พระสงฆ์ที่เป็นผู้หญิงท้าทายต่อแนวโน้มที่เกลียดชังผู้หญิงในพุทธศาสนา


หลายๆคนในรัฐไทย, พวกพระ, และประชาชนส่วนใหญ่กำลังอยู่สภาวะสับสนต่อผู้หญิงที่ชื่อ ธัมมนันทา. ในฐานะที่เป็นภิกษุณี ซึ่งคล้ายๆกับแม่ชีชาวพุทธเถรวาท พระภิกษุณีธัมมนันทามีความกระตือรือร้นที่จะฟื้นคืนสายของภิกษุณีขึ้นมาใหม่อีกครั้งในประเทศไทย ถึงแม้ว่าจะมีพวกแม่ชีอยู่ทั่วโลก แต่ชาวพุทธไทยได้ปฏิเสธความสามารถของผู้หญิงในการรับภาระคณะสงฆ์ ซึ่งต่างผู้ชายมาหลายปี การห้ามติดต่อกันทางวิญญาณเป็นตัวอย่างหนึ่งที่เห็นได้ชัดเจนว่าพุทธศาสนา (ที่จริงต้องมีศรัทธาที่เท่าเทียมกัน) ก็ต้องทนทุกข์ทรมานจากความเกลียดชังผู้หญิงและวัฒนธรรมการเกลียดชังผู้หญิง เริ่มต้นจากภูมิภาคไปสู่หลายภูมิภาค ถึงที่สุดก็ไม่สามารถจะให้ชีวิตแก่คุณค่าที่สูงส่งได้ แต่พระภิกษุณีธัมมนันทา ซึ่งไปบวชที่ศรีลังกา โดยพระสงฆ์เถรวาทที่มีการคิดกับผู้หญิงในเชิงบวก ในปี 2003 ตอนนี้ได้จัดการวัดที่มีแต่แม่ชี (น่าจะเป็นสามเณรี) ซึ่งเดินทางประมาณ 2-3 ชั่วโมงจากกรุงเทพ และช่วยเหลือในการบวชผู้หญิง ตอนนี้เธออยู่ในประเทศไทย เธอยังเป็นผู้เรียกร้องสิทธิสตรีชาวพุทธที่โดดเด่น เธอใช้ตรรกะและเครื่องมือเพื่อศรัทธาของหล่อน ถึงที่สุดก็เพื่อที่จะสร้างสิทธิทางจิตวิญญาณที่มีความเสมอภาค และสามารถเข้าถึงผู้หญิงในชาติของหล่อนและที่อื่นๆ

ในขณะที่ยังมีประวัติศาสตร์ชาวพุทธเต็มไปด้วยเรื่องของภิกษุณี และผู้หญิงที่มีความโดดเด่นอื่นๆ และเทววิทยาของชาวพุทธสามารถที่จะถูกใช้ในการทำลายเพศสภาพ (gender) ว่าเป็นสิ่งที่สร้างขึ้นมาใหม่ แต่เราต้องไม่ลืมว่าความศรัทธาในคัมภีร์ก็มีอย่างหลากหลาย บางครั้งก็อาจมีการใช้คัมภีร์เพื่อเป็นอาวุธในนามของการควบคุมที่เน้นแต่ชายเป็นใหญ่ก็ได้ เรื่องราวเกี่ยวกับพุทธเจ้าถือว่าผู้หญิงเป็นตัวทำลายพรหมจรรย์ และภิกษุณีต้องอยู่ขาดจากพระและภายใต้กฎที่มีกว่าพระมากมาย บางแห่งกล่าวว่า ที่ต้องให้ผู้ชายเป็นใหญ่ก็เพราะให้กับโครงสร้างสังคม คนหลายคนกล่าวว่าเรื่องราวเก่าๆไม่เห็นจะเกี่ยวข้อง พวกเขากล่าวว่า พุทธศาสนาคือวิถี ซึ่งผู้หญิงและคนชอบอื่นๆ สามารถที่จะสร้างอัตลักษณ์ใหม่ หรือได้รับสถานะใหม่ โดยอาศัยการศรัทธาและการทำบุญทำกุศลมากกว่าจะมีดูกันที่เพศสภาพ อย่างไรก็ตาม หากไม่พิจารณาศักยภาพเชิงทฤษฎี การใช้เรื่องศรัทธานี่แหละ ทำให้การจงเกลียดจงชังผู้หญิงดำรงอยู่ภายในสังคม

สังคมไทยคือตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจนของการขโมยศาสนาในนามของการสถานะภาพที่ส่งเสริมเฉพาะผู้ชาย การเป็นภิกษุ นำมาซึ่งสถานภาพที่สูงในสังคม และวัตถุต่างๆที่ให้กับชายที่บวช แต่ในศาสนาพุทธในประเทศไทย ผู้หญิงไปได้อย่างดีก็แค่แม่ชี ซึ่งมีจิตวิญญาณ, สถานภาพทางสังคม, และวัตถุต่างๆน้อยกว่าภิกษุมากๆ พวกพระชาวไทยได้ยืนยันมานานแล้วว่าภิกษุณีจริงๆแล้วไม่เคยปรากฏ สิ่งนี้มีความหมายว่าผู้หญิงไม่สามารถจะมีสถานภาพทางจิตวิญญาณได้เหมือนผู้ชาย และพวกชาวพุทธที่ดีกล่าวว่าการที่ผู้หญิงมีสัมพันธภาพที่ต้องถูกกดเหงสมควรยอมรับ เพราะว่าเป็นผลกรรม

แทนที่ผู้หญิงจะหันเหออกจากพุทธศาสนา แต่ผู้หญิงหลายคนพยามที่จะรับเอาศรัทธาที่มีความเสมอกัน เป็นเครื่องมือในการทุบทำลายสังคมที่มีลักษณะชายเป็นใหญ่ ภิกษุณีชาวไทยได้เขียนคำมั่นสัญญาไว้อย่างสวยงาม เพราะว่าพวกเขาเห็นศรัทธา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของความก้าวหน้ามากกว่าความเชื่อตามประเพณี สิทธิสตรรีชาวพุทธได้หยั่งรากลึกในสังคมแล้วพอสมควร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สถานที่ในอเมริกาและยุโรป จะมีครูชาวพุทธ และผู้นำ ซึ่งแต่เป็นผู้หญิง

ภิกษุณีธัมมนันทาและพันธมิตร ทำให้ผู้นำที่เป็นผู้หญิงและภาระในพุทธศาสนาเบิกบานไปทั่วโลก นักสิทธิสตรีชาวพุทธเหล่านี้กำลังเปิดพื้นที่ให้ผู้หญิงเข้ามามีส่วนร่วม และมีความสุขกับผลไม้แห่งจิตวิญญาณและสังคมตามแนวทางแห่งพุทธศาสนา หวังไว้เป็นอย่างยิ่งว่า ถ้าพวกเขาดำเนินไปตามทางที่พวกเขาอยู่ พวกเขาจะนำความจริงในทางพุทธศาสนาที่มีลักษณะเท่าเทียมกันมากขึ้น

มาจาก

Mark Hay. Female Monks Challenge Buddhism's Misogynistic Tendencies.

http://magazine.good.is/articles/feminist-buddhism

หมายเลขบันทึก: 590841เขียนเมื่อ 6 มิถุนายน 2015 19:11 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 มิถุนายน 2015 19:11 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

Thanks for this translation. I hope it puts the spotlight on sexism in among Buddhists. I think we as enlightened Buddhists should consider the matter carefully --not on the basis of gender or any quality of which we are born with, but on what we do, say or represent --the persuit for understanding of Buddhism and Nibbaana is open to all mankind --not limited to male or female Buddhists --all means all.

I think Buddhists should turn away from many traditional worldly and egregious activities and spend more energy on practicing Buddhism as the Bhuddha taught. Let us play hosts to improving the paths (to Nibbaana) of all lives and not wasting our efforts on raising fund for grand buildings and structures. I think the best daana is for a better life (all forms) -- not for 'holy' artifacts.

Either bhikkhu or bhikkhunii can assist society members to better society!

ส่วนใหญ่ในสังคม แบบไทยๆยังจะเห็นได้ว่า..ความเสมอภาค ทางสังคม ศาสนา ยังมีเปอร์เซ็นต์สูง...(ถ้าเป็นสังคมในยุโรปสมัยกลาง คงโดนฆ่าและถูกเผาไปแล้ว..ผู้หญิงอย่าง หลวงแม่ ของเรา )ชาวพุทธวิถีที่ไม่หลงประเพณีนิยมและงมงายไปกับความเปลี่ยนแปลงในด้านลบ ของคำว่า ศาสนา ที่มีปรากฏอยู่ใน สังคมแบบไทยๆ.....ทางปรนัย..แต่นิตินัย..บ้านเรา..ก็มั่ว..กันอยู่..ทั่วไป..."ดีใจ ที่ได้บวชเรียนรู้ในสภาพ..ความเป็นหญิง"..ที่นุ่งผ้าเหลือง..ทั้งๆที่สีนั้นก็มีประวัติ ความเป็นมา..ในทางตรงข้ามที่ต้องห้ามอยู่เวลานี้...

สาธุ ธรรม...

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท