UC ช่องว่างเล็กๆ ที่กระเพื่อมถึงองค์กร


น่าสนใจไปคุยกับพี่ที่อยู่แผนกสิทธิบัตร ทำให้มองเห็น Gap หลายประเด็น

▪️ความรู้ความเข้าใจในเรื่องการใช้สิทธิ 

▪️การได้รับบริการเกินจำเป็น 

▪️การใช้ยานอกบัญชีหลัก

▪️การทำ MOU กับหน่วยบริการพื้นที่รอยต่อ

เมื่อตามรอย เริ่มเห็นโอกาสของการพัฒนา

ชวนคิดชวนทำ KM และ R2R

*ข้อหนึ่งเป็นเรื่องสำคัญมากๆ ในการสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องสิทธิแก่ประชาชน เพราะประเด็นนี้กระทบหน่วยบริการค่อนข้างมาก

**ข้อสองและข้อสามบุคลากรทางการแพทย์ถ้าทราบเรื่องสิทธิและหลักประกันสุขภาพจะทำให้เกิดความร่วมมือในการบริหารจัดการในองค์กร

***ข้อสุดท้ายต้องมาทบทวนว่าต้นทุนบริหารในองค์เราเท่าไร สปสช.จ่ายให้เท่าไรเพื่อเป็นข้อมูลนำไปสู่การพัฒนาแก้ไข

นี่เป็นเพียงบางส่วนของการจำลองวิเคราะห์เรื่อง UC

#Noteความคิด

"มีบัตรประชาชนนึกว่ารักษาฟรีทุกแห่ง"

"ไม่เข้าใจสิทธิและขั้นตอนของการเข้ารับบริการ"

"รักษาไปแล้วจนจบกระบวนการถึงได้ทราบว่าจ่ายเงิน"

"เรียกเก็บเงินไม่ได้ เป็นหนี้สูญ"

"MOU Refer พื้นที่รอยต่อต้นทุนขั้นต่ำสูงเกินมาตราที่กำหนด"

"บุคลากรทางการแพทย์ไม่ทราบเรื่องสิทธิ"

"สิทธิการรักษาเป็นเรื่องของกลุ่มเจ้าหน้าที่สิทธิบัตรเท่านั้นทำให้เกิดช่องว่างในองค์กรในเรื่องการอธิบายสิทธิของผู้ป่วย"

...

ฯลฯ


#KMUC

#KMR2R

#หลักประกันสุขภาพ

เห็นภาพชัดเลยค่ะว่า เรื่องหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นเรื่องของพวกเราทุกคน เพื่อให้องค์กรอยู่ได้ 

ตัวอย่างช่องว่าง (Gap) นี้สามารถนำไปสู่การทำ Gap Analysis และสามารถนำเครื่องมือ KM หรือ R2R มาใช้ได้


28-06-60

หมายเลขบันทึก: 630473เขียนเมื่อ 28 มิถุนายน 2017 15:55 น. ()แก้ไขเมื่อ 28 มิถุนายน 2017 15:55 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

Thank you for an interesting note on Thailand healthcare system.


I have sympathy for people seeking help for their health problems. They are conditioned to be (overly) concerned with health and to hold medical providers in high regards. When they have health problems, should they be subjected 'healthcare' problems too? When people are in pain or bleeding, details of medical econometrics is the least they worry about. And rightly so, people should expect and get prompt attention for their medical conditions.


The issues that people

"มีบัตรประชาชนนึกว่ารักษาฟรีทุกแห่ง"

"ไม่เข้าใจสิทธิและขั้นตอนของการเข้ารับบริการ"

...

should be done beforehand elsewhere in the media (at large), not 'at points of service' at the time when time can be critical (matter of life and death).


This ***ข้อสุดท้ายต้องมาทบทวนว่าต้นทุนบริหารในองค์เราเท่าไร สปสช.จ่ายให้เท่าไรเพื่อเป็นข้อมูลนำไปสู่การพัฒนาแก้ไข... should be done in the backroom after treatments (for emergent cases). That is "people first".


By the way นี่เป็นเพียงบางส่วนของการจำลองวิเคราะห์เรื่อง UC... What does UC stand for?

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท