สรุปทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (BEHAVIORISM)


กลุ่มพฤติกรรมนิยม (BEHAVIORISM)  เป็นการศึกษาพฤติกรรมที่สามารถสังเกตภายนอกได้  และเน้นความสำคัญของสิ่งแวดล้อม 

            กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) แยกตัวมาจากกลุ่ม Functionalism แนวโน้ม ของกลุ่มนี้เห็นจะเปลี่ยน จากเรื่องจิตมาเป็นเรื่องของพฤติกรรมล้วน ๆ โดยเห็นว่าพฤติกรรมที่ปรากฏและ สามารถสังเกตได้เท่านั้นเป็นเรื่องสำคัญ ที่ควรศึกษาในจิตวิทยา

            ผู้นำของกลุ่มคือ จอห์น บี.วัตสัน (John B. Watson, 1878 - 1958) ที่มีความคิดค้านกับแนวความคิด ของกลุ่มศึกษาพฤติกรรมมนุษย์ด้วย สิ่งที่สังเกตและมองเห็นได้ นั่นก็คือ พฤติกรรมหลักของกลุ่มนี้ คือ พฤติกรรมเกิดขึ้นจากความสัมพันธ์ของสิ่งเร้าและการตอบสนอง การศึกษาสิ่งเร้า และการตอบ สนองจะช่วยให้เข้าใจพฤติกรรมได้

 ทฤษฎีและนักจิตวิทยาในกลุ่มพฤติกรรมนิยม ได้แก่

                  1.1  ทฤษฎีการเรียนรู้แบบการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคที่เกิดขึ้นกับมนุษย์ของจอห์น.บี.วัตสัน (John B Watson คศ.1878 – 1958)

                  1.2  ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก (Classical Conditioning Theory) หรือ แบบสิ่งเร้าของ อีวาน พาฟลอฟ (Ivan Pavlov, 1849–1936) นักสรีรวิทยาชาวรัสเซีย

                  1.3  ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)  ของ เบอร์รัส สกินเนอร์ (Burrhus Skinner)

                  1.4  ทฤษฎีการเรียนรู้แบบต่อเนื่องของ เอ็ดเวิร์ด  แอล. ธรอนไดค์

                  1.5  ทฤษฎีการเรียนรู้ของ โรเบิร์ต  เอ็ม  กาเย่ (Robert M. Gagne)

                  1.6  ทฤษฎีการเรียนรู้ของเจอโรม  บรูเนอร์

                  1.7    ทฤษฎีการเรียนรู้ของชาร์ค  แอล. ฮัลล์

หมายเลขบันทึก: 556609เขียนเมื่อ 16 ธันวาคม 2013 23:28 น. ()แก้ไขเมื่อ 16 ธันวาคม 2013 23:28 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท