ทัศนะเชิงการหน้าที่ของการสอนภาษา A functional view of language teaching ตอนที่ 7


5. การพัฒนาทางไวยากรณ์ (Grammatical development)

    ถ้าการสื่อสารมีฐานอยู่ที่คลังคำ ผู้เรียนจะมีแรงจูงใจในการเพิ่มคลังคำนั้นจนกลายเป็นร้านแห่งคลังคำ (lexical store) แต่เราจะสามารถกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาทางไวยากรณ์ได้อย่างไร เราได้แสดงให้เห็นวแล้วว่าในตอนที่ผ่านมานั้นลำดับขั้นการสอนที่เป็นภาระงานสามารถที่จะเพิ่มความต้องการในระบบความหมายในตัวของผู้เรียน จนกระทั่งถึงการผลักดันให้ผู้เรียนไปสู่ไวยากรณ์ที่สมบูรณ์ได้

     พวกเราหวังไว้เป็นอย่างยิ่งว่าได้นำเสนอการเน้นไปที่ภาษาในการเตรียมวิธีการไปสู่การพัฒนาด้วยเช่นกัน เราได้เห็นในส่วนที่ 1 แล้วว่าไม่มีทางเป็นไปได้หรอกที่ผู้เรียนจะสามารถโต้ตอบกับสื่อการสอนใหม่ๆของครูอย่างได้ผล พูดให้ง่ายก็คือ พวกเขาไม่สามารถจะรับรู้ (acquire) ภาษาใหม่ๆได้เท่านั้น แต่ยังไม่สามารถใช้ภาษาใหม่ๆได้ในการสื่อสาร ภาระงานที่เน้นในด้านไวยากรณ์นั้นไม่สมควรที่จะให้ผู้เรียนใช้ได้อย่างภาษาที่ 1 แต่ที่ต้องสอนนั้นก็เพื่อเป็นการเตรียมตัวไว้พัฒนากันต่อไป สิ่งนี้นำเสนอว่าพวกเราควรจะวางการเน้นไปที่การสำรวจภาษามากกว่า (language exploration) เช่นการจัดกิจกรรมการตระหนักรู้ที่เป็นสติสัมปชัญญะ (consciousness raising) มากกว่าอย่างอื่น ผู้เรียนควรจะถูกกระตุ้นให้คุ้นเคยกับตัวบท (texts) ต่างๆ และให้ความสนใจแต่ตัวภาษาที่เขาสามารถพัฒนาต่อในอนาคต 

 

หนังสืออ้างอิง

Dave Willis. A functional view of language teaching1 

หมายเลขบันทึก: 560573เขียนเมื่อ 30 มกราคม 2014 17:40 น. ()แก้ไขเมื่อ 30 มกราคม 2014 17:40 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท