บทสาขาที่ 5.1 เรื่อง จุดกำเนิดส่วนดนตรีแห่งโลกมุสลิมเข้าสู่สมัยต้นรัตนโกสินทร์ (2)


ผู้ดำเนินการขอกลับไปสืบค้นอีกครั้ง แถบคาบสมุทร Balkans

หนังสือปรัชญา Greek บ่อเกิดภูมิปัญญาตะวันตกของพระธรรมโกษาจารย์ ศาสตราจารย์พระธรรมจิตโต ในบทที่ 2 ประวัติศาสตร์และศาสนา Greek หน้าที่ 23 ลำดับเหตุการณ์ว่า ก่อน ค. ศ .1850 -   1600 ชนชาวGreek – Sumerian แห่งเผ่า Indo – European 2 ชนเผ่าคือเผ่า Ionian และชนเผ่า Akian – Aonian อพยบเข้าไปตั้งหลักแหล่งอยู่ใน Land of Hellas อย่างสันติกับคนพื้นเมือง

ข้อมูลที่ได้รับมานี้ เมื่อคาดคะเนเปรียบเทียบกับวัฒนธรรมดนตรีในการลำดับเหตุการณ์จากภาษาความมีเป็นอยู่ สำเนียงเสียงภาษาจากการใช้เสียง ต่อสิ่งแวดล้อมในสังคมต่อสังคม สำเนียงย่อมออกไปทาง Indo + European เป็นเกณฑ์วัด สามารถวัดเสียงจาก Mode ที่ 1 ใช้ในปัจจุบันได้

ตามนัยประวัติชนเผ่า Acian – Aonian เป็นชนเผ่าเร่ร่อนไม่เป็นที่ ไม่ชอบการเกษตร อาศัยแบ่งปันอยู่กลับกลุ่มชน Ionian และเผ่าชนพื้นบ้านเพื่อการดำรงชีวิตและหรืออาจไม่มีพื้นที่ทำกิน

ก่อน ค.ศ. 1200 – 1100 Acian – Greek – Aonian ถูกรุกรานจากเผ่าชน Dorian จนต้องลี้ภัยไปอยู่ที่ Athens and Asia Minor คำว่าเอเชียไมเนอร์ วัดวัฒนธรรมสำเนียงภาษาจาก Mode ที่ 2 ที่กำลังใช้อยู่ในปัจจุบัน เป็นแถบแหล่งพื้นที่ตะวันออกกลางประมาณ 6 ประเทศแต่ไม่เข้าไปใน Egypt

ในการนี้เพื่อจะนำ Mode 1 Ionian / Mode 2 Dorian / Mode 3 Aonian วงจรวัฒนธรรมเสียงดนตรีสำเนียง Indo – European เข้าผสมผสานกับวงจรวัฒนธรรมเสียงดนตรีสำเนียงไทยภาคกลางต้นรัตนโกสินทร์โดยใช้ร่วมรวมกันดังนี้

 

ระดับบันไดเสียงที่ใช้กับวงจรวัฒนธรรมเสียงดนตรี

สำเนียงเสียงไทยภาคกลางมี 7 ระดับบันไดเสียง(โดยผู้ดำเนินการเป็นผู้ตั้งบางชื่อ) ดังมี

  1. ระดับบันไดเสียง เพียงออ โดยเริ่มจากเสียง Do – Do สูง จัดเป็น Center ในการคำนวณ
  2. ระดับบันไดเสียง เพียงออบน โดยเริ่มจาก Re – Re สูง
  3. ระดับบันไดเสียง รองหลิบ โดยเริ่มจากเสียง Me –Me สูง
  4. ระดับบันไดเสียง หลิบ  โดยเริ่มจากเสียง Fa – Fa สูง
  5. ระดับบันไดเสียง ลุ่ม โดยเริ่มจากเสียง Sol – Sol สูง
  6. ระดับบันไดเสียง รองลุ่ม โดยเริ่มจากเสียง La – La สูง
  7. ระดับบันไดเสียง เพียงออล่าง โดยเริ่มจาก Ti – Ti สูง

วงจรวัฒนธรรมเสียงดนตรีสำเนียงไทยภาคกลางที่กล่าวนี้ผู้ดำเนินการต้องการทำเป็นรูปทฤษฎี จึงจัดไว้เพื่อการเดินทางร่วมกับวงจรวัฒนธรรมเสียงดนตรีไทยมุสลิมสำเนียงปฏิภาคสากลกล่าวร่วมกับภาษเดียวด้วยกัน ส่วนเพลงที่จะใช้บรรเลงเล่นให้ใช้แนวเพลงระบบเพลงเถา เพลงสร้อย เพลงโหมโรง และเพลงทยอย อาจถึงเพลงเดี่ยวในวงจรวัฒนธรรมเสียงดนตรีไทยมุสลิมโดยประพันธ์ขึ้นใหม่

เพียงแค่ความคิดเห็น

  1. ใช้เครื่องดนตรีไทยภาคกลางวางฐานเสียงเป็นสำเนียงไทยมุสลิมเช่น ซอด้วง ซออู้ ขลุ่ย จะเข้ ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวงเล็ก อาจมีเครื่อดนตรีอื่นๆที่ปรับเข้ากันได้ ส่วนเครื่องประกอบจังหวะมี กลองแขกคู่ กลอง – ลำตัดมาลายู โทนรำมะนาชุด
  2. สถานที่ฝึกซ้อมหรือการอยู่ประจำขึ้นอยู่กับผู้ที่ตัดสินใจ

วัตถุประสงค์

  1. เพื่อให้เกิดสิ่งนี้ประยุกต์ขึ้นมาใหม่
  2. เพื่อให้เกิดวัฒนธรรมดนตรีไทยภาคกลางสำเนียงไทยมุสลิม
  3. เพื่อให้เกิดวัฒนธรรมดนตรีส่วนหนึ่งจากแหล่งต้นกำเนิดมาดำรงรักษาไว้ด้วยวิธีการคาดคะเนจากผู้ดำเนินการ
  4. เพื่อให้เกิดการประยุกต์แบบผสมผสานกับวัฒนธรรมดนตรีแนวสำเนียงไทยมุสลิม
  5. เพื่อเป็นแบบแนวอย่างวัฒนธรรมไทยมุสลิมกระจายออกสู่วัฒนธรรมดนตรีโลกเพราะเป็น OTOP วัฒนธรรมดนตรีไทยมุสลิม

สิ่งที่คาดหวัง

  1. มีสิทธิทางปัญญาของประเทศไทยอย่างถูกต้องตามกฎหมาย
  2. สมควรมีสถานที่เผยแพร่และรักษาวัฒนธรรมดนตรีไทยมุสลิมทางปัญญาในแขนงนี้ไว้
  3. ผู้ดำเนินการมีความหวังว่าจะได้เห็นความสำเร็จ
  4. ไม่คาดหวังอะไรเมื่อโดยหลักการนี้นำสู่แนวรัฐศาสตร์วัฒนธรรม

นำสิ่งที่อ้างอิงมาประยุกต์

Suppose from Internet Google. Come and true move

Philosophy Greek book by พระธรรมโกษาจารย์(ศาสตราจารย์ประยูร ธรรมะจิตโต)

ประสบการณ์ความรู้เชิงดนตรีส่วนตัวของผู้ดำเนินการ

ปล.ขอให้คุณGOTOKNOW เป็นผู้ตัดสินใจว่าจะคงไว้เพื่อผู้มาสืบสานต่อเมื่อมีความเห็นว่าสมควร ในทางตรงกันข้ามถ้ามี.. กระผมอนุญาตให้ตัดสินใจ

คำสำคัญ (Tags): #รายงานการดนตรี
หมายเลขบันทึก: 552905เขียนเมื่อ 8 พฤศจิกายน 2013 15:43 น. ()แก้ไขเมื่อ 14 เมษายน 2014 12:20 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (5)

วลีว่า “ มุสลิม” คือ อะไร

มุสลิม คือ มนุษย์ผู้จำนนต่อ ปรัชญาของผู้สร้างมนุษย์ ดำเนินชีวิตตามตำราที่ผู้สร้างมนุษย์มอบไว้ให้เป็นจีรังไม่เคยเปลี่ยนแปลง

และในคู่มือมนุษย์นั้น มีคำแนะนำเรื่องดนตรีไว้อย่างชัดแจ้ง โดยที่ไม่ต้องเชื่อ ตำราที่มนุษย์หน้าไหนแต่งขึ้นมาเลย

ลองเปิดกว้าง ไปหาอ่านก่อนจะ เชื่อ ตำรา จากผู้ที่สวมบทบาท มหาบุรุษไม่ว่าทางใดก็ทางหนึ่ง ขายบริการในความเชื่อ เคารพ กราบไหว้

ขอให้ทุกท่านหลุดพ้นจากสภาวะ การเป็นทาสเป็นนายต่อกัน ในการแสวงหา ธรรมมะ

เป็นความรู้ใหม่ในเรื่อง ประวัติ ความเป็น เรื่องดนตรี สำหรับ หมอเปิ้นเลยนะคะ ขอบคุณท่านอาจารย์ มากๆ ค่ะ

ทุกสิ่งประกอบด้วย นาม รูป. คุณค่า. และ เวลาที่เหมาะสม

การที่นาม(วลี)ใดใด ผัสสะมนุษย์ แม้จะยังไม่พบตัวตน มนุษย์ก็สามารถเข้าถึงคุณค่าได้ในหลายมิติที่เป็นทางการ คือ 1.วัตถุประสงค์ 2. เข้าที่ตัวชี้วัด พยานและหลักฐาน 3. เข้าด้วยการวางแผนและดำเนินการ 4. เข้าได้ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูล(วิมังสะ) 5. เข้าได้ด้วยการวิเคราะห์ข้อมูล(ปัญญา)

และมิติที่ไม่เป็นทางการคือ 1. ความเชื่อ 2. วรรณกรรม 3. พิธีกรรมตกทอด 4. ความเชื่อ 5. ความกลัว 6. ภาวะจำยอมไม่มีทางเลือก 7. ภาวะการเป็นทาสเป็นนายต่อกัน 8. มายาคติ และ9.กระแส

จะพบว่า คนไทยส่วนใหญ่ แม้แต่ครูบาอาจารย์ ก็มักจะเข้าถึงคุณค่าของวลีต่างๆ แบบ ไม่เป็นทางการมากมายล้นประเทศ

จงอย่าประณีประนอมต่อความสามารถตนเองไปก่อน ว่า เราไม่สามารถทำได้ ลองเข้าถึงอย่างเป็นทางการก่อนอย่าเพิ่งเชื่อ เพื่อลูกหลานไทยจะได้ไม่แหวกว่ายในบ่อของความเชื่อ ตำรา พิธีกรรม วรรณกรรมที่ล่อลวง และกระแสที่มีผู้ปั่นอยู่เบื้องหลัง

นั่นคือ การรู้เท่าทัน ทั้งตนเอง และรอบด้าน

มุสลิม คือ มนุษย์ และ วิญญาณ ผู้จำนนในปรัชญา สันติธรรม ที่ผู้สร้างมนุษย์ให่ไว้เป็นสรณะ ต่อมวลมนุษยชาติ

แล้วดนตรี จำนนต่อ ปรัชญานั้นไหมล่ะ ถ้าดนตรีจำนนต่อปรัชญานั้นได้ ดนตรีก็เป็น มุสลิม

ดนตรีมีชีวิต มีวิญญาณมั้ยล่ะ ถ้ามี ก็มีโอกาส. แล้วใครมีวิญญาณก็มีโอกาสเช่นกัน

ขอให่เข้าถึงความรู้แห่งปรัชญาสันติธรรม ก่อนท่านพบ มุสลิมเถิด แล้วท่านจะไม่ดับไปอย่างขาดทุนในโลกุตระนี้

ขอบคุณอาจารย์หมอเปิ้ลมากครับที่รู้การกระทำของกระผม

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท