เศรษฐกิจพอเพียง


เมื่อเราเริ่มเชื่อมโยงเศรษฐศาสตร์ออกมานอกวิชาเศรษฐศาสตร์ เราเริ่มจะเห็นอะไรแตกต่างออกไป เมื่อเราลองตั้งสมมติฐานอันแตกต่างออกไปจากนักเศรษฐศาสตร์ เราก็อาจจะได้มาซึ่งเศรษฐศาสตร์อย่างใหม่ ก็เป็นได้

เสี้ยวส่วนอย่างเป็นองค์รวม โฮโลแกรม ดอกกะหล่ำ ความสุข ความสัมพันธ์ที่ดีงาม และพัฒนาการทางจิตที่ดำรงอยู่ในการงาน

เศรษฐศาสตร์พยายามเป็นวิทยาศาสตร์เก่า ที่มีอคติของอารยธรรมแบบตะวันตก

เศรษฐกิจพอเพียงแบบคานธี

เล็กนั้นคือความงดงาม ชูมากเกอร์

เศรษฐศาสตร์ ความเชื่อมโยง และการตั้งสมมติฐานใหม่นอกกรอบนักเศรษฐศาสตร์

เศรษฐกิจพอเพียงเริ่มต้นจากความเชื่อมโยง เมื่อการมองเศรษฐศาสตร์ไม่ถูกมองจากสมมติฐานเดิม หากเริ่มต้นการมองด้วยสมมติฐานใหม่ หรือปรัชญาใหม่ ที่จริง เศรษฐศาสตร์ไม่ได้เป็นวิทยาศาสตร์อย่างที่นักเศรษฐศาสตร์อ้าง แต่มีปรัชญา คุณค่าและความเชื่อแฝงฝังอยู่ เช่น เชื่อเรื่องความก้าวหน้าทางวัตถุของประวัติศาสตร์มนุษยชาติ เชื่อเรื่องความสุขจากการบริโภคมาก ๆ เชื่อเรื่องการแบ่งงานออกจากการพักผ่อนและการบันเทิงเริงรมย์ การบันเทิงเริงรมย์ก็ถูกกำหนดกรอบมาให้เป็นการซื้อขายบริการ ให้กลายมาเป็นการบริโภค ทั้งหมดจะต้องมีการซื้อและขาย จึงเกิดเป็นเรื่องราวทางเศรษฐศาสตร์ขึ้นมา

เมื่อเราเริ่มเชื่อมโยงเศรษฐศาสตร์ออกมานอกวิชาเศรษฐศาสตร์ เราเริ่มจะเห็นอะไรแตกต่างออกไป เมื่อเราลองตั้งสมมติฐานอันแตกต่างออกไปจากนักเศรษฐศาสตร์ เราก็อาจจะได้มาซึ่งเศรษฐศาสตร์อย่างใหม่ ก็เป็นได้

 


ความสุขที่แท้จริง อะตอมมิสต์หรือจิตนิยม หรือสายกลาง

เศรษฐศาสตร์กับตัวสภาวะจิต mind only or matter only

ลำดับขั้นในการพัฒนาจิตกับความสุข

จิตวิทยาการกีฬา สภาวะความเลื่อนไหล หรือมณฑลแห่งพลัง


ช่วยกันคิดหน่อยนะครับ

วญ.

บทความจาก http://www.semsikkha.org/

หมายเลขบันทึก: 62460เขียนเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2006 17:51 น. ()แก้ไขเมื่อ 26 พฤษภาคม 2012 12:53 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท