ข้อควรคำนึงในการปรับปรุงหลักสูตรแพทยศาสตร์ระดับปรีคลินิก (ทุกสถาบัน) ที่เน้น competency (outcome) - based curriculum


1. ขาดการใช้ best evidences จาก med ed research ในการปรับปรุง

2. ขาด clinical correlation เชิง evidence-based แต่เน้นเฉพาะ clinical-based

3. ใช้ PBL, TBL และ small-group discussion ไม่ถูกต้อง ทำให้ไม่ได้ประโยชน์จาก PBL/TBL/SG ในการ

พัฒนาทักษะด้านต่าง ๆ

4. ขาด content-seeking หรือ knowledge-seeking activity โดยมีแต่ content-recall activity

5. จัด learning activity โดยละเลยหรือข้ามขั้นตอนของการสร้าง outcome (competency) assessment

6. ใช้ student-centered teaching ที่เน้น content มากกว่า student-centered learning ที่เน้นพัฒนา

ทักษะด้านต่าง ๆ ซึ่งอาจทำให้เกิด handout-based learning ได้

7. ใช้ teaching/ learning activities ต่าง ๆ เช่น flipped classroom, SDL, interactive lecture แต่ประเมิน

เฉพาะ content /factual knowledge โดยไม่มีการประเมินทักษะอื่น ๆ

8. Knowledge application ถูกนำมาใช้ประเมินตอนสอบมากกว่า in-course assessment/evaluation

9. ขาดการพัฒนา outcome (competency) assessment

10. เข้าใจผิดว่าการจัดการเรียนการสอนคือ การทำตารางสอน แท้จริงแล้ว learning issues ที่มีอยู่ใน course

syllabus ไม่จำเป็นต้องปรากฎในตารางสอนทั้งหมด แต่มีแนวทางให้ผู้เรียนหาความรู้เรื่องนั้นได้

-- ในการจัดทำหลักสูตร ควรคิดถึงประเด็นข้างต้นเพื่อไม่ให้เกิด illusory student-centered learning หรือ

illusory competency-based curriculum ได้

อ่านเพิ่มเติม:

1. Dharmasaroja P. Towards a better medical curriculum. Med Educ. 2013 Jun;47(6):633.

2. Dharmasaroja P. Do medical students really need lecture handouts? Med Teach. 2014 Oct;36

(10):914-5.

หมายเลขบันทึก: 595980เขียนเมื่อ 8 ตุลาคม 2015 11:11 น. ()แก้ไขเมื่อ 8 ตุลาคม 2015 11:11 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

ได้ความรู้มากเลยครับ

สมารถนำไปประยุกต์สาขาอื่นได้

ขอบคุณมากครับ

หายไปนานเลยครับ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท