ว่าด้วยทักษะ "Critical Thinking" ในทักษะศตวรรษที่ 21 (5)




เปาโล แฟร์ ได้นำเสนอการศึกษาที่เป็นเชิงวิพากษ์ ที่เรียกว่า Ploblem Posing Education
โดยสามารถเรียนรู้ได้ทั้ง Pedagogy (การศึกษาสำหรับเด็ก)และ Andragogy (การศึกษาผู้ใหญ่)
จริง ๆ ก็คล้ายกับ PBL แต่เป็น PBL เชิงวิพากษ์ จากปัญหาที่อยู่ใกล้ตัวเรื่องของวัฒนธรรม นำเรื่อง
ที่วิพากษ์ นำมาสู่การอ่านเขียน PBL มีอยู่สองประการคือ แบบอิสระ และแบบไม่อิสระ

PBL แบบอิสระคือกระบวนการเรียนรู้ของเราในชีวิตประจำวัน การแก้ไขปัญหา สนองตอบต่อปัญหา
และการแก้ไข ส่วน PBL แบบไม่เป็นอิสระ คือ มีอะไรสั่งการอยู่เบื้องหลัง เช่นการนำเสนอปัญหา
จะต้องเป็นอย่างนี้ อย่างโน้น รูปแบบนี้ รูปแบบโน้น ดังนั้นแบบนี้จะได้แต่วิธีการแก้ไขปัญหาที่สนอง
ตอบต่อคำตอบเดิม ๆ เหมือนกับไม่ได้มีกระบวนการ PBL มีแต่การเชิดหุ่น PBL เท่านั้น

Ploblem posing Education ของเปาโล แฟร์ เชื่อมั่นว่ามนุษย์เราเสมอกัน ดังนั้นกระบวนการในการ
จัดการเรียนรู้ จึงต้องวิพากษ์แบบสุด ๆ ต่อปัญหานั้น ๆ ทำให้ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์เราเท่าเทียมกัน
และทำให้ปลดปล่อยพลังสมอง และวิธีคิดออกมา และเป็นวิธีการของเปาโล แฟร์ สอดคล้องต่อทักษะ
ศตวรรษที่ยี่สิบเอ็ด



หมายเลขบันทึก: 589960เขียนเมื่อ 9 พฤษภาคม 2015 20:46 น. ()แก้ไขเมื่อ 9 พฤษภาคม 2015 20:46 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท