์กรจะไปทางไหน ต้องเริ่มจากวิสัยทัศน์คือเป้าหมายองค์กรคืออะไร อยากให้มองวิสัยทัศน์ไปปี 79 และทำอะไรก็ตามอย่าลืมหน้าที่หลักคือ ช่วยเรื่องรายได้น้อยและปานกลาง ดังนั้นการทำโครงการต่าง ๆ ให้ดูเรื่องการบริหารความเสี่ยง และวิเคราะห์ของโครงการขนส่ง

การเคหะแห่งชาติ

1. ตั้งเมื่อ : 13 ธันวาคม 2515      สังกัด   : กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

2. ลักษณะของกิจการ

             การเคหะแห่งชาติยังคงดำเนินการในเชิงสังคมตามอำนาจหน้าที่ ตาม พ.ร.บ. การเคหะแห่งชาติ พ.ศ.2550 โดยการจัดหาที่อยู่อาศัยให้ผู้มีรายได้น้อย  ซึ่งภาคเอกชนไม่มีการลงทุน รวมทั้งสนับสนุนหน่วยงานส่วนท้องถิ่นในการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัย เพื่อส่งเสริมให้เกิดกระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมและส่งเสริมให้ความรู้แก่หน่วยงานท้องถิ่นเพื่อรองรับการถ่ายโอนสาธารณูปโภค สาธารณูปการพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศที่อยู่อาศัย การวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ นวัตกรรม เทคโนโลยีด้านการก่อสร้างที่อยู่อาศัยและมาตรฐานการอยู่อาศัย การบริหารและเผยแพร่ข้อมูลที่อยู่อาศัย พัฒนาเมืองและฟื้นฟูเมือง เพื่อปรับปรุงพื้นที่เสื่อมโทรมใจกลางเมือง ให้มีสภาพที่ทันสมัยและสิ่งแวดล้อมที่ดีเป็นการใช้ประโยชน์ในที่ดินที่มีศักยภาพอย่างคุ้มค่า

งบประมาณรายจ่ายประจำปี 2560            497,707,000 บาท

งบประมาณรายจ่ายประจำปี 2561             867,795,900 บาท

 

วิสัยทัศน์

             เป็นองค์กรหลักด้านการพัฒนาที่อยู่อาศัย ชุมชน และเมืองเพื่อความมั่นคงและยั่งยืนของสังคมไทย

 

พันธกิจ

             1. พัฒนาที่อยู่อาศัยสำหรับประชาชนผู้มีรายได้น้อยและปานกลางให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี

             2. พัฒนาชุมชนให้เข้มแข็งสามารถพึ่งพาตนเองได้

             3. พัฒนาเมืองให้มีสภาพแวดล้อมที่ดี

             4. บริหารจัดการทรัพย์สินให้เกิดมูลค่าเพิ่มและนำไปใช้ประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพ

             5. นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ บริการ และสร้างภาพลักษณ์ที่ดีแก่องค์กร

             6. พัฒนาบุคลากรและองค์กรเพื่อให้เกิดความยั่งยืน

 

 หลักเกณฑ์งบประมาณ

             เชื่อมโยง วัดได้ และเสนอต่อสำนักนายกรัฐมนตรีก่อนอนุมัติงบประมาณ

 

การติดตาม และการประเมินผล

             การติดตาม (Monitoring) หมายถึง กระบวนการเก็บข้อมูลของตัวชี้วัดสำคัญของการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นเครื่องบ่งชี้ความคืบหน้าและระดับความสำเร็จของการดำเนินงานให้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้รับทราบ พร้อมความคืบหน้าของการใช้จ่ายงบประมาณ

          การประเมินผล (Evaluation) หมายถึง กระบวนการประเมิน/ตัดสินคุณค่าของโครงการที่กำลังดำเนินอยู่ โครงการที่แล้วเสร็จ แผนงาน หรือนโยบาย อย่างมีหลักเกณฑ์และเป็นระบบ ซึ่งการประเมินผลมีจุดมุ่งหมายคือการประเมินความสอดคล้อง (Relevance) และการบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ แผนงาน หรือนโยบายนั้นๆ ตลอดจนประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ผลกระทบ และความยั่งยืน ผลการประเมินจะต้องมีความน่าเชื่อถือและมีประโยชน์ สามารถช่วยให้เกิดการเรียนรู้และนำไปสู่การตัดสินใจที่ดีขึ้นในอนาคต

 

 

 

แนวทางการดำเนินงานตามมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561

          1. ให้จัดทำแผนฯ ส่งให้สำนักงบประมาณภายในวันที่ 15 กันยายน 2560

          2. ให้ส่วนราชการฯ จัดทำแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ ในกรณีที่เป็นงบประมาณรายจ่ายบูรณาการให้เป็นไปตามระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณรายจ่ายสำหรับแผนงานบูรณาการ พ.ศ. 2559 รวมทั้งบริหาร กำกับติดตามให้สอดคล้องกับเป้าหมายการเบิกจ่ายงบประมาณรายไตรมาส

          3. ให้ส่วนราชการฯ เร่งโอนจัดสรรงบประมาณไปยังสำนักเบิกส่วนภูมิภาคอย่างช้า ไม่เกินวันที่ 6 ตุลาคม 2560

          4.ให้ส่วนราชการฯ รายงานผลสัมฤทธิ์และการใช้จ่ายงบประมาณเป็นรายเดือนและรายไตรมาส และบันทึกในระบบ BB EvMis

          5. ให้หัวหน้าส่วนราชการฯ ติดตามผลการดำเนินงานให้เป็นไปตามแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณโดยเคร่งครัด

          6. ให้เร่งรัดก่อหนี้และเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปีให้แล้วเสร็จโดยเร็ว

 

กรณีศึกษาด้านการบริหารธุรกิจ (บทเรียนเพื่อการพัฒนาการเคหะแห่งชาติ) 1) กรณีศึกษาของบริษัทน้ำตาลมิตรผล จำกัด โดย ดร.บวรนันท์ ทองกัลยา  รองกรรมการผู้จัดการใหญ่

     

          หัวใจของ Organization Transform หัวใจของการบริหารการเปลี่ยนแปลงขององค์กรมี 2 ตัวคือ

          1. T – Technology / Technical / Tool การบริหารจัดการต่าง ๆ ที่เป็น Half Side

          2. A – Acceptance

          แก่นของการบริหารองค์กรอยู่ที่คนเอาหรือไม่เอา ถ้าคนไม่เอาคนจะแย้งทุกเรื่อง Hard Side จะตายที่ Soft Side ทั้งสิ้น

          หัวใจสำคัญในการขับเคลื่อนองค์กร การบริหารองค์กรคิดว่าผู้ที่อยู่ภาคเอกชน คุณค่าของคนอยู่ที่ผลของงาน การทำงานในภาคธุรกิจคือจับต้องได้หรือไม่ อะไรคือ Result อะไรคือ Hi-light Performance  แม้ว่า how to สำคัญ แต่ไม่เท่ากับ result เป็นอย่างไร

 

          เป้าหมายขององค์กรต้องการเป็นองค์กรที่ยั่งยืนโดยนาน เวลาพูดถึงองค์กรที่อยู่นานอะไรคือ Key Success

          1. ผู้นำองค์กร แก่นของ Leader คือ ภาวะผู้นำดูจากแนวคิด เมื่ออยากรู้แก่นอะไรบางอย่างให้ดูที่รากศัพท์ Leader มาจากคำว่า Leith หมายถึงการก้าวข้ามธรณีประตู คือเมื่อไหร่เราหรือนายเป็นผู้นำ ต้องนำองค์กรก้าวข้ามจากสถานการณ์ที่เป็นอยู่ในปัจจุบันไม่ใช่ทำในสิ่งที่ถูกแต่ต้องตัดสินใจอะไรบางอย่างที่นำองค์กรก้าวข้ามข้อจำกัด     ต่าง ๆ

          - กล้าเผชิญกับความจริงที่โหดร้าย

          - แนวคิดแบบเม่นคือ เอาตัวรอดได้ทุกสถานการณ์ อะไรก็ทำร้ายไม่ได้ มีเกราะป้องกัน อะไรคือ Core Competence ขององค์กรที่ทำให้เป็นองค์กร 100 ปี ได้แก่ Culture แต่สิ่งที่มีอยู่เป็น Healthy หรือ Unhealthy

          บริบทของการเปลี่ยนแปลงน่ากลัวหรือไม่ VUCA คือเราอยู่ในบริบทที่ Eco System เป็นแบบนี้ อะไรคือ Force of change

The VUCA Report

          Volatility (V), Uncertainty (U), Complexity (C), Ambiguity (A)

          ช่วง 45 ปีกำลังอยู่ในช่วง Peak จาก 45 ปีไปเป็น 100 ปี ยากแค่ไหน

          คนที่ Sense of Urgency สูง ๆ รู้ว่าธุรกิจตอนนี้เผชิญกับอะไรจะรอด

 

          หัวใจสำคัญอยู่ที่คนมีความสามารถในการรับมือกับสถานการณ์ในอนาคต future competency ดังนั้นจะเตรียมความพร้อมของคนในอนาคตอย่างไรบ้าง

          มิตรผล Margin ใหญ่มาจากไฟฟ้า และพลังงานมากกว่าผลิตน้ำตาล สิ่งนี้เป็นตัวอย่างของการรับมือกับการเปลี่ยนแปลง

          LPN บอกว่าถ้าไม่ “ปรับ” ก็ไม่รอด ?  LPN เป็นอสังหาริมทรัพย์ที่ทำคอนโดฯขนาดเล็ก ในตลาดจะอยู่ในเกรดที่ต่ำสุด จับ Pricing ระดับ B และ C ลงมา ที่ไม่ปรับไม่รอดเพราะยอดกู้ไม่ผ่านเยอะมาก เป็นส่วนหนึ่งของ Force of change

 

          ปิดตำนาน คู่สร้างคู่สม  ถ้าเจอแนวโน้มแบบนี้ เป็นลักษณะปิดตอนขาลง เป็นกลยุทธ์การถอย แพ้ตอนมีกำไรดีกว่าขาดทุน

 

          - ที่น่าสนใจคือการสะท้อนการบริหารองค์กร

          สถานการณ์ในหลายองค์กรเหมือนธุรกิจที่กำลังเจอไฟไหม้อยู่ แบบไหม้นอกบ้าน เวลาไฟไหม้มีคนอยู่ 3 ประเภท 1. ตื่นตูม Panics  2. ไม่รู้ร้อนรู้หนาว  3.รู้ว่าไฟไหม้ แล้วต้องการจัดการกับตัวเองและเพื่อนบ้านอย่างไร

          มิติของคนจะใช้ความรู้ ความสามารถ Competence มุ่งมั่น ทุ่มเททำอย่างไรให้องค์กรอยู่ได้

          -  คนที่รู้ว่าอะไรจะเกิดขึ้นได้เปรียบหรือไม่ ถ้าใครรู้เทรนด์ก่อนได้เปรียบ รู้แนวโน้มได้เปรียบ ทำ Scenario ได้แม่นยำ ได้เปรียบแน่ หน้าที่ของผู้บริหารต้องเห็นอนาคตว่าอะไรจะเกิดขึ้นในอนาคต อะไรเป็นบริบทที่เปลี่ยนแปลงที่มีผลในธุรกิจของท่าน

          -  AI สามารถวิเคราะห์แนวโน้มได้แบบไหน

          -  ใคร Preparing for change ก่อนได้เปรียบแน่ เช่นรู้ว่ายานยนต์เป็นไฟฟ้า กลุ่มชิ้นส่วนเริ่มหันไปแบตเตอรี่ทำ Solar Cells เห็นถึงโอกาสในอนาคต

          -  ความพร้อมในการรับมือการเปลี่ยนแปลง ต้องเป็น Learning ที่ดี ต้องมี Sense of Urgency และน่ากลัวว่าต่อไปในมหาวิทยาลัยไทยจะไม่มีที่ยืน กระทบหมดทุกวงการ ใครไวก่อนจะได้เปรียบ

          -  ถ้าเมื่อไหร่ใครพร้อมได้เปรียบ ถ้าพร้อม ทุกปัญหาจะเป็นโอกาส

สูตรสำเร็จแห่งการเปลี่ยนแปลง

          การบริหารการเปลี่ยนแปลงมี 6 ปัจจัยหลัก ที่คนพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงโดยไม่กลัว

          1. Vision – ต้องมีการพูดถึงเรื่องวิสัยทัศน์ที่ชัด

          หน้าที่ของคนเป็นนายคือการสร้างวิสัยทัศน์ให้ผู้คน Where we want to be? ต้องรู้ว่าไปตรงจุดไหน วิสัยทัศน์คือการบอกทิศทาง

          2. Communication – การสื่อสารเป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้คนรับมือกับการเปลี่ยนแปลงได้ เพราะถ้าไม่สื่อสาร หรือสื่อไม่ดีคนมีแนวโน้มปฏิเสธ

          3. Incentive – แรงจูงใจในการเปลี่ยน ถ้าเมื่อไหร่ไม่มี Incentive จะ Slow Change

          4. Skill – เมื่อไหร่คนมีความรู้ ความสามารถ ทักษะสูงจะไม่กลัวการเปลี่ยนแปลง โลกอนาคตจะต้องเป็นคนที่ทำงานที่มีความรู้

          5. Action Plan – การทำ Change ต้องมีแผนงาน ไม่เช่นนั้นจะทำมั่วไปหมด

          6. Tool – คนเป็นนายต้องสนับสนุนทรัพยากรด้วย

          ต้องทำให้ Soft Side แข็งแรงมีความรู้ ความสามารถ สิ่งแรกที่ทำคือ SCG Academy ให้คนไม่กลัว

          สรุปคือ ต้องทำให้เป็น Knowledge Worker ให้ได้

          Engagement มีงานวิจัยบอกว่า Gen Y จะออกง่ายใน 3 ปีแรก โดยเฉพาะปีแรก

          การพัฒนาอะไรให้เกิดช่องว่างระหว่างวัยน้อยที่สุด

                             - Keyword มีสิ่งเดียวคือ Understanding เพราะที่ผ่านมาผู้บริหารจะเอาตัวเองเป็นตัวตั้ง

                             - ตัวที่ Impact ที่มีผลทำให้คนรักไม่รักที่สุดเพราะนาย  คนเข้าเพราะองค์กรออกเพราะนาย คำถามที่ถามว่าอะไรคือ

                             - มนุษย์ทุกคนต้องการเป็นคนที่มีความหมายในองค์กร คือเอาเด็ก ๆมาทำ Start up ในองค์กร

 

          การเป็นตัวอย่างคือตัวที่เป็น Cultivate Corporate ได้ดีที่สุด หมายถึงการแสดงออกด้วย หัวใจสำคัญที่สุดคือ การปลูกฝัง Role Model ที่สร้างประสบการณ์

 

 

วันที่ 7 มีนาคม 2561

การบรรยายเรื่องการบริหารความเสี่ยงทางธุรกิจโดย คุณสมชาย ไตรรัตนภิรมย์

 

ระบบบริหารความเสี่ยง

                   การบริหารความเสี่ยง คือความจำเป็นที่ต้องบริหารความเสี่ยงมีระบบที่ดีช่วยทำให้การดำเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์ เป้าประสงค์ตามแผนยุทธศาสตร์ ก่อให้เกิดการสื่อสาร มี Owner , Center การบริหารความเสี่ยงเป็นเรื่องของบุคลากรทุกคน การสื่อสารจึงมีความจำเป็นมากในการขับเคลื่อนองค์กรสู่เป้าหมาย ช่วยให้ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ก่อให้เกิดการปรับปรุงต่อเนื่อง ช่วยเรื่อง Internal Audit Program มีการ Focus มากขึ้น Internal Audit /Control ต้องไป Focus ในเรื่องความเสี่ยงที่สำคัญ ๆ กับองค์กร ความเสี่ยง คือการจัดการความไม่แน่นอน

                   การบริหารความเสี่ยงที่นำไปใช้คือนำไปเสนอแผนยุทธศาสตร์ อนุมัติงบประมาณโครงการ โครงการนั้น ๆ ควรทำหรือไม่ กระบวนการบริหารความเสี่ยงเป็นเรื่องสำคัญ

                   การกำหนดคู่มือ การกำหนดโครงสร้าง มีบทบาทอย่างไร อยู่ในโครงสร้างองค์กรอย่างไร มีการติดตามและประเมินผลอย่างไร Infrastructure ด้าน IT , Data base, ตัวชี้วัดต่าง ๆ ,KRI สิ่งที่ต้องใส่ในค่านิยมองค์กรคือให้ทุกคนมีการตระหนัก รับรู้ในเรื่องความเสี่ยง การสร้างภูมิคุ้มกันในการบริหารความเสี่ยง การบริหารโอกาส สร้าง Risk Awareness Culture มี commitment

                   ระบบบริหารความเสี่ยงในประเทศไทยจะยึด COSO ERM อย่างบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ของประเทศไทยก็ยึดให้ใช้ระบบนี้ วงการอุตสาหกรรมเริ่ม ISO 31000 ประเด็นที่ Comment COSO ERM  เกิดจากสถาบันการเงิน  ที่มีวิกฤติการสถาบันการเงินล้ม หลังจากที่ได้ปรึกษากับ Price Waterhouse แต่มี Comment ว่าอาจเป็นเครื่องมือไม่ชัดเจนหรือเหมาะกับสถาบันการเงินเท่านั้น เนื่องจากไม่มีเครื่องมือที่นำไปใช้ได้เหมาะสม และการวัดที่แน่นอน ต่างกับ ISO 31000 ที่มีวิธีการวัดที่ชัดเจน

          หลักการบริหารความเสี่ยงหลัก ๆ ใช้แนว SOFC

          S ความเสี่ยงอันเกิดจากการที่กำหนดนโยบายและแผนกลยุทธ์ แผนดำเนินงาน และการนำไปปฏิบัติไม่เหมาะสม หรือไม่สอดคล้องกับปัจจัยภายในและสภาพแวดล้อมภายนอก

          Oความเสี่ยงอันเกิดจากการดำเนินงานภายในองค์กร ซึ่งเป็นผลมาจากบุคลากร กระบวนการทำงาน โครงสร้างพื้นฐาน รวมถึงการทุจริตภายในองค์กร

          F  ความเสี่ยงที่ก่อให้เกิดผลกระทบทางด้านการเงินต่อองค์กร

          C  ความเสี่ยงอันเกิดจากการไม่ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้อบังค้บ โดยครอบคลุมถึงกฎ ระเบียบของทั้งหน่วยงานภายในและภายนอกที่กำกับดูแลองค์กร

          Strategic Risk และ External Risk เป็น Uncontrollable คือความเสี่ยงที่ไม่สามารถควบคุมได้ ตัวอย่าง คะแนนเต็ม 5 หมายถึงโอกาสน้อยกว่า 1 แต่เกิดแล้วหายนะเป็นต้น  ดังนั้นในระดับองค์กร OFC ถูกพัฒนาต่อเนื่องมาหลาย 10 ปีแล้ว ค่อนข้างไม่ค่อยมีปัญหา แต่ที่ควร Focus คือ Strategic Risk กับ External Risk

          หลักการเขียนวัตถุประสงค์ของความเสี่ยง ต้องอยู่ในลักษณะ SMART

                   Specific ( เฉพาะเจาะจง ) มีความชัดเจนและกำหนดผลตอบแทนหรือผลลัพธ์ที่ต้องการที่ทุกคนสามารถเข้าใจได้อย่างชัดเจน

                   Measurable (สามารถวัดได้) สามารถวัดผลการบรรลุวัตถุประสงค์ได้

                   Achievable (สามารถบรรลุผลได้) มีความเป็นไปได้ที่จะบรรลุวัตถุประสงค์ภายใต้เงื่อนไขการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในปัจจุบัน

                   Relevant (มีความเกี่ยวข้อง) มีความสอดคล้องกับกลยุทธ์และเป้าหมายในการดำเนินงานขององค์กร

                   Timeliness (มีกำหนดเวลา) สามารถกำหนดระยะเวลาที่ต้องการบรรลุผล

                   สรุป คือ เราต้องเน้นการลดความเสี่ยง และบริหารความเสี่ยงให้ตรงตามเป้าหมายขององค์กร การบริหารความเสี่ยง ต้องเน้นการลดโอกาสและลดผลกระทบ การบริหารความเสี่ยงเป็นการดูทั้งองค์กร องค์รวม

ความเสี่ยงจะได้รับการประเมินจากการทำภาพรวม ให้ผู้บริหาร และ Board ทราบ มีมาตรฐานการติดตามและประเมินความเสี่ยง

การเตรียมความพร้อม Risk

Preventable Risk คือตัว O,F,C สามารถควบคุมได้ เราต้องนำสิ่งเหล่านี้ใส่ไปในองค์กรคนที่ใช้ต้องปลอดภัย ต้องให้ความสำคัญ Value กับ Stakeholderปลูกฝังองค์กรตั้งแต่ Vision Statement Strategic Risk ให้ดูตัวอย่าง Sumsung กับ Sony , BB กับ I-phone เป็นตัวอย่าง

          การทำ Strategy Map ต้องมีการกำหนด KRI ด้วย

          External Risk จัดการโอกาสไม่ได้เลย ต้องดูผลกระทบอย่างเดียวเท่านั้น เช่น ปัญหา Hamberger Crisis, หนี้เสียที่ยุโรป  การเคหะมีจุดไหนทีต้องทำ Strength Testing , และการสร้างสถานการณ์ต่าง ๆ เข้ามา

ดู Scenario Planning, whole planning

 

วันที่ 14 มีนาคม 2561

การพัฒนาที่อยู่อาศัย...กับการขับเคลื่อนประเทศไปสู่ Thailand 4.0 กรณีศึกษา

โดย  ดร.โสภณ พรโชคชัย  นายสิทธิชัย เนี๋ยมเจริญ

 

ดร.โสภณ  พรโชคชัย

 การเจริญเติบโตของอสังหาริมทรัพย์

 

อสังหาริมทรัพย์ในระดับล่างส่วนใหญ่ไม่ค่อยมีคนทำ  แต่ข้อดีคือสลัมลดลงตรงไหนมีโครงการเยอะ     ตรงนั้นจะมีจุดตั้งโครงการ และมีการขายโครงการเยอะ  ปี 2017 มีโครงการประมาณ 410 โครงการ     ปีนี้โครงการลดลง เช่น ที่สนามหลวง ราชดำเนิน ถนนข้าวสาร วัดอรุณฯ แต่มีการเสนอขายยังเยอะอยู่

ในรอบ 20 ปี จำนวนหน่วยเพิ่มขึ้นมาตลอด แต่แนวโน้มการลดลงจะมีมากขึ้นเช่นกัน แต่กลุ่มที่มีอำนาจซื้อก็ยังอยู่ เช่น บ้านราคา 15 ล้านบาท

แนวโน้มที่สำคัญอย่างหนึ่งคือ ในรอบ 2 เดือนที่ผ่านมา Trend บ้านแฝดกำลังมากำลังมาแรง (เงื่อนไขต้อง 35 ตารางวาขึ้นไป) ที่ดินมีความสำคัญมาก ถ้าลดราคาที่ดินลงมาหน่อยก็จะขายได้มากขึ้น

ในช่วงวิกฤติปี 40 การไป Survey ปี 41-43 ไม่ได้ย่ำแย่มากเท่าไหร่ ซึ่งถ้าศึกษาให้ดีปัญหาต่าง ๆอาจไม่เกิดขึ้น

 

ข้อดีของการเคหะฯ คือ

1. สร้างเสร็จหรือเกือบเสร็จก่อนขาย สัดส่วนการเคหะฯ ที่เหลือขายประมาณ 190,000 หน่วย เทียบสัดส่วนกับสมัยก่อนถือว่าไม่มากเท่าไหร่

การแบ่งกลุ่มที่ทำเลขายได้ดี ถ้าตั้งอยู่ที่ที่ตั้งแถวนี้น่าจะขายได้แน่ ยกเว้นว่า มีเหตุที่ทำให้บ้านไม่น่าซื้อ ได้แก่ รัชโยธิน บางบัวทอง ปทุมวัน นวมินทร์ บางนาตราด พหลโยธิน ศรีนครินทร์ ลาดกระบัง ยานนาวา-สีลม คลองสาน  ป้อมพระจุล พหลโยธิน  วงแหวนรอบนอกเพชรเกษม พิบูลสงคราม สายใหม่ สุขุมวิท-พระราม 4

ส่วนทำเลที่ขายไม่ดีได้แก่  บางขัน-คลองหลวง ถ.รามา 2 กม. 1-10  ถ.บางนาตราด กม.10-30  มหาชัย-เศรษฐกิจ  บางนาตราด กม. มากกว่า 30 และ 10-30  ตลิ่งชัย บางนาตราด กม.>30 นิมิตใหม่ รังสิตคลอง 7-คลอง 16 บางบัวทอง ลาดหลุมแก้ว รามา 5 – บางกรวย

 

การก่อสร้างต้องมีระบบในการคุ้มครองคนซื้อ ถ้ามีท่าทีว่าไม่ค่อยดี ให้เลิก การสำรวจพบว่า บ้านราคาส่วนใหญ่ 3-5 ล้านบาท เป็นหลัก มี 111,000 หน่วย บ้านราคา 5-10 ล้านบาท มี 105,000 ล้านหน่วย

 

ลำดับธุรกิจอสังหาริมทรัพย์บริษัทมหาชน  10 อันดับแรก ได้แก่ พฤกษา เรียลเอสเตท  ,เอพี (ไทยแลนด์),  แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์  , อนันดา ดีเวลลอปเม้นท์ , ออริจิ้น พร้อมเพอร์, ศุภาลัย ,เสนา ดีเวลลอปเม้นท์ ,พร้อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค  แผ่นดินทอง พร๊อบเพอร์ตี้ ดีเวลล้อปเม้นท์ , เอเวอร์แลนด์ บริษัทที่ไปต่างจังหวัดมากที่สุดได้แก่  บริษัทแสนสิริ  แต่ขายไม่ค่อยดี เลยเลิก

 

 Innovation แบบอย่างต่างประเทศ ยกตัวอย่าง

 

          1. ที่ตั้ง World Expo เซี่ยงไฮ้ ก็เป็นโรงงานเก่าอายุร่วมร้อยปี เทียบคลองเตย

          2. สนามบินไคตัก (ในอดีต) ที่ฮ่องกง ขณะนี้แปลงเป็นเขตที่อยู่อาศัยราคาแพง สำนักงาน หน่วยราชการ โดยเว้นพื้นที่บางส่วนเป็นสวนสาธารณะ

          3. KL Sentral ของกัวลาลัมเปอร์ก็พัฒนาเป็นศูนย์คมนาคมรวมทั้งโรงแรม ศูนย์การค้า

          4. พื้นที่รถไฟใจกลางมหานครของญี่ปุ่นที่เดี๋ยวนี้ลงใต้ดินไปแล้วกำลังจะพัฒนาในเชิงพาณิชย์ ไม่มีใครเอาไปทำสวน

          5. ท่าเรือเก่าใจกลางกรุงลอนดอน บริเวณ Canary Whraf เอามาทำศูนย์ธุรกิจ

          6. กรุงลอนดอนในวันนี้ แสดงศูนย์การเงิน Lendenhall

 

นวัตกรรมการปรับปรุงชุมชนแออัด พ.ร.บ.การเคหะแห่งชาติ พ.ศ. 2537  มาตรา 6 ให้จัดตั้งการเคหะขึ้น เรียกว่า “การเคหะแห่งชาติ” เรียกโดยย่อว่า “กคช.” และให้เป็นนิติบุคคล มีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้

          1. จัดให้มีเคหะเพื่อให้ประชาชนได้มีที่อยู่อาศัย

          2. ให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ประชาชนผู้ประสงค์จะมีเคหะของตนเอง หรือแก่บุคคลผู้ประสงค์จะร่วมดำเนินกิจการกับ กคช. ในการจัดให้มีเคหะขึ้นเพื่อให้ประชาชนเช่า เช่าซื้อ หรือซื้อ

          3. ประกอบธุรกิจเกี่ยวกับการก่อสร้างอาคารหรือจัดหาที่ดิน

 

          4. ปรับปรุง รื้อ หรือย้ายแหล่งเสื่อมโทรมเพื่อให้มีสภาพการอยู่อาศัย สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคมดีขึ้น

          5. ประกอบกิจการอื่นที่สนับสนุนหรือเกี่ยวเนื่องกับวัตถุประสงค์ดังกล่าว

 

นายสิทธิชัย เนี๋ยมเจริญ

          ประเทศไทยกำลังก้าวสู่ Thailand 4.0 ประเทศไทยกำลังปรับตัวเองไปด้านนวัตกรรม  สิ่งที่ดูคือ Envision for solution จะตรงมาที่หน่วยงานก่อนว่าทำอะไรกัน

Envision คือการ Imagine Something Possible

          SCG จึงเน้น Platform 4 อย่างคือ

          - Construction Platform

          - Elder Care Solution Platform

          - ECO Solution Platform

          - Smart Solution Platform

 

          ในปี พ.ศ. 2561 SCG เกิดมา 105 ปี เต็ม ผ่านวิกฤติมากมายอย่างในปี 1997 วิกฤติต้มยำกุ้ง ที่ได้รับผลกระทบจำนวนมาก จนต้อง Restructure  มีบริษัท 205 บริษัท หลังจากที่เรามีบริษัทมาก หลังจากนั้นเข้ามายุคที่เริ่มตั้งหลักได้ ปี 2004 คือยุคที่เริ่มเปลี่ยนแปลง เป็นยุคการทำ Innovation เพราะไม่เช่นนั้นธุรกิจไม่รอด และในวันนี้ปี ค.ศ. 2017 เรากำลังเจอวิกฤติตัวใหม่คือ การ Disrupt ทาง Business สิ่งที่เกิดขึ้นคือ การ Disrupt ในยุค Digital Transformation ยกตัวอย่างที่เมืองจีนไม่ใช้ Currency ปกติแล้ว เขาใช้มือถือยิง QR code อย่างเดียว

 

          ประเทศไทยตั้งหลักได้ กำลังก้าวสู่การใช้นวัตกรรม กำลังทำประเทศไทยให้เป็น 4.0

          New S-Curve การก่อสร้างบ้านคืออะไร

          - การ Disrupt ทำให้ธุรกิจเกิดและตายได้ตลอดเวลา

 

นวัตกรรม คืออะไร  Innovation ต่างกับ Invention

Invention คือการประดิษฐ์ สิ่งไหนที่เกิด Invention หมายถึงเกิดขึ้นครั้งแรกของโลก แต่ Invention ทั้ง 100 % ไม่เป็นนวัตกรรม

          ยกตัวอย่าง Micro shift สร้างเป็นครั้งโลก มีวงจรหลายร้อยพันวงจรที่เล็กมากอยู่ในนั้น  Microshift เป็นเรื่องของ Invention แต่ Smart Phone เป็นเรื่อง Innovation หมายถึงต่างกันที่ Impact

          หมายถึง Innovation จะไม่เกิดประโยชน์ถ้าไม่สร้าง Value สู่ Customer

          1. New to us สิ่งนั้นใหม่สำหรับเรา

          2. New to market ในตลาดยังไม่มีใครทำแต่เราไป Import มาขายได้

          3. New to the world ในโลกยังไม่มีใครทำ แล้วเราทำแล้วขายได้ สิ่งนี้ถือเป็นสุดยอดมาก

 

          โลกเสมือนจะเกิดขึ้นจริงในเร็วนี้

          ความสัมพันธ์ระหว่าง Creativity , Invention and Innovation

          Invention ตัวไหนที่มีการกระแทกใจอย่างดีแล้วลูกค้าได้รับประสบการณ์แล้วชอบ สิ่งนั้นคือ Innovation

          ยกตัวอย่าง โทรทัศน์เจ้าแรกที่มีรีโมทคือ Toshiba ได้สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจกับผู้บริโภค จนเป็นจุดริเริ่มของการผลิตรีโมทควบคู่กับโทรทัศน์ต่อมา

What SCG believe in Innovation

          แนวคิดของ SCG  คือ ถ้าไม่มี Innovation จะไม่สามารถสร้าง Sustain Growth

How to Build an Innovation Organization?

          - Vision

          - Innovation Culture

          - Innovation Process

          - Customer Centric

 

ใครเป็นคนมี Vision

          คือ Leader  มองปลายทางคือลูกค้า หมายถึงสิ่งที่ทำต้องขายได้ ต้อง Build Process 

โครงสร้าง SCG มียึดมั่นในอุดมการณ์ 4  SCG Innovation Organization สร้าง Innovation for life

          1. Customer Centric

          2. Visionary Leadership & People Competency

          3. Inno- Culture Practice

          4. New Idea System

Where a potential idea come from?

          1. Technology Scanning

          2. Competitor Landscape

          3. Mega Trend

          4. Customer Insight

มอง Mega Trend ว่าอะไรคือ Key Driver จะลงทุนตัวไหน รู้ก่อนได้เปรียบ

          1.STEEP  to Driver

          2. S-Curve to Landscape

          3. Technology Roadmap

 

Global Mega Trend

         ยกตัวอย่างเช่น ความสนใจในเรื่องเกี่ยวกับบ้านมีเรื่องอะไรบ้าง สิ่งที่พบคือคนส่วนใหญ่เริ่มสนใจสิ่งที่เป็น Life Style ความเป็น Smart Goal มากขึ้น แต่ตัวเปลือกเริ่มสนใจลดลง การคาดเดา   เราต้องรู้ว่าจะดูว่าอันไหนอยู่ตรงไหน

 

Create our Own strategic opportunity Areas (SOA)

          1. Construction Platform

งาน Construction ต้องลด Skill Labor งานก่อสร้างกำลังจะเจ๊ง เพราะทุกอย่างว่าด้วย Standard อยู่ที่โรงงาน Platform จึงเป็นสิ่งสำคัญ

          - More efficiency

          - Reduce skill labor need

          - Reduce waste

          - Off-site Construction

 

          2. ECO Solution Platform มีเรื่อง Energy generation, Energy saving , Thermal Comfort, Air Quality

ยกตัวอย่าง- Renewable Energy

          - Solar Cells

          - Energy Efficiency / Saving

 

          3. Elder Care Solution Platform

          สังคมประเทศไทย เริ่มเข้าสู่สังคมสูงวัยแล้ว สิ่งที่คนสูงวัยต้องมีคือเรื่อง Safety ,Wellness, Convenience, และ Multi-Generation คือการ Mix กันระหว่าง Generation  ซึ่งเป็นเรื่องสำคัญ

          ดังนั้นการ Design ในปัจจุบัน เริ่มคิดเรื่อง Universal Design แล้ว

 

          4. Smart Solution Platform

          ประกอบด้วย Better living solution, One connectivity Platform, Reliability สิ่งที่พบโดยมากจะพบว่า Smart City นำร่องโดยภาคเอกชน

 

S-Curve of  Technology

          ในฐานะที่เป็นเจ้าของ Business จะลงทุนในธุรกิจตัวไหน  ในช่วง Dilemma Zone  ถ้าเรารู้ก่อนจะปรับตัวได้ แต่รู้ที่หลังจะปรับตัวยากพอสมควร

ยกตัวอย่าง Toyota เป็นตัวอย่างที่ดีในการทำ  Hybrid Engine ที่ออกมาตัวแรกคือ Prius ซึ่งต่อมาก็มี Honda ผลิตรถที่เป็น Sola Engine ขึ้นมาเป็นต้น  แสดงว่า Future is Now อย่าชะล่าใจเด็ดขาด

 

สำรวจ  Customer

          ใช้วิธี Design Thinking Process

          - อยากรู้อะไรถามลูกค้า และถามให้เป็น  เช่นถ้าจะติดรูปที่บ้านต้องการอะไร เช่น ต้องการตัวเจาะในการติดรูปที่แขวน  เราอาจเสนอสว่านเจาะ แต่ลูกค้าอาจไม่อยากได้ เช่นอยากได้ กาวสองหน้า เทปสองหน้า ดังนั้นสิ่งที่ต้องหาให้เจอคือ Customer Inside

          - ในทุกกระบวนการเราจะถามลูกค้าเสมอ ลูกค้าจะมีส่วนร่วมตลอดเวลา ดังนั้นสิ่งที่เกิดขึ้นจะไม่หลงทาง

 

การพัฒนาสินค้าอย่างหนึ่ง

          เช่น Apple ทำ MPV เพื่อทดลองตลาด หมายถึงเราอย่าเสียเวลาในตอน Final Pro เพราะลูกค้าจะสามารถบอกตอน Early Stage ได้ว่าเอาหรือไม่

 

Open Innovation

          - Connecting  the door คือการหา Collaboration จากคนที่เป็น Networking จากข้างนอก เป็น Open Innovation ที่ได้ Network ด้วย

ยกตัวอย่าง Sustainable Home  สิ่งที่ทำมาคือ The Next Eco-Sustainable Technology  for Home บ้านรังนก หมายถึงบ้านที่สามารถ Stand Alone ได้ เป็นบ้านที่ผลิตไฟได้เอง อยู่ที่ สวทช. รังสิต มีพื้นที่ 154 ตารางเมตร สิ่งที่คิดทำเรื่องนี้เพราะว่า  SCG ทำบ้านของจริง มีการบูรณาการเทคโนโลยีและดำเนินการไปถึงสุดของของเทคโนโลยีอย่างไร

 

          การก่อสร้างก็ใช้เทคโนโลยีใหม่เริ่มมาจากการใช้บ้าน 100 ปี เพื่อเฉลิมฉลอง และคิดเป็น Business Model มีเทคโนโลยีใหม่ในบ้าน 80% เป็นส่วนที่คิดมาเอง จด IP Innovation ลูกค้าสนใจเรื่องการระบายอากาศ  คนที่กล้าลองใช้เป็น Innovator เป็นคนแรก ที่จะผลักดันสู่การตลาด จะเป็นใคร แต่ที่ผ่านมาถ้าไม่สามารถเข้าสู่ตลาดได้  Innovation ตรงนั้นจะตาย

          ระบบระบายอากาศ เป็น Flow House

          ตอนนี้กำลังจะสร้างสะพานข้าม ถ้าข้ามได้จะกลายเป็นช่วง Growth ของผลิตภัณฑ์

 

การบริหารกลยุทธ์องค์กร (2)  โดย ดร.ณัฐวุฒิ  พงศ์สิริ  อาจารย์ศรัณย์ จันทพลาบูลย์ 

กรณีศึกษาของธนาคารแห่งประเทศไทย ดร.ณัฐวุฒิ  พงศ์สิริ

 

          ปัจจุบันแผนกลยุทธ์จะเป็น 3 ปี เน้นเชิงคุณภาพมากขึ้น มีการประเมินผล ในช่วงหลังการทำแผนกลยุทธ์ มีบอร์ดในหลายภารกิจ ซึ่งเป็นเรื่องที่ดี

          การเริ่มทำแผนกลยุทธ์ต้องดูว่าเกิดอะไรขึ้นกับสิ่งที่เปลี่ยนแปลงไป

 

The World is changing

          - Fewer boundaries โลกมีการเปลี่ยนแปลงเร็วมาก เรามีความสามารถแข่งขันอย่างไรก็ได้

          - Free flow information การสร้างผลิตภัณฑ์ที่ตรงใจผู้บริโภค เช่น Wallmart สามารถทราบได้ว่าใช้สบู่ขนาดไหนแล้ว จะซื้ออีกเมื่อไหร่ สังเกตได้จากการ Flow ข้อมูล

          - Rapid tech advancements, enablers and distractors เทคโนโลยีมีทั้งด้านบวกและด้านลบ เป็นหนึ่งในสมการการคิดแผนกลยุทธ์องค์กร

          - Smarter mobiles

          - Virtual Reality is reality จะเป็นลักษณะ Work from home มากขึ้น

          - More Connected

 

 Navigating the next industrial revolution

          เปลี่ยนแปลงเร็วมาก สังเกตได้ว่าจะเห็นเครื่องมือใหม่ ๆ มี AI และมีระบบ Face recognition คือระบบจดจำภายหน้าเป็นระบบ Machine Learning และถึงขั้น Deep Learning สามารถสั่งการขับรถโดยพิมพ์ได้โดยไม่ต้องใช้มือพิมพ์

          เราอยู่ในยุคดิจิทัล ทุกสิ่งขับเคลื่อนเร็วมาก  เราสามารถใช้การผสมผสานของดิจิทัลเทคโนโลยี มีการแก้ระบบระเบียบเป็นมาตรฐานสากล

 

Technology is everywhere &

          ทุกอย่าง Customization เรื่องที่เกิดขึ้นเป็น มีเดียต่าง ๆ เป็นลักษณะ Streaming มีการupload ข้อมูลได้เร็วขึ้นจาก Big Data

          - Social ,Mobile ,Analytics & Cloud

          - Artificial Intelligence, Cognitive &Robotics

          - Big Data and Automation

 

The Quest for Customer Focus

ใครมีข้อมูลทางการตลาดจะวิเคราะห์ได้เร็วขึ้น โลกในปัจจุบันเป็นโลกของผู้ซื้อไม่ใช่ผู้ขาย ผู้ซื้อได้ประโยชน์เนื่องจากสามารถเทียบราคาได้ แต่ในวันนี้พลิกกับเป็นโลกของผู้ผลิต คือคนที่ขายของได้ต้องสร้างความรู้สึกในการที่คนต้องใช้สิ่งของนั้นเสมือนเป็นการบังคับให้ผู้ซื้อใช้ของที่เป็น Experience ในองค์กรเอง ถ้าผลิตจนถึงการสร้างให้เกิดความเป็นส่วนหนึ่ง เหมือน Challenge มีความสุข ทำแล้วรู้สึกภาคภูมิใจ คนได้เรียนรู้ทุกวัน

 

สรุปคือ Experience จะทำให้คนซื้อของ และอยู่ในองค์กร

 

VUCA

          โลกยุค VUCA คือ ผันผวน ไม่แน่นอน ซับซ้อน ไม่ชัดเจนในยุคนี้เป็นยุคของ disruptive

 

องค์กรและการเปลี่ยนแปลง

          1. องค์กรที่ไม่รู้ว่ามีอะไรเกิดขึ้น – ยังมีการจ้างคนเหมือนเดิม และมีการรั่วไหล ยังไม่อยากเปลี่ยนแปลง ไม่ลงทุน

          2. องค์กรที่เฝ้าดูการเปลี่ยนแปลงและรอจนกว่าจะกระทบตัวเอง

          3. องค์กรที่อยากให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรู้ว่าทำอย่างไรแต่ไม่ลงมือทำ

          4. องค์กรที่สร้างการเปลี่ยนแปลงให้เกิดขึ้นจริง เป็นองค์กรที่จะอยู่รอดได้ในอนาคต ทุกสายงานบอกได้ว่าต้องการคนกี่คน ลักษณะแบบไหน

 

          ธุรกิจที่ปรับตัวไม่ทันอาจเกิดปัญหาได้  เราต้องสร้างค่านิยมร่วม

          ยกตัวอย่าง Amazon เป็น Website อ่านหนังสือได้มา Disrupt Book Sell อีกทางหนึ่ง หรือ การออก Product ใหม่กลืนกินบริษัทเขาเอง

          ไม่มีองค์กรไหนที่ไม่สามารถอยู่ได้โดยไม่ปรับเทคโนโลยี เพราะโลกเปิดให้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ในอดีตจะเห็นว่าเราไม่สามารถป้องกันอะไรได้  ปัญหาคือ HR ไม่ได้มองการ Retain คนเป็นเรื่องใหญ่ เรามองดูว่าเราจะใช้ศักยภาพให้เต็มที่ได้อย่างไร แล้วต้อง Deliver ไห้ได้ อนาคตเป็นสิ่งที่ต้องดูในการปรับเปลี่ยนรูปแบบการทำงาน มีการกำหนดเรื่องโครงสร้างทางสังคมในการเลือกปฏิบัติ มีการปรับกฎระเบียบต่าง ๆ

 

Some Fundamental Questions ?

Key Questions in Strategic Management

             1. Where are we now? 

             2. Where do we want to go?

             3. How will we go there?

          เช่นบางคนมีที่จอดรถอยู่ที่บ้านอยู่ใน Prime Area จะทำให้รู้ที่มาที่ไปว่าอยู่ตรงไหน ดังนั้นการสร้างอะไร เราต้องรู้ว่าอนาคตจะเกิดอะไรขึ้น แล้วเราจะไปที่ไหน ไปอย่างไร

 

          Where are we now?  - Strategic Analysisการทำ SWOT ,PEST,Five forces, 7S,etc.

          Where do we want to go? เราต้องตั้งวิสัยทัศน์ที่ท้าทาย มี SMART GOAL

          How will we go there? พูดถึงกลยุทธ์ที่จะไปจะทำอย่างไร

 

Factors Shaping the Choice of Strategy

          มีปัจจัย Internal Factors และ External Factors และมีการ Mix of considerations that determines a company’s strategic situation

 

ตัวอย่างของแบงค์ชาติ

          1.กำหนดวิสัยทัศน์ คิดแผนยุทธศาสตร์ 3 ปี เน้นเรื่องการพัฒนา และสร้างความเข้มแข็งภายในการอยากรู้ว่าองค์กรสำคัญเรื่องคนมากน้อยแค่ไหนจะดูที่มีเรื่องคนอยู่ในแผนยุทธศาสตร์หรือไม่           ข้อมูลจากข้างนอกเป็นสิ่งสำคัญ เป็นการรวบรวมข้อมูลจากส่วนต่าง ๆ

          2. การให้โจทย์คิดจากระดับล่างขึ้นข้างบน แล้วหัวหน้าส่วนกรอง ข้อดีคือการมีส่วนร่วม และสามารถเก็บประเด็นได้

 

          คำถามคือ

          1. ทำไมต้องเปลี่ยนแปลง

          - การดูปัจจัยภายนอก และภายในเป็นอย่างไร มีข้อมูลที่เป็น Insight full สิ่งสำคัญคืออย่ามากแต่ให้เน้นประเด็นสำคัญ เน้น Priority จะพบว่า Fact Base ไม่เหมือนกัน

          2. ทิศทางการเปลี่ยนแปลงอย่างไร

          3. ทำอย่างไรถึงจะสำเร็จ วัดได้อย่างไร

 

          การปรับโครงสร้างองค์กรต่าง  ๆ ต้องมีการปรับมีการเอาระบบ Automation มาใช้ เช่น การบริหาร HR จะบริหาร Talent อย่างไร

          - HR ต้องปรับตัวจาก Function เป็น Service

          อย่างการเคหะฯ ต้องมีข้อมูลต่าง ๆ ในการวางแผนกลยุทธ์ มีการทำงานเลี้ยงคนอายุเยอะน้อยลง เป็นต้น

 

ทิศทางการเปลี่ยนแปลง อาทิ

          ด้านสิ่งแวดล้อม โลกปัจจุบันมีปัญหาเรื่องสิ่งแวดล้อมสูงมาก เทคโนโลยี การปริ้นในระบบ 3D คนทำงาน คนทำงานที่บ้านมากขึ้น สถานที่ทำงาน เปลี่ยนเป็นนั่งตรงไหนก็ได้ และคนในทุกวันนี้ไม่ได้สนใจว่าบริษัทอยู่ที่ไหน

          -  การทำงานเปลี่ยนไปรวดเร็วขึ้น ต้องทำตามใจผู้ซื้อ อยู่ใน Economy of Space ไม่ใช่ Economy of Scale

 

          - วิถีชีวิตการทำงานเปลี่ยนไป ถ้าเราเข้าใจบริบทของแต่ละประเภท การผลิตของขายจะเข้าใจได้มากขึ้น ในอนาคตอะไรที่ดิจิทัลได้จะดิจิทัลได้ทั้งหมด อะไรที่ไม่ดิจิทัลจะแพงขึ้นเรื่อย ๆ

          - การทำงานในอนาคตรูปแบบเปลี่ยนไป

          - Red Ocean / Blue Ocean Strategy   ตัวอย่าง Blue Ocean ของ Amazon มีการลงทะเบียนหนังสือที่หายาก การกำหนดแผนกลยุทธ์ขึ้นอยู่กับว่าเราจะ Cover Sector ไหน

          - การลงทุนที่เกี่ยวข้องกับบ้านเช่นลูกบิดประตู สามารถสแกน QR Code และเปิดได้เลย มีการส่ง Password ให้โดยไม่ต้องให้กุญแจเขาเป็นต้น

          - 4 System types in each home ได้แก่ Electricity, Climate, Security, Multi-Media

 

          โดยสรุป โลกในวันนี้ ไม่ใช่ปลาใหญ่กินปลาเล็ก แต่เป็นปลาเร็วกินปลาช้าและกินปลาใหญ่ด้วย

 

การพัฒนาองค์กรไปสู่องค์กรสร้างสรรค์ อาจารย์ศรัณย์ จันทพลาบูลย์ 

 

          1. COD – Creative Organization Development

          2. Strength Based Organization

 

          COD – Creative Organization Development

          ยกตัวอย่าง บริษัทขายเฟอร์นิเจอร์แห่งหนึ่ง ลูกค้าคืนสินค้าเมื่อนำไปส่ง...  จึงเกิดแนวคิดใหม่ ๆ ว่าทำอย่างไรที่ให้ลดการคืนสินค้าของลูกค้า อาทิ พบปัญหาเรื่องการยกเฟอร์นิเจอร์ไปวางลูกค้า แล้วลูกค้ารู้สึกไม่สวนเหมือนที่อยู่ในรูป ทำให้คืน จึงขอให้เจ้าของจัดหลักสูตรสอนตกแต่งภายในให้กับคนขับรถที่นำสินค้าไปส่ง เมื่อคราวหลัง คนขับรถนำสินค้าไปส่งที่บ้านลูกค้าได้เลือกวางในมุมที่เหมาะสม สวยงามทำให้ลดการคือของลูกค้า ได้ประเด็นอะไรจากแนวคิดนี้

          สรุปแนวคิดด้านบนคือความรู้องค์รวม ส่วนข้างล่างเป็น Specific Knowledge แนวคิดสร้างสรรค์อยู่ตรงไหน

 

          วิธีที่ 1 ผู้บริหารใช้ความรู้แบบ Aggregrate Knowledge และเฉพาะเจาะจง

 

          วิธีที่ 2 เปิดโอกาสให้พนักงานคิดหาไอเดียใหม่ ๆ อาจได้ลด

             - ผู้ปฏิบัติเห็นปัญหามากกว่า

             - ผู้ปฏิบัติคิดมาแล้วว่าสิ่งนี้ทำได้

 

             การที่ไอเดียมาจากตัวเขาเอง เขาจะทำตามแนวคิดเขาเองเต็มที่ ถ้าเจออุปสรรค เขาจะทะลุทะลวงแบบไหนมากกว่ากัน หมายถึงคิดเองทำให้บรรลุวัตถุประสงค์ดีกว่า

 

           COD ดีอย่างไร ให้เลือกได้ 2 อย่างจากทั้งหมด 8 อย่าง จะเลือกอะไร

                    1. ทำงานง่ายขึ้น                     2. ประหยัดค่าใช้จ่าย

                    3. ประหยัดเวลา                     4. ปรับปรุงบริการลูกค้า

                    5. พนักงานมีส่วนร่วม               6. ปรับปรุงพัฒนาองค์กร

                    7. ปรับปรุงผลพัฒนาองค์กร        8. เพิ่มประสิทธิภาพพนักงาน

 

          หากไม่ COD คิดว่าจะเกิดอะไรขึ้น

                    1. เสียค่าใช้จ่ายสิ้นเปลือง                     2. ลูกค้าไม่พอใจ

                    3. เสียลูกค้า                                    4. พลาดโอกาสดี

                    5. ผลการดำเนินงานองค์กรตกต่ำ            6. พนักงานขาดความเคารพและเชื่อมั่นในตัวผู้บริหาร

                    7. พนักงานไม่ทุ่มเทอย่างเต็มที่เพราะไม่มีส่วนร่วม

 

             ผลจากการสำรวจพบว่าในห้องประชุมการเคหะฯเลือก พนักงานไม่ทุ่มเทเพราะไม่มีส่วนร่วม

          ผลดีของการทำ COD (เลือก 2 ข้อ จาก 9ข้อ )

                    1. หัวหน้ามีความเคารพพนักงานอย่างจริงใจ

                    2. พนักงานช่วยให้ผลงานดีขึ้น

                    3. พนักงานได้รับข้อมูลข่าวสารมากขึ้น

                    4. เกิดไอเดียต่อเนื่องไม่หยุดยั้ง

                    5. สร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศ

                    6. พนักงานมีส่วนร่วมมากขึ้น

                    7. พนักงานใส่ใจมากขึ้น

                    8. พนักงานรู้สึกมีคุณค่าต่อองค์กร

 

          ตัวอย่างที่ 2   มีบ้านพักคนชรา มีบริเวณที่มีอันตราย บอกว่าอย่าเดินไปในบริเวณนั้นอันตราย แต่พบว่าคนชราเหล่านั้นก็เดินไป ผู้บริหารเลยให้พนักงานหาไอเดียใหม่ ๆ ไม่ให้คนชราไม่เดินในที่อันตราย คำตอบ เขียนป้ายบอก ทำเซ็นเซอร์ ทำแถบสี

 

             มีพนักงานคนหนึ่งสังเกตว่าคนชราไม่เดินไปในบริเวณพื้นสีดำ จึงเปลี่ยนกระเบื้องยางในพื้นที่อันตรายเป็นสีดำและเฝ้าสังเกต ผู้ชราเจอสีดำก็เดินเลี่ยงหลบมา ปรากฏว่าไอเดียนี้ใช้ได้ เป็นตัวอย่างหนึ่งของการสร้างสรรค์ ไอเดียมาจากทุกคนในองค์กร

 

คำถามคือ เป็นจริงได้หรือไม่ที่ให้พนักงานคิดไอเดียมาก ๆ

ตอบ ตัวอย่างบริษัทใน U.S.พนักงานมีไอเดีย 104 ไอเดียต่อคนต่อปี โดยเฉลี่ย 1 คน 3 ไอเดียต่อวัน ทำให้ยอดขายสูงกว่าพนักงาน 7 เท่า ส่งผลให้ต้นทุนต่ำกว่าที่อื่นในโลก แสดงถึงความเป็นจริงที่สามารถทำได้ และส่งผลต่อการพัฒนาองค์กร

 

หลักความคิดสร้างสรรค์ 4 M

             1. Mindset – ความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ

             2. Mood – อารมณ์ ความรู้สึกที่เอื้อต่อความคิดสร้างสรรค์

             3. Mechanic – ขั้นตอนการคิด

             4. Momentum – ทำอย่างไรให้ความคิดสร้างสรรค์เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องยั่งยืนไม่เป็นไฟไหม้ฟาง

 

             สิ่งที่ทำคือให้พนักงานทุกระดับมี Creative Process ,Creative Leadership, Creative Thinking เพื่อจูงใจให้พนักงานคิดไอเดียใหม่ ๆ  ให้สอดรับกับความคิดสร้างสรรค์ในองค์กร  และจะพบว่าเมื่อเชื่อม Creative จะมี 4 M คือมี Content ทั้งหมดที่คิดคือ 12 Module คือ Creative Thinking

 

Mindsetที่ 1   รู้หรือไม่ว่า 86% ของคนที่ประสบความสำเร็จในการทำงานขึ้นกับ 2 อย่างคือ มนุษย์สัมพันธ์  และความคิดสร้างสรรค์

 

             ทำไมทั้ง 2 อย่างนี้จึงทำให้ 2 คนประสบความสำเร็จในการทำงาน  ความคิดสร้างสรรค์คือการคิดต่างจากเดิม เพราะคิดเหมือนเดิม ทำแบบเดิม ย่ำอยู่ที่เดิม ความคิดสร้างสรรค์คือการพัฒนาและปรับปรุงจึงทำให้ประสบความสำเร็จในการทำงาน แต่ถ้าขาดมนุษย์สัมพันธ์จะไม่สามารถเอาไอเดียไปปฏิบัติและได้รับความร่วมมือ การมีมนุษย์สัมพันธ์จะช่วยให้เกิดความร่วมมือ สามารถนำไปสู่ Innovation คือการนำความคิดสร้างสรรค์ไปปฏิบัติแล้วเกิดคุณค่าเพิ่มกับคนในองค์กร สังคม ลูกค้า ซึ่งจะทำให้ได้ประโยชน์กับตัวเองด้วย

 

Mindset ที่ 2   ความคิดสร้างสรรค์และความฉลาด IQ นั้น เป็นอิสระต่อกัน

 

Mindset ที่ 3 บรรยากาศในองค์กรเอื้อต่อความคิดสร้างสรรค์ ถ้าเปรียบเทียบองค์กรเหมือนร่างกาย จะทำให้เกิดบรรยากาศที่เอื้อต่อความคิดสร้างสรรค์ อาทิ  Open Disruptive

             - Divergent Thinking  คือการคิดเยอะ ๆ คิดไม่ยั้ง

             - Convergent Thinking คือการกรองสิ่งไม่ดีออกไป

             Idea Finding อาจเป็น Idea ที่ใช้ไม่ได้แต่สามารถปรับให้เป็น Solution

 

 

 

การคิดสร้างสรรค์  มีกรอบอยู่ 3 กรอบ มีกรอบของความคิด กรอบองค์กร และกรอบสังคม

             1. ครึ่งแรกของการคิดสร้างสรรค์ต้องคิดนอกกรอบ 3 กรอบนี้ แต่ยังเอาไปใช้ไม่ได้ เป็นช่วงที่เป็นไอเดียดิบ ๆ ที่ยังไม่ได้กรอง

             2. ครึ่งหลัง การบ่มความคิดดิบ ๆ ให้เข้ามาในกรอบขององค์กรและสังคม ให้เข้ามาอยู่ระหว่างกรอบความคิดเดิมของเรา เป็นการคิดคร่อมกรอบ

 

Strength Based Organization

             องค์กรทั่วไปจัดวางพนักงานองค์กรอย่างไร สิ่งที่ทำอย่างนี้ทำให้พนักงานไม่ใช้ความสามารถเต็มร้อย อาจทำให้ไม่สำเร็จหรือใช้ทรัพยากรไม่เต็มที่  เพราะสิ่งที่ขาดหายไปคือพรสวรรค์และ Talent ถ้าเอา Talent มาพิจารณาด้วยจะเกิดจุดแข็งที่แท้จริง

             Talent = Skill + Knowledge

ดังนั้นการ Recruit คนต้องดู Talent + Skill + Knowledge

             จากการสำรวจพบว่า Talent ทุกคนมีพรสวรรค์ของตัวเอง ที่พบคือ 34 Talent ที่ทำให้เกิดรูปแบบความคิดพฤติกรรม ที่ทำซ้ำ ๆ ให้เกิดการทำงานได้ การมี Talent จะทำให้เกิด High Performance มีทั้งหมด 34 Theme แบ่งเป็น 4 กลุ่ม มีการประเมินแบบ Strength Finder

             เราสามารถรู้ได้ว่าเรามีพรสวรรค์แบบใด พนักงานมีพรสวรรค์แบบใด  ท้ายที่สุด ไม่ว่าเราอยากให้องค์กรเป็นแบบใดก็แล้วแต่ต้องมีการออกแบบด้วย

แนวคิดของ Design Thinking คือ Creative ที่มีหัวและมีหาง

             Design Thinking หมายถึง Creative ที่มีการลงมือทำ

             1. โมเดลคิดในใจคือ What is?  What if?  What wow?  What work?

             2. โมเดลของ Stanford d.School

                     - ทำความเข้าใจกลุ่มเป้าหมายเชิงลึก รับรู้ความรู้สึก ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ

                     - ออกแบบ Design

                     - หาไอเดียใหม่

                     - ทำ Prototype ต้นแบบ

                     - Test

             3. โมเดลจาก Designer คือ

                    - Be Construction แยกร่าง

                     - Point of view

                     - รวมร่าง

                     - Expression

             4. โมเดล Leadership

 

          สรุปคือ องค์กร COD และ Strength Based Organization น่าจะมีการประยุกต์เอา Design Organization ในการออกแบบองค์กร

 

ดร.ณัฐวุฒิ  พงศ์สิริ

การสร้าง Innovation ในองค์กรมี Case ที่ใช้กันและประสบความสำเร็จ

          1. Empower  ตัวอย่าง Honda Robotic ต้องพัฒนาหุ่นยนต์ วิธีการคือ Empower มอบหมายความอิสระให้กับทีมงาน ซึ่งไม่อยู่ในกฎระเบียบองค์กร และสามารถเลือกวิธีการที่ดีที่สุด

          2. IKEA เป็นบริษัทที่ขายของพื้น ๆ ที่สามารถสร้างนวัตกรรมได้ หมายถึงทุกอย่างต้องน้อยชิ้นเข้าไว้ ทำอย่างไรให้ของมี Innovation ใช้วิธีการคือ ไม่มี Hierarchy หัวหน้าและลูกน้องไม่มีระดับ มีความอิสระ ทำให้เกิดแนวคิดใหม่ ๆ ได้

 

             Innovation มีทั้งแบบ Open – Closed Innovation มีตั้งแต่ Platform ที่อยากได้ idea ก็เสนอไปใน Website ที่ทำอะไรต่าง ๆ ได้

             Empowerment การให้ Resource เต็มที่

          3. บริษัทที่ดัง ๆคือ Dupont ทำเป็น Process อย่าง Post-it ถูกคิดโดยคนที่ไม่ได้มีหน้าที่ดูแลเรื่องนั้น โดย Culture คือใครคิดอะไรก็ได้ที่มีประโยชน์ ภายใต้ No Blame Culture หมายถึงคิดอะไรก็ตามที่นอกกรอบ จะเข้าสู่กระบวนการ Pier System / Pier Review และถ้าไปไม่ได้ก็ไม่มีปัญหาเนื่องจากทุกคนมีส่วนร่วมแล้ว

 

             การมี Innovation ได้ นอกจากเปิดแล้ว Knowledge จะ Flow ในการให้คนมาใช้เป็น Data Based  ช่วยให้การดำเนินการต่อยอดได้โดยไม่เริ่มจากศูนย์ใหม่

             ยกตัวอย่างที่ อย่างแบงค์ชาติจะแก้ปัญหาต้องมีการ Turn Point ต่าง ๆ เป็นแนวทางในการแก้ปัญหา เป็นระบบ วิธีการที่ไม่ใช่แค่ COP หรือ Brain Storming แต่มีวิธีการใหม่ ๆ ที่นำไปสู่สิ่งที่มองไม่ถึง

 

          การ Rotate คน และปรับ HR ให้มีความยืดหยุ่น

          ตัวอย่างมีปัญหาเรื่อง Silo การเลื่อนไปตำแหน่งสูงจะเป็นทักษะการบริหารมากกว่าเทคนิค

          1.ต้องแก้โจทย์ตั้งแต่ตอนต้น ต้องให้รู้มากกว่าเรื่องเดียว ต้องมี External Move เพื่อให้ได้เห็น  ในสิ่งที่แตกต่าง เป็นการเรียนรู้นอกกรอบ

          2. พัฒนาระบบขึ้นมาคือ หัวหน้าไม่ยอมให้คนเก่งไป และไม่ยอมรับคนอื่น จะเป็นการเลี้ยงไว้โดยไม่โต แล้วมีปัญหาที่หมุนไปแล้วหมุนกลับได้หรือไม่อาจไม่ได้รับการโปรโมทต่อ อย่างหนึ่งต้องถามความต้องการจากพนักงานด้วยว่าต้องการอะไร อย่างแบงค์ชาติมีการทำ Web Base  เปิดว่าใครสนใจจะไปไหน ในทุกเดือนแต่ละสายงานจะดูว่าใครสนใจมาดูบ้าง ให้เวลา 3 เดือนในการส่งต่อและเปลี่ยนผ่าน มีการกำหนดว่าจากนี้ไปสองปี ถ้าจะเลื่อน 1 ขั้นต้องผ่านมา 2 หน่วยงานเป็นการประกอบในเรื่องอื่น  เช่นการอยู่ที่อื่นก่อนแบงค์ชาติก็นับได้ 1 Mobility เป็นต้น ดังนั้นเรื่อง Mobility สามารถช่วยแก้ปัญหาได้มาก แต่ปัญหาบางอย่างก็เกิดปัญหาคนออกไม่มีใครเข้าเลยแก้ปัญหาให้รับคนใหม่ได้ โดยไม่รอคนออกเพื่อเรียนรู้ได้ทันในการส่งต่อ เด็กมีการแยกสังคมโดยปริยาย ต้องคอยแนะนำไม่ใช่ไปสั่งเขา ถ้าเป็นผู้ใหญ่สั่งเด็ก องค์กรไหนก็ไปไม่รอด

 

วันที่ 15 มีนาคม 2561

วิเคราะห์ประเด็นท้าทายของการเคหะฯ โดยศาสตราภิชานไกรฤทธิ์  บุณยเกียรติ  ดร.ทรงวุฒิ ชนะภัย

          เราจะจัดการการท้าทายอย่างไร เราจะเปลี่ยนเป็น Opportunity ได้อย่างไร สิ่งสำคัญในวันนี้คือเราต้องเปลี่ยนแปลงการทำงานของเรา เราต้อง Turn Challenge into Action และ Turn Action into Success

 

ศาสตราภิชานไกรฤทธิ์  บุณยเกียรติ

 

          อยากให้คิดแบบคนนอกมองมาที่การเคหะฯ ซึ่งอาจจะเปลี่ยนโลกทัศน์หรือจุดยืนของว่าที่ผู้นำ

          สิ่งแรกที่จะเกิดคือ ผู้นำหรือผู้ตามในอนาคต เวลาเราจะทำธุรกิจอะไรเราจะเริ่มจากฉันทำอะไรเก่ง แต่เราไม่ได้ถามว่าทำไมคนมาร้านเรา

          ประเทศไทย การเคหะฯ ติดนโยบายระดับชาติต่างกันมากก็ไม่เยอะเรามี Mindset ว่าเราสามารถทำได้ก่อน

          ยกตัวอย่างสิงคโปร์เมื่อ 50 ปีที่แล้ว ตุง กวน ตู นายกฯ มาเลเซียคนแรกกลัว ลี กวน ยู ซึ่งจบแคมบริดจ์ เนื่องจากคิดว่าถ้าขึ้นเป็นนายกฯ คนแรก  นายกฯ ให้ เกาะทีมาเซ็ก มาเกาะนึงไปตั้งประเทศ พร้อมให้เลือกทีมเอง โดยมีเงื่อนไขว่าให้เวลา ลี กวน ยู 3 ปี ถ้าอยากกลับมาประเทศห้ามเล่นการเมือง แต่จะเป็นประธานเอกชนได้ แต่ถ้าไปดีให้ไปบริหารประเทศเลย

          How to built the nation from third world to first world  เอาเงินทั้งหมดที่ตวนกูให้มาตั้ง การเคหะฯ เพื่อสร้างให้คนมีความรู้สึกรักชาติ รักบ้านตัวเอง ทำให้คนไทยรู้สึกรักบ้านรักเมือง

          รัฐบาลในการเคหะฯ ควรมีอุดมการณ์ว่าเอาอย่างนี้ เดิมหัวคือรัฐบาล  ต้องมีครึ่งหนึ่งคานอำนาจกัน และอีกครึ่งหนึ่งเสริมกัน ส่วนที่จะเสริมกัน คือ Enable ทำอย่างไรในฐานะที่เป็นทีมของผู้ว่าฯ จะเป็นตัวเสริมแรง

          องค์กรที่ดีต้องมี 2 แรงคือการ Balanced กันให้เกิดความสมดุล และทำอย่างไร บอร์ดกับผู้ว่าฯ ถึงคุยกันได้ ถ้าบอร์ดกับผู้ว่าฯ เป็นทางเดียวกันไม่คานอำนาจ เสริมแรง ทำอะไรก็จะเจริญ การเคหะฯ จะอยู่ในสถานะลูกคนกลาง จะมีความรู้สึกคือเข้าใจคือสมดุล นอกจากบอร์ดและผู้ว่าฯ ต้องดูว่านานาประเทศเป็นอย่างไร

 

1. การทำ SWOT

สิ่งที่พบคือมีหลายสถาบันไม่เชื่อรัฐบาล  ถ้าไม่ทำตามประชารัฐ ก็ไม่มีงบประมาณให้คืองบเงินเดือนกับงบซ่อมแซม

                   SW = พลังภายใน เป็นพลังความแข็ง (Strength) และอ่อนข้างใน (Weakness)

                   OT = พลังภายนอก  คือโอกาส (Opportunities) และการคุกคาม (Threats)

 

2. PEST +E คือพลังจากภายนอก (สิ่งแวดล้อมภายนอกที่ใหญ่กว่ารัฐบาล)

                   P = Politic  E = Economic

อาทิ การเงินภายนอกเช่นเงินดอลล่าร์อยู่นอกประเทศ 75% อยู่ในประเทศ 25% State side dollar , Euro Dollar, Black Dollar , Grey Dollar มีเรื่อง FinTech และรูปแบบธุรกิจในปัจจุบันเปลี่ยนไปเช่น Uber, Grab

                   S = Social

อาทิ การทำอะไรก็ต้องเกรงใจชาวบ้าน  เพราะเราสามารถดึง Social มาเป็นพวกด้วยได้

สังคมเปลี่ยนไปปัจจุบันมี Social Digital , Social Enterprise , Social Media

                    T = Technology

ในยุคนี้เลือกไม่ได้ สามารถทำให้เกิด Gap คือคนรู้และไม่รู้จะห่าง  มือถือกลายเป็น Black Box

                    E = Environment

          สรุปคือ เดิมเรารู้เรา ปัจจุบันเราต้องรู้เขา สิ่งแวดล้อมดังกล่าวใหญ่กว่ารัฐบาล ทำให้ประเทศไทยเสียดุลหรือได้ดุล

 

          Mega Trend

          1. Aging Society           2. Urbanization

          3. Prefab ตัวบ้านสำเร็จรูป Hein ของ SCG แพงกว่าการเคหะฯ 20%  อยู่ในหลักแสนไม่ใช่  หลักล้าน ต้องไปด้วยกัน ต้องดูทั้ง Cost และ Quality

          คนของการเคหะฯ ต้องรู้เขา เพราะปัจจุบันเร็วและทำนายไม่ได้ การเคหะฯ ต้องเปลี่ยน Culture เป็น Learning Organization เป็นการทำ PDCA ที่ไม่ใช่แค่พูดแต่เป็น Learning Organization เปลี่ยน Tacit Knowledge เป็น Explicit Knowledge การมีความรู้ฝังในตนจนถ่ายทอดเป็นความรู้ขององค์กร แต่ญี่ปุ่นทำแบบนี้มานานแล้ว

 

ทำไมไฟส่องหน้าการเคหะฯ

          เพราะการเคหะฯ มีทุกอย่างที่ควรรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีในการเคหะฯ แต่ฝังในตน และควรมีวันหนึ่งที่คุยกันบนโต๊ะกันเอง แล้วการเคหะฯ จะเปลี่ยนโฉมเป็นองค์กรที่พึ่งได้ของรัฐบาล และจะทำให้การเคหะฯ มีอำนาจในการเวนคืน และอำนาจในการออกตั๋วเงิน

 

ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์

          ต้องปรับวิธีการทำงาน และการรวมตัวกันต้อง Overcome Difficulty ต้องสร้าง Process การเรียนรู้ จุดเล็ก ๆ จะทำให้เป็นแรงบันดาลใจในการเอาชนะอุปสรรค

 

ดร.ทรงวุฒิ ชนะภัย

          ค่านิยมองค์กรการเคหะฯ น่าประทับใจมาก Social and Responsibility

เราต้องอยู่ให้ได้ในสถานการณ์ปัจจุบัน

          Urbanization กับ Downtown  สิ่งที่บอกคือการเคหะฯ เป็นที่พึ่งของพนักงาน และคนระดับล่างที่เงินเดือนน้อย หมายถึง การเคหะฯมีหน้าที่ยิ่งใหญ่ที่ต้องดูด้านนี้

          1. ความท้าทายของการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีที่มีผลต่อโลกอนาคต

          สิ่งที่คำนึงถึงคือ โลกเปลี่ยนแปลง ปัจจัยที่ควรดูได้แก่   Science ,Technology, Engineer, Mathematic แล้วจะเปลี่ยนตามโลกหรือไม่

ยกตัวอย่าง คนญี่ปุ่นทุกคนมี Logic มาก  หมายถึงต้องมีวิธีการที่หลากหลายคนที่เลียนแบบเก่งจะมี Logic มาก

 

ความท้าทายเชิงธุรกิจและกลยุทธ์การแข่งขัน

          1. ความท้าทายเชิงธุรกิจ

                   1. ภาพประเทศต่าง ๆ ได้แก่ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ เวียดนาม ไทย มาเลเซีย  สิ่งที่เห็นในภาพคือถ้าเมืองเจริญ  ตรงไหนคือเมืองจริงที่เป็น Center เมืองเจริญ มี Mass Transportation ดี แล้วคนจะซื้อรถอะไร ยกตัวอย่างญี่ปุ่นลงทุนทั่วโลก  เราจะทำอย่างไรกันดี

ยกตัวอย่าง ญี่ปุ่นมีแบรนด์ มอเตอร์ไซด์ รถยนต์  ความท้าทายคือ ญี่ปุ่นจับมือร่วมกันแล้วไปแข่งกับยุโรป

ในฟิลิปปินส์ มีคนที่จนกว่าเราเยอะมาก ปัจจุบันคนฟิลิปปินส์พูดภาษาอังกฤษดีกว่าไทยมาก

ประเทศไทยดีกว่ายุโรปเยอะมาก เงินไปไหน เราเหลือหน้าที่ทำงาน

ความท้าทายที่เกิดในภาคอุตสาหกรรม อยากเห็นการมีนวัตกรรมเป็นของตัวเอง

                   2. โลกเปลี่ยน เราต้องการทำให้เป็น Smart Mobility

ยกตัวอย่าง Social Enterprise ทำอย่างไรให้เกิด การสร้าง Social Network มี Cloud  สิ่งที่พบคือระบบดิจิทัลที่เปลี่ยน และ Big Data

          ระบบดิจิทัลที่เอา Big Data มาประมวลผลทั้งหมด เป็น Drone

ยกตัวอย่าง Amazon.co ใช้โทรศัพท์อันเดียวเชื่อมโยง Digital ,Fintec, QR Code ทั้งหมดเลย

                   3. ค่านิยมผู้บริโภคมีความหลากหลายมากขึ้น

                             - ชีวิตผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงเยอะมาก

                              - เด็กรุ่นใหม่ พ่อแม่ดูแลอย่างดี คนแต่ละระดับเป็นอย่างไร สังคมก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุในเมืองใหญ่

                              - Smart Mobility จะเดินอย่างไร การก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุจะทำอย่างไร อย่างการสร้างอุปกรณ์ นวัตกรรมตัวใหม่ให้ผู้สูงอายุมากขึ้น เราจะทำอย่างไรในฐานะที่เป็นผู้บริหาร

 

                   4. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างด้านอุตสาหกรรมจากความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี

                   5. ปัญหาทางสังคมที่มีความรุนแรงมากขึ้น

                              - Environment & Technology  - Energy   - Robotics

ยกตัวอย่างในเยอรมัน BMW เป็นเครื่องจักรหมดเลย

                              - Human เราต้อง Control Robots  ต้องเป็น Human & Machine

ความคาดหวัง  เช่นด้าน Smart Power เป็นสิ่งที่ไทยอยากได้มากในอนาคต ถ้าเป็นผู้บริหารในอนาคตจะคิดอย่างไร

                   ความท้าทายเชิงธุรกิจ มีการแข่งขันในเชิงธุรกิจที่เกี่ยวโยงกับอุตสาหกรรมยานยนต์ มีการเปลี่ยนแปลงมากในอนาคต  อาจจะลองไปศึกษา Electrical ในยุโรป ในสหรัฐฯ

 

          2. กลยุทธ์การแข่งขัน

          กลยุทธ์การแข่งขัน ในเวียดนามในด้านที่อยู่อาศัยมีเพิ่มขึ้นมาก สร้างความเหมือนให้เหมือนกันหมดในอาเซียน เช่น ใบขับขี่ และการขับรถ ที่ขับในด้านเดียวกัน เราต้องมีการทำความร่วมมือ Networking  มีการทำกระบวนการทั้งระบบ เพื่อมีการแข่งขันในธุรกิจได้ ต้องมีการเก็บข้อมูล เพื่อนำมาวิเคราะห์ และมาปรับใช้ในงานที่ทำอยู่ ต้องมีการวิเคราะห์คนก็เป็นส่วนสำคัญในการปรับระบบ

                             - Action Learning

                             - Learning by doing

ยกตัวอย่าง ญี่ปุ่นต้องการเข้า UN มีการ Search  แนวทาง พบว่าจะมีเรื่อง Safety and Environment ต้องมีเรื่อง Regulation สถานประกอบการในต่างประเทศ พยายามผลักดันกำหนดให้เป็น Regulator เพื่อเข้าไปสู่การกำหนดกฎหมาย เพื่อนำไปใช้ในการบริหารธุรกิจ

 

          3. มาตรการเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

ในปี พ.ศ. 2565 มีแนวทางว่า การเคหะฯ จะต้องนอกจากคุณภาพราคาต้องทำเพื่อสังคมด้วย  การเคหะฯ ต้องบอก Brand Image จากการเคหะฯ ให้ได้ คือการสร้างความตระหนักให้เกิดกับบุคลากรในองค์กรของท่าน

          สิ่งที่อยากฝากคือ เราไม่สามารถหยุดนิ่งได้  เพราะเราจะไม่สามารถเดินได้

          ในฐานะที่เป็นผู้บริหารจะมีแนวทางการปรับตัวอย่างไรให้ก้าวทันการเปลี่ยนแปลง และจะต่อยอดความสำเร็จขององค์กรในอนาคตได้อย่างไร

 

ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์

ในมหาวิทยาลัย เราต้อง Transform จาก Quantity เป็น Quality เวลาเราทำอะไรเราต้องมี High Standard หรือ World Standard

เมื่อเจออุปสรรคแล้วเราจะข้ามได้หรือไม่  การตั้งสถาบันทำให้เราไปลุยข้างนอกได้ สิ่งสำคัญที่สุดเมื่อเจออุปสรรคต่าง ๆ ต้องเข้าใจว่า Success ความสำเร็จที่จะเดินต่อไปเป็นความสำเร็จที่ต่อเนื่อง ๆ และเราต้องชนะเล็ก ๆ ก่อน

 

 ดร.ทรงวุฒิ ชนะภัย

การเจออุปสรรคมี 3 กลุ่มคือ

          1. เดินไปให้ได้ เอาชนะให้ได้

          2.  50%

          3. ไม่เดิน

แต่ทั้ง 3 ส่วนมีส่วนที่คล้ายกันอยู่ คือ Social Skill มีวิธีการบริหารความยากลำบากอย่างไร ต้องมีวิธีการความรู้ทางเทคนิค การบริหารคนใต้บังคับบัญชาอย่างไร บริหารคนที่เป็นหัวหน้าอย่างไร

ความกดดันจะมีการบริหารอย่างไร  มี 5 ส. ต้องสะสาง  สะดวก สะอาด สุขลักษณะ สร้างนิสัย ต้องมีหลักการและเหตุผล พูดชัด พูดตรง และพูดให้เข้าใจ

 

ดร.ไกรฤทธิ์  บุณยเกียรติ

          สรุป 3 ข้อ

          1. คิดแบบ Demand side - ความคุ้นชิน เริ่มจากข้างในคือ Supply side ต้องเปลี่ยนเป็น Demand side  การเคหะฯ มีคู่แข่ง ขอเสนอว่า อะไรที่เราเก่งที่สุดเก็บไว้เป็น Routine 30% ส่วนอีก 70% ขอให้ดู Demand ด้วย ต้องตอบสนองในฐานะที่คนนอกมองเข้ามาด้วย ต้องมองปัจจัยภายนอกด้วย

          2. อย่าไปกังวลกับกรรมเก่า เพราะลูกค้าเก่าก็สามารถเป็นลูกค้าในอนาคตได้  เน้นการเตรียมตัวและพร้อมทำงานใหม่ ๆ มีหน่วยงานที่ต้องดู กรรมเก่าจะจัดการอย่างไร ต้องสร้างกรรมใหม่ที่เป็นประโยชน์ในเชิงยุทธศาสตร์

                   - เตรียมพร้อมเปลี่ยนแปลงตัวเอง

                   - เรื่องที่เราต้องเรียนรู้ เช่นถ้าเราเป็นเขาจะคุยกันอย่างไร  ต้องคิดใหม่ทำใหม่ ต้องทำงานคิดและร่วมมือข้ามสายงาน เช่นเป็น Engineer อยู่หน้า Side อาจต้องมาคุยกับฝ่ายการเงินบ้าง

                   - มองแบบระยะยาวบ้าง ทำความเข้าใจ หรือหา lobbyist ต้องเก็บผลไปอวดคนที่วัดเรา

          3. วัฒนธรรมองค์กร ต้องดู  5 อย่าง

          - ดูว่า Hero ในองค์กรที่สังกัดใหม่เป็นอย่างไร ถ้าจะต้องทำกับส่วนต่าง ๆ ต้องสังเกตว่าเป็น Idol คือใคร นับถือใคร  และถามว่าทำไมถึงนับถือคนนี้ สิ่งนี้คือวัฒนธรรมใหม่ คนรุ่นเก่า รุ่นใหม่ให้ความนับถือคนแบบไหน เหมือนกันหรือไม่

           - พิธีกรรมอย่างไร อย่ามาหลังกลับก่อน ต้องมาก่อน กลับที่หลัง สังเกตเคหะฯ ว่ากิจกรรมการเคหะฯ ไม่ใช่ Routine มีการเปลี่ยนมาก

           - ก๊วนคนเป็นอย่างไร เช่น ดูคนในการเคหะฯ ต่าง ๆ จะเห็น Dialogue หรือคำพูดไม่เหมือนกัน

           - ข่าวสำคัญในการกระจาย ข่าวลือกระจายเร็วที่สุดได้อย่างไร ให้ไล่ไปเช็คให้ได้

           - สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้หัวโจกของ Action คือใครกันแน่ เป็น Soul Leadership คือผู้นำทางจิตวิญญาณ

 

สิ่งที่ฝากคือ การแชร์ประสบการณ์ สร้างบรรยากาศในการสนทนาแบบสุนทรีย์ และถามแบบเมตตา    เพื่อสงสัยใคร่รู้ และ Reflection  การทำ KM จะทำให้เกิดการคุยที่เกิดแรงในการพัฒนา

 

Kiosk Common คือทุกท่านรู้เรื่องเดียวกัน

          การวางแผนยุทธศาสตร์ดีกว่าการไม่ได้วางแผนเชิงยุทธศาสตร์ แต่มีองค์กรอีกส่วนหนึ่งที่สอนให้รู้ว่าต้องรู้อีกส่วนนอกจากยุทธศาสตร์ด้วย Complexity Common ในวันนี้ การเรียนรู้ จะมีการแลกเปลี่ยนกันข้ามศาสตร์เกิดเป็น Positive Spiral

          วัฒนธรรมองค์กรเปลี่ยนได้ แต่ Framework  จะต้องปรับ การวางแผนยุทธศาสตร์ปี 62 เป็นต้นไป ต้องดูแผน 20 ปี ของสภาพัฒน์ฯ เข้าไปด้วย

 

ดร.จีระ  หงส์ลดารมภ์

การเคหะฯ ยุคต่อไปต้องลงไปดูรายละเอียด ต้อง Turn Idea into Action และ Turn Action into Success เรียนแล้วต้อง Create your own idea ด้วย

 

วิเคราะห์ประเด็นท้าทายของการเคหะฯ (Group Assignment Presentation)

โดยศ.ดร.จีระ  หงส์ลดารมภ์  ศาสตราภิชานไกรฤทธิ์  บุณยเกียรติ  ดร.ทรงวุฒิ ชนะภัย

 

วิเคราะห์ประเด็นท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ และเสนอแนะวิธีการจัดการ ดังนี้

(1) ด้านภารกิจของการเคหะแห่งชาติและด้านทรัพยากรบุคคล

    1.1 การปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงนโยบายรัฐ (ประเทศไทย 4.0)  และภาคีเครือข่าย

    1.2 บทบาทของ กคช. กับ การพัฒนาชุมชนให้มีความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน

    1.3 เพื่อจัดการประเด็นท้าทายในเรื่องนี้ กคช. ควรมียุทธศาสตร์ด้านทรัพยากรบุคคลอย่างไร

 

(2) ด้านลูกค้าและด้านทรัพยากรบุคคล

    2.1 การเพิ่มขีดความสามารถในด้านการตลาด

    2.2 ความสามารถในการมอบคุณค่าและสร้างภาพลักษณ์ขององค์กร ให้ลูกค้าภาคภูมิใจที่อยู่อาศัยในบ้านของการเคหะแห่งชาติ

    2.3 การเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยของผู้มีรายได้น้อย

    2.4 เพื่อจัดการประเด็นท้าทายในเรื่องนี้ กคช. ควรมียุทธศาสตร์ด้านทรัพยากรบุคคลอย่างไร

 

(3) ด้านการเงินและด้านทรัพยากรบุคคล

    3.1 การควบคุมต้นทุนการก่อสร้าง การบริหารจัดการโครงการ และการส่งมอบให้เป็นไปตามเป้าหมาย

    3.2 การจัดการหนี้ค้างชำระ

    3.3 การจัดการทรัพย์สินให้มีมูลค่าเพิ่ม

    3.4 เพื่อจัดการประเด็นท้าทายในเรื่องนี้ กคช. ควรมียุทธศาสตร์ด้านทรัพยากรบุคคลอย่างไร

 

(4) ด้านการปฏิบัติงานและด้านทรัพยากรบุคคล

    4.1 วิเคราะห์จุดอ่อน/ช่องว่าง (Gap) หรือสิ่งที่ กคช. ควรพัฒนาในด้านการปฏิบัติการ เสนอ 3 เรื่อง

    4.2 การร่วมมือขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการรับภารกิจการดูแลชุมชน  และการพัฒนาชุมชนของผู้อยู่อาศัย

    4.3 เพื่อจัดการประเด็นท้าทายในเรื่องนี้ กคช. ควรมียุทธศาสตร์ด้านทรัพยากรบุคคลอย่างไร

 

วิเคราะห์ประเด็นท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ และเสนอแนะวิธีการจัดการ ดังนี้

(1) ด้านภารกิจของการเคหะแห่งชาติและด้านทรัพยากรบุคคล

    1.1 การปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงนโยบายรัฐ (ประเทศไทย 4.0)  และภาคีเครือข่าย

          - ใช้ทฤษฎี 3 V คือ Value Added, Value Creation, Value Diversity จะนำไปสู่การตอบโจทย์ มีด้าน Knowledge Technology และเศรษฐกิจพอเพียงส่งขึ้น Platform

          - เรื่องคนใน 3 ช่วงวัยตาม Generation ต้องมีการบูรณาการเพื่อนำไปสู่นวัตกรรม

          - เน้นการผสมผสานสู่การทำงานที่รวดเร็วภายใต้ 4.0

    1.2 บทบาทของ กคช. กับ การพัฒนาชุมชนให้มีความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน

          - ชุมชน 600 ชุมชน ระบบดิจิทัลของการเคหะฯ มีความทันสมัย การเชื่อมต่อกับชุมชนสามารถทำได้เลยโดยการเชื่อมสู่ Platform เชื่อม Online ขยายสู่ชุมชน

    1.3 เพื่อจัดการประเด็นท้าทายในเรื่องนี้ กคช. ควรมียุทธศาสตร์ด้านทรัพยากรบุคคลอย่างไร

          - ปัจจัยที่มองไม่เห็นถ้าเราจัดการโดยบริหารจะทำให้เกิดความสำเร็จ  จากที่เป็นอุปสรรคสู่การจัดทำยุทธศาสตร์ HR เป็นพันธมิตรทั้งภายในและภายนอกองค์กร เป็นเรื่องการปลูก เก็บเกี่ยวและ Execution

          - ถ้าเราจัดการในเรื่องการเรียนการสอนให้เป็นศูนย์ Learning Organization จะเป็นการพัฒนาที่ต่อเนื่องคือ 3 ต. ต่อเนื่อง ต่อเนื่อง ต่อเนื่อง

 

ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์

          การพัฒนาคนในการเคหะฯ ต้องทำ 3 เรื่องคือ ปลูก โดยสร้างให้คนมีคุณสมบัติต่าง ๆ แล้วมาเก็บเกี่ยวคือกระตุ้นให้คนอยากทำงานให้เรา และ Execution คือเอาชนะอุปสรรค การจัดโดยมี Process เพื่อกระตุ้นความเป็นเลิศ บางครั้งการใส่คนใส่ 1 แล้วได้ 8 จะดีมาก แต่ถ้าใส่ 1 แล้วได้ 0.5 อาจไม่เกิดผล อย่างที่เราเรียนเป็น Process แล้วยิงไปที่การเรียนรู้ของเรา  เราต้องกลับไปถามว่าเราได้อะไร  มีความรู้ที่จะสงเคราะห์และปะทะกับความจริงอย่างไร เรื่องคนต้องอยู่ใน Sector ต่าง ๆ ด้วย ฝึกให้คนคิดเป็น วิเคราะห์เป็น รวมเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้จะช่วยให้แก้ปัญหาสิ่งนั้นได้ ดังนั้นการเรียนรู้ 9 วันจะปลูกฝังไปใน DNA ของแต่ละคน  แต่ละประเด็นต้องมีการยกประเด็นมาว่าคืออะไร แล้วเรามาสรุป เน้นการปะทะกันทางปัญญาในการหาความรู้ร่วมกัน

          1. มนุษย์เราถ้าพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ให้เกียรติ ให้ศักดิ์ศรี บริหารเขา เขาจะมีคุณค่า แต่สินทรัพย์อื่นใช้ไป อายุการใช้งานก็หมด ฝ่าย HR ต้องทำหน้าที่เป็นฝ่ายยุทธศาสตร์  HR อย่าทำงานอย่าง Isolation ต้องทำแบบ Strategic Partner ให้ส่วนอื่นเข้าใจเขา แล้วนำชุมชนมีส่วนร่วมถึงประสบความสำเร็จ

          2. การจัดการยุคต่อไปเกี่ยวกับเกียรติยศ ศักดิ์ศรี ความเป็นมนุษย์ เน้นการทำงานมีความสุข เคารพ ซึ่งกันและกันและอยู่อย่างยั่งยืน

          เรื่องการเงิน และเรื่องคนเป็นเรื่องเดียวกัน หมายถึงคนที่อยู่ใน Finance มีลูกน้องก็ต้องทำ HR อยู่แล้ว ดังนั้นฝ่าย HR และฝ่ายการเงินต้องมีการ Communicate กัน ท่าทีต้องพร้อมที่จะเรียนรู้ และอย่ารู้สึกเสียหน้า ทำไมถึงมี Concept เรื่อง Balance Scorecard ดังนั้น HR ยุคต่อไปต้องฉลาดในการ Deal กับ Strategy อื่น  คน HR ต้องสร้างศรัทธาในองค์กร เพราะสร้างค่านิยมหรือศรัทธาให้เขาเห็น  ต้องสามารถเข้าใจส่วนอื่น ๆ ได้

          ตอนหลัง Trend ล่าสุดมนุษย์ยุคใหม่ไม่ได้เน้นวัตถุ แต่เน้น Happiness เน้นการยอมรับ Respect & Dignity สิ่งที่เป็นมูลค่าคือ Value creation และ Value Diversity จะมีคุณค่ามหาศาล ถ้าเราไม่สร้าง Creativity จากคน และไม่เป็น Strategic Partner มูลค่าที่เกิดขึ้นในองค์กรจะมีไม่มาก

 

ศาสตราภิชานไกรฤทธิ์ บุณยเกียรติ

          เรื่องการบุคคล การ Save เงินจะสามารถ Contribute ได้ การประชุมเรื่องการเงิน และบุคคล เป็นเรื่องน่าสนใจมาก คน ๆ หนึ่งทำงานคนเดียวมากกว่า 1 อย่างได้หรือไม่ เช่นอยากให้ข้อมูลอยู่ Big Data และเตือนในตรงเวลา ยิ่งเตือนเร็วเท่าไหร่จะได้คืนมา ดังนั้นคนรุ่นใหม่อาจมี Career ที่รู้ได้หลายอย่างหลายคนทำเรื่องเดียวได้หรือไม่ เช่นงานโปรเจคเป็น Cross Functional นำมาร่วมทำโปรเจค ได้เลย

 

          สรุปคือ จะทำให้คนได้ประสบการณ์ตั้งแต่แรกคือ การทำงานกลุ่มเล็กรู้ทุกอย่างคือจะมี Experience  Curve ในลักษณะ Cross Functional คนเรามี Diversity ในหัวหลายอย่าง ต้องดึง Tacit Knowledge มาให้ได้ มนุษย์ต้องเก่งหลายอย่างไม่ใช่อย่างเดียว คนการเคหะฯ ต้องเป็นเช่นนั้น Talent ไม่ได้ถูกจำกัดที่ใดที่หนึ่ง

 

ด้านลูกค้าและด้านทรัพยากรบุคคล

          2.1 การเพิ่มขีดความสามารถในด้านการตลาด

          การสร้างคุณค่าและสร้างภาพลักษณ์องค์กรเปิดโอกาสให้ลูกค้าเข้าสู่สินเชื่อของผู้มี่รายได้น้อย

ที่ผ่านมามีกลุ่มสินค้าเป็นสองกลุ่ม มี 600 ชุมชน  700,000 กว่าหน่วย มีสินค้าเดิม การบริหารแบบเดิม ติดปัญหาแบบเดิมคือแหล่งทุน การเข้าถึงแหล่งดอกเบี้ยต่ำอยู่ยากในการมีสถาบันการเงินรองรับต่าง ๆ และเรื่องชุมชนที่ขาดระเบียบในการสร้างปัญหากับเรา คุณภาพการดูแลซ่อมแซม การบริการ การประชาสัมพันธ์ เป็นปัญหาตลอด มีการขายได้บ้าง และซื้อคืนมาบ้าง

          กคช.ได้รับผลิตบ้านที่อยู่อาศัยเพื่อคนจน แต่ไม่สามารถส่งต่อบ้านให้คนจนได้เนื่องจากไม่ได้ดูเรื่องการเงินโดยตรง ภารกิจหลักคือเป็นแหล่งที่มาการเงิน ถ้ากคช. สามารถเป็นแหล่งสินเชื่อเองได้ ทุกอย่างอาจจบครบวงจร แต่ปัจจุบัน ทำไม่ได้เพราะไม่ใช่สถาบันการเงินไม่สามารถระดมทุนได้  ดังนั้นอัตราส่วนชุมชนผู้มีรายได้น้อยผ่อนกับเราดอกเบี้ยสูง ดังนั้นการถึงรากหญ้าหรือไม่ ต้องปรับ

          ตัวอย่าง การเพิ่มขีดความสามารถทางการตลาดมีการส่งเสริมการขาย ติดตั้งเหล็กดัดมุ่งลวด ฟรีค่าธรรมเนียมการโอน  เพิ่มการเข้าอยู่อาศัยได้ทันที และล่าสุดมีการเริ่มคิดตั้งแต่บ้านเริ่มก่อสร้าง มีการแถมปั๊มน้ำ และถังน้ำ อย่าง 20 แรกจะมีการแถม มีการบูรณาการตั้งแต่การพิจารณาโครงการ คุยกันก่อนจบโปรเจคทำให้บ้านขายได้ มีการปรับปรุงรูปแบบพัฒนามากขึ้น

          2.2 ความสามารถในการมอบคุณค่าและสร้างภาพลักษณ์ขององค์กร ให้ลูกค้าภาคภูมิใจที่อยู่อาศัยในบ้านของการเคหะแห่งชาติ

ตลาดใหม่ การพิจารณาโครงการต่าง ๆ สามารถต่อยอดในโครงการ การเคหะฯ เริ่มหาผู้ร่วมทุน ปรับเป็น NHA + การบริหารจัดการต่าง ๆ ต้องปรับเป็นมิติใหม่ การโฆษณาประชาสัมพันธ์ต้องปรับเป็นอีกมิติหนึ่ง โด่ยมุ่งเน้นให้เกิดในตัวของตลาดใหม่ สิ่งที่ได้คือแข่งขันกับเอกชนได้ สร้างความเชื่อมั่นให้ลูกค้า และต่อยอดการเข้าสู่ AEC

          2.3 การเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยของผู้มีรายได้น้อยที่ผ่านมามีข้อจำกัดคือทำไม่ครบวงจร ดังนั้นการแก้ไขอย่างบ้านเอื้ออาทร ก็ควรปรับเรื่องการเข้าถึง  การต่อเติม การดูแลที่อยู่อาศัย ชุมชน กระบวนการที่มาไม่ครบองค์ประกอบสมบูรณ์ ถ้ามีกระบวนการใหม่จะสามารถแก้ปัญหาได้ ถ้าปรับเรื่องสินเชื่อได้จะปรับด้านช่วยเหลือลูกค้าได้

          มีการนำ Cloud Funding มาใช้ อย่างการซื้อคืนลูกหนี่ต้องมีการนำคืนสินค้าเป็นทรัพย์สินของเรา  ปัจจุบันมีการวิเคราะห์คือนำกลับมาขายใหม่ ราคาต่ำ และถ้าทำ Cloud หาแหล่งเงินทุน รายได้ ผู้ลงทุน โดยมีการเคหะฯ ค้ำประกัน ซื้อบ้านได้บ้าน ปล่อยสินเชื่อได้เงิน จะเป็นส่วนที่ทำให้ขายสินค้าจะส่วนที่สต๊อกอยู่ ในเมื่อลูกค้าขาดหลักฐานเอกสารต่าง ๆ อาจต้องนำสิ่งนี้เข้ามาเพื่อให้ลูกค้ามีแหล่งสินเชื่อ ทำให้ผู้มีรายได้น้อยที่อาจไม่มีเอกสารประกอบการทำที่อยู่อาศัย เพิ่มช่องทางการขายสำหรับผู้มีรายได้น้อย

 

          เราจะรักษากลุ่มลูกค้าเดิมได้อย่างไร

          2.4 เพื่อจัดการประเด็นท้าทายในเรื่องนี้ กคช. ควรมียุทธศาสตร์ด้านทรัพยากรบุคคลอย่างไร นโยบายที่ผ่านมา เมื่อก่อนได้รับนโยบายสร้างและขาย ตัวสินค้าต้องขายไปตามระยะเวลา หลายปีผ่านไปตัวสินค้าจะเสื่อมโทรม มองถึงความจริงทีเกิดขึ้น ในด้านตัวผลิตภัณฑ์สินค้าค่อนข้างทรุดโทรมเนื่องจากเวลา การปรับสภาพคนที่เข้าไปอยู่ชุมชนขาดความเป็นระเบียบ ระบบสาธารณูปโภค เริ่มมีปัญหา

 

ในเรื่องสถาบันการเงินผูกติดอย่างเรื่องเอื้ออาทรติดเรื่องข้อตกลง

ปัญหาต่าง ๆ เป็นการแก้ปัญหาซึ่งหน่วยงานแก้ปัญหาเฉพาะแต่ละหน่วยงาน ไม่ได้มองเรื่องการบูรณาการ ซึ่งในส่วนนี้แนวทางใหม่ ๆ จะเริ่มมีการบูรณาการ การทำโครงการจะมีการคุยกันหลายส่วนงาน ด้านก่อสร้าง ชุมชนเป็นหลักเพื่อตอบสนองต่อลูกค้า

 

ศาสตราภิชานไกรฤทธิ์ บุณยเกียรติ

          การนำเสนอกลุ่มนี้สร้างความมั่นใจได้ดีมาก ฝากให้คิดต่างคือ ต้องสร้างชุมชน ไม่สามารถสร้างได้แค่กลุ่มบ้านแค่นั้น มีอะไรเป็นป่าเยอะ ชุมชนไม่ได้รวมกันเป็นชุมชน เท่านั้น ที่เหล่านั้นจะรู้สึกมีความสุขมาก

          เราสร้างมนุษย์ที่อยู่รวมกันแล้วมีความสุข การเคหะฯ กำลังสร้าง Sustainable Development Community

          ที่หายไปคือ Public Private Partnership ชุมชนต้องมีส่วนร่วม เพราะถ้าชุมชนไม่มีส่วนร่วมจะมีปัญหา ชุมชนต้องเข้ามา Involve แต่เป็นการเข้ามาแบบร่วมทุกข์ร่วมสุข คือดูกันเอง สิ่งเหล่านี้ที่สร้างอยู่และเป็นอยู่แล้ว คือเคหะชุมชนดูแลบ้านการเคหะฯ ชุมชนอยู่ได้ด้วยตัวเอง  สิ่งที่ท่านทำอยู่ปัจจุบันคือ สร้าง Sustainable เป็น Happiness Community เป็นความสุขที่บรรยายไม่ได้

          อยากให้คนในห้องนี้คิด Upside Down , Inside Out  อย่างในวันนี้ใช้ Balance Score Card เป็นกระบวนการเป็นตัวขับเคลื่อน

 

          สิ่งที่ได้จากโครงการ

                   1. Cross Functional

                   2. Multi Function คนเดียวทำได้หลายอย่าง

                   3. Team Learning และ Team Action

 

ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์

                    1. ความจนวัดจากรายได้ไม่ได้เกี่ยวกับการวัดความสุขของชีวิต ยกตัวอย่างงานวิจัยของคนจบ MBA ที่ Harvard 5 ปีแรกมีความสุขเพราะมีรายได้ดี แต่ต่อไปมีปัญหาเรื่องหย่าร้าง เรื่องการติดยา หนังสือ Alibaba พูดว่าคนที่เป็นรากหญ้าสามารถทำธุรกิจได้  สิ่งที่อยากแนะนำการเคหะฯ อย่างหนึ่งคือถึงแม้มีรายได้ยากจน แต่เขาก็มีเกียรติ ศักดิ์ศรี มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้  อย่างเรื่องการออกแบบบ้าน ออกแบบสวนก็มีส่วนสำคัญในการส่งเสริมเรื่องนี้ ยกตัวอย่าง C.K. Prahalad กล่าวถึงสามารถทำธุรกิจกับคนยากจนได้

                    2. การพูดทั้ง 4 กลุ่มตอบโจทย์การเคหะฯ โดยใช้ Transactional ไม่ใช่การพูดถึงอนาคตหรือ Transformational ต้องนำเรื่องของการเคหะฯ ที่ทำอยู่ แต่เป็นการมองสิ่งที่มีอยู่แล้วทำให้ดีขึ้นจะช่วยเราได้อย่าง 50-60%

          โดยสรุปทั่วไป การเคหะฯ ต้องมองที่ Boundary ใหม่ ที่มีการทำงานเชิงรุก และการไปทำงานต่างประเทศ

          Execution แปลว่าถ้ามี Opportunity มีอุปสรรค เราต้องทำให้สำเร็จ เหมือน กรีฑา เราต้องวิ่งข้ามรั้ว และเข้าที่หนึ่งให้ได้ อุปสรรคในการข้าม Boundary ใหม่ ๆ เรียกว่า Transformation ถ้าเราเป็นรัฐวิสาหกิจและทำหน้าที่แบบเดิม คนในอนาคตจะมองว่าเราไม่สามารถปรับตัวได้ จึงอยากให้มองไปในอนาคตด้วย เพราะการเปลี่ยนแปลงในอนาคตคือเร็ว รุนแรง และไม่แน่นอน และ อยากให้คนในห้องนี้มีความทะเยอทะยาน มอง Boundary ใหม่ ๆ

          เราจะเห็นการปะทะกันทางปัญญาเกิดขึ้น เลยได้สร้างมูลค่าทางความคิด

          Learning Community มี Learning Culture ซ่อนไว้ สังเกตได้ว่าทำไมคนรวยมีการสะสมปืน และมีห้องสมุดอยู่ที่บ้าน

 

ดร.ทรงวุฒิ ชนะภัย

          ภารกิจของการเคหะฯ เป็นภารกิจสำคัญของประเทศ ต้องก้าวหน้าต่อไป

 

อาจารย์พิชญ์ภูรี จันทรกมล

          ด้านการเงินและด้านทรัพยากรบุคคล การควบคุมต้นทุนการก่อสร้าง การบริหารจัดการโครงการ และการส่งมอบให้เป็นไปตามเป้าหมาย

          - การก่อสร้าง มีแผนจะลดต้นทุนการก่อสร้างให้มีค่าใช้จ่ายน้อยและให้ทันเวลาเพื่อลดอัตราดอกเบี้ย เน้นการควบคุมการก่อสร้างตามแผนตามเวลา

          - เรื่องการจ่ายเงิน และดอกเบี้ย ถ้ามีแหล่งดอกเบี้ยถูก แหล่งเงินถูกจะลดต้นทุน

          - นวัตกรรม จะมีวัสดุที่ราคาถูก มีระบบทันสมัยรวดเร็วอย่างไร

          - การควบคุมคุณภาพและวัตถุดิบด้วยี

 

การจัดการหนี้ค้างชำระ

          - การบริหารโครงการฯ จัดเก็บเงิน ทำอย่างไรให้ได้เต็มเม็ดเต็มหน่วย หาทางป้องกันโดยมีนวัตกรรมหรือเครื่องมือในการป้องกันอย่างไร เช่น ระบบ SMS แจ้งเตือน มีระบบ IT ในการแจ้งเตือน เป็นต้น  ควรพัฒนาให้ทันสมัยและเข้าถึงลูกค้า

          - คัดเลือกลูกหนี้ให้อยู่ในเกณฑ์ที่มีความสามารถในการชำระ ทำอย่างไร คือต้องวิเคราะห์ลูกค้าให้ละเอียดมากขึ้น

          - เพิ่มทางเลือกการชำระเงิน ในเรื่องระยะเวลา อาจซอยเป็นสัปดาห์ หรือ 15 วัน ฃ

          - ยืดหยุ่นการชำระเงิน คืออาจจ่าย 100 –  500 ได้หรือไม่ เพราะถ้ารองวดเดียวอาจมีปัญหาเนื่องจากใช้เงินหมดแล้ว

          - อำนวยความสะดวกในการชำระเงิน มีเรื่องความยืดหยุ่น และเอาระบบ IT เข้ามาใช้ด้วย เช่นการจ่ายด้วย QR Code

การจัดการทรัพย์สินให้มีมูลค่าเพิ่ม

          - การจัดการที่ดินให้เกิดมูลค่าเพิ่ม ไม่ให้เป็นที่รกร้าง นำที่รกร้างมาหาประโยชน์ อาคารศูนย์การค้าชุมชน ก็จัดให้มีกิจกรรมในศูนย์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม ให้คนมาเช่าเพื่อไม่ให้เป็นที่เงียบเหงาในชุมชน

          - บริหารอาคารคงเหลือมีระบบอย่างไรให้เก็บค่าเช่าได้เต็มเม็ดเต็มหน่วยทำให้ได้ห้องเช่าไม่ว่าง

          - การนำทรัพย์สินที่มีอยู่มาทำให้มีมูลค่ามากขึ้น

 

    เพื่อจัดการประเด็นท้าทายในเรื่องนี้ กคช. ควรมียุทธศาสตร์ด้านทรัพยากรบุคคลอย่างไร

          - เชิญบุคลากรมาอบรมทำงานมากกว่าหนึ่งอย่าง

          - สร้างทีมเฉพาะกิจ มอบหมายภารกิจให้เวลา 1 ปีสร้างโครงการให้เกิดรายได้

          - นำคนที่มีประสบการณ์สูง ๆ มาสอนรุ่นน้อง เหมือนโค้ชชิ่ง

          - คัดสรรพนักงานที่มีความสามารถพิเศษ ทำข้อมูล Big Data ให้องค์กร

          - อบรมคนให้ในอนาคตการเปลี่ยนแปลง

 

ศาสตราภิชานไกรฤทธิ์  บุณยเกียรติ

 

เรื่องการเงิน ยกตัวอย่างที่ ญี่ปุ่น จะทำอะไรที่เป็นแบบ Actionable การทำจริงคืออะไรต้อง Specific หมายถึงทำได้ทันที จะเป็น Organization Learning ไม่ใช่ Individual Learning

 

อาจารย์พิชญ์ภูรี จันทรกมล

ด้านการปฏิบัติงานและด้านทรัพยากรบุคคล

วิเคราะห์จุดอ่อน/ช่องว่าง (Gap) หรือสิ่งที่ กคช. ควรพัฒนาในด้านการปฏิบัติการ เสนอ 3 เรื่อง

          - เรื่องการบริหารสินเชื่อ จุดอ่อนที่พบคือ เราทำงานกับลูกค้ากลุ่มผู้มีรายได้น้อยมีปัญหาค่อนข้างมาก ลูกค้าบางรายไม่ได้รับการพิจารณาสินเชื่อจากทางการเงิน และกคช.ไม่มีแบงค์ดอกเบี้ยต่ำให้ลูกค้าเลือกมากนัก ทางแก้คือมีแนวคิดให้ กคช.ตั้งกองทุนสินเชื่อ ตั้งสถาบันการเงินเอง แต่ปัญหาคือไม่ใช่ภารกิจโดยตรงของการเคหะฯ กลุ่มลูกค้าจะหาแบงค์ยากนิดนึง

 

          - การสนับสนุนกันก็จะจัดประโยชน์เพื่อยกระดับรายได้ เช่นตลาดเคหะประชารัฐ หรือการจัดการที่ดินว่าง ลูกบ้านจะมีแหล่งประกอบอาชีพ สิ่งที่พบคือถ้ามีแหล่งค้าขาย เขาจะประกอบอาชีพได้และมีเงินมาผ่อนบ้านเรา ลูกค้ากลุ่มนี้จะได้เงินบางส่วนในการอุดหนุนมาให้เขา และเมื่อมีรายได้ มีความมั่นคงของอาชีพจะลดช่องว่าง และต่อยอดธนาคารออมสินในการให้สินเชื่อเนื่องจากลูกค้ามีความมั่นคงมากขึ้น พอได้เงินกู้มาก็จะขยายโครงการเพิ่ม ลดภาระผ่อนลง มีบ้านเร็วขึ้น โอนกรรมสิทธิ์ได้เร็วขึ้น แต่เรื่องการจัดประโยชน์ติดระเบียบข้อบังคับ และมีการอนุมัติขั้นตอนค่อนข้างมาก ใช้เวลามากเป็นปี ทำให้ธุรกิจที่ต้องการทำไม่ทัน จึงมีแนวคิดในการปรับปรุงกระบวนการใช้ KM ช่วยว่าติดปัญหาที่ใด มีขั้นตอนการปรับปรุงกระบวนงาน

          - การพัฒนาชุมชน ให้ชุมชนมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน จุดอ่อนคือมีเจ้าหน้าที่ที่เข้าไปอยู่ในชุมชน ดูแลลูกค้าไม่ทั่วถึง ไม่ต่อเนื่อง ไม่สามารถรับรู้อย่างรวดเร็ว สม่ำเสมอ เทศบาล ชุมชน อบต.ต่าง ๆจะมีหน่วยงานซ้ำซ้อนกัน การทำแบบบูรณาการจะลดปัญหาเรื่องคน และแก้ปัญหาซ้ำซ้อนได้

 

                   การร่วมมือขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการรับภารกิจการดูแลชุมชน และการพัฒนาชุมชนของผู้อยู่อาศัยมีหน่วยงานท้องถิ่นที่ไม่สามารถรับมอบได้เนื่องจากไม่มีงบประมาณเพียงพอ เช่นตามกฎหมายคนมีส่วนรับผิดชอบคือ องค์การบริหารส่วนปกครองท้องถิ่น แต่มีปัญหาคือ ท้องถิ่นตั้งงบประมาณไม่ทันจึงปฏิเสธการรับมอบ การเคหะฯ ก็ไม่ได้ทำ แต่อาคารทรุดโทรม ร้องเรียนก็ไม่ได้เพราะรัฐบอกว่าต้องมอบให้ อปท. ต้องมีการคุยระดับนโยบายที่เกี่ยวข้อง หน่วยงานท้องถิ่นต้องวางแผนร่วมกัน การรู้ล่วงหน้าจะมีการตั้งงบประมาณรองรับ เช่นโครงการแพทย์กาสา ต้องดูการรองรับ เช่น โรงเรียน ไฟฟ้า ประปา การตั้งงบประมาณล่วงหน้าต้องตั้งล่วงหน้า 2 ปี ถ้ารู้ก่อนจะได้ไม่มีเหตุผลเรื่องการไม่มีงบประมาณ

 

เพื่อจัดการประเด็นท้าทายในเรื่องนี้ กคช. ควรมียุทธศาสตร์ด้านทรัพยากรบุคคลอย่างไร

          ทุกคนต้องมีความรู้ความเข้าใจตรงกัน ไม่ใช่เฉพาะ กคช. ผู้บริหารต้องมีใจกว้าง รับฟังความคิดเห็นของระดับล่าง ระดับล่างต้องเข้าใจนโยบาย รวมถึงหน่วยงานภายนอก เราต้องรู้ว่าจะทำงานที่โครงการไหนรับรู้ความเข้าใจตรงกัน  ถ้าประสานดีกว่านี้จะทำงานได้ราบรื่นกว่านี้

          การปรับเปลี่ยน Mindset ด้วยวิธีการอะไร การเปลี่ยน Mindset ต้องเรียนรู้ และปรับด้านนี้ ทรัพยากรบุคคลต้องหาวิธีการปรับตรงนี้ เช่นการทลาย Silo , Cross Function เป็นต้น

          เช่นการทลาย Silo เพราะที่ผ่านมาทำงานเป็น Section เมื่อได้มีการ Shared Vision จะได้รู้ร่วมกันเพื่อประสานงานในกลุ่มร่วมกัน  มีการทำ Cross Function เวลาเคลื่อนจะเคลื่อนทั้งองค์กร ไม่ใช่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ทั้งหมดเป็นฐานความรู้องค์กร เก็บเข้าฐานให้ค้นหาได้ง่าย ไม่ใช่เกิดเรื่องใหม่และเรียนรู้ใหม่ ปัญหาด้านนี้จะรับฟังร่วมกันหมด

 

ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์

          การทลาย Silo อาจเป็นเรื่องยากเพราะทุกคนอยู่ในพื้นที่ตัวเอง ต้องสร้างความสัมพันธ์แบบ Informal เพราะ Informal จะไปสู่ Formal ในยุคต่อไปจะพูดเรื่ององค์กรแห่งการเรียนรู้มากขึ้น         มี Learn-Share-Care เราต้องมีนิสัยในการอ่านหนังสือ เพราะการอ่านหนังสือบางครั้งอาจไม่ตรงแต่ต้องประกอบการเรียนรู้ แบบ Futuristic

 

วันที่ 16 มีนาคม 2561 

วิเคราะห์กรณีศึกษาด้านการบริหารธุรกิจ(บทเรียนเพื่อพัฒนาการเคหะแห่งชาติ) 

 โดย ดร.พยัต  วุฒิรงค์  ว่าที่ร้อยตรี จีรวัฒน์  เยาวนิช 

 

TREND

WEST                                                  EAST

                             - BIG                                                   - SMALL

                             - BUSINESS                                           - CONSUMER

                             - MASS                                                - NICHE

                             - VOLUME                                            - VALUE

INNOVATION – ให้ลองทำตัวเป็นลูกค้าตั้งแต่ขั้นตอนแรก

การเข้าใจลูกค้า – เครื่องมือ design think process + นวัตกรรม 10 แบบ

design think process ต้องเข้าใจลูกค้า  define ideation prototyping test

นวัตกรรม 10 รูปแบบ

CONFIGURATION

1.  รูปแบบธุรกิจ

2.  เครือข่าย

3.  โครงสร้าง

4.  กระบวนการ

OFFERING

5.  ประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์

6.  ระบบผลิตภัณฑ์

EXPERIENCE

7.  การให้บริการ

8.  ช่องทาง

9.  แบรนด์

10. การสร้างความผูกพันลูกค้า

 

 

 

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท