ไทยติดอันดับ พยาบาลต่อประชากรค่อนข้างน้อย


กราฟ__ 8 มหาอำนาจ ด้านมีพยาบาลมาก

ด้าน "พยาบาลต่อประชากร 1,000 คน" จากสถิติธนาคารโลก ปี 2010/2553

.

กราฟ__ ประเทศที่พัฒนาแล้ว มักจะมีสัดส่วนพยาบาลต่อประชากรสูงกว่า ประเทศกำลังพัฒนา

ยกเว้น รัสเซีย เป็น ประเทศกำลังพัฒนา แต่มีสัดส่วนพยาบาลต่อประชากรสูง

.

กราฟ__ สัดส่วนพยาบาล ต่อ ประชากร 1,000 คน ปี 2010/2553

ไทยมาเป็นอันดับ 3 รองจากสิงคโปร์ + มาเลเซีย

ทว่า... อย่าเพิ่งชะล่าใจ

เพราะ สัดส่วนคนสูงอายุ + คนน้ำหนักเกิน-อ้วน อยู่ในขาขึ้น

.

ทำให้ โรคเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ไตเสื่อม ไตวาย ฯลฯ

เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ

คนทำงานยุค "เบบี้บูม" หลังสงครามโลกครั้งที่ 2

วัย 50s = 50-59 ปี กำลังทยอยกันเกษียณ คร้้งใหญ่

.

กราบเรียน เรียนเสนอ รัฐบาล + ท่านผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

โปรดพิจารณา เพิ่มการผลิต

เพราะการเตรียม "อาจารย์-อาคารสถานที่-ที่ฝึกงาน"

ใช้เวลาลงทุนอย่างน้อย 3-6 ปี

.

จึงจะเริ่มเพิ่มการผลิตได้จริงๆ

From > http://data.worldbank.org/indicator/SH.MED.NUMW.P3

หมายเลขบันทึก: 581903เขียนเมื่อ 8 ธันวาคม 2014 21:22 น. ()แก้ไขเมื่อ 8 ธันวาคม 2014 21:22 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

...จ้างพยาบาลจากประเทศฟิลิปปินส์ก็ไม่เลวนะคะ เพราะพูดภาษาอังกฤษก็ได้ไม่ต้องไปเปิดคอร์สอบรมภาษาให้ก้าวทันอาเซียน...ราคาค่าจ้างอาจจะน้อยกว่าแคนาดา อเมริกา แต่ค่าครองชีพ ถูกกว่า แถมเดินทางไม่ไกลจากบ้านเกิดเมืองนอนของเขา....ทุกวันนี้โรงเรียนต่างๆก็จ้างครูฟิลิฟปินส์สอนภาษาอังกฤษอยู่แล้ว...

There is a possible 'missing correlation' in this statistics. The cost of doctors in developing countries may be much much lower and in some ways doctors also provide the care and services that nurses do. Thus people go first to doctors rather than nurses.

But I have heard of nurses in hospitals (in Thailand) akso provide care and services that doctors should do. And many nurses are doing that excellently too!

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท