0.2 Music Man มนุษย์ดนตรี (3)


C.1 Music Psychology จิตวิทยาดนตรี  

ฯ ล ฯ ข้อมูลเพิ่มเติม............................................................................. 

   

1.1 External Music Behavior (EMB) พฤติกรรมดนตรีภายนอก

 พฤติกรรมดนตรีภายนอกของดนตรี หมายถึงเพลงสร้างสำเร็จมาแล้ว ได้มีองค์ประกอบเพลงร่วมรูป สำเร็จมาแล้วลงในโสตทัศนวัศดุ ถ้าเป็น CD นั้นๆ เมื่อเปิดฟัง

 

Playsong ได้เปล่งสำแดง Express ย่อมประจักษ์ยามสัมผัสในรูปเพลงทางเสียง จิตวิทยาดนตรี Music Psychology เรียกสิ่งนั้นว่า พฤติกรรมดนตรีภายนอก External Music Behavior (EMB) และดนตรีกำลังสำแดงฤทธ์บรรเลงอยู่บนเวที หรือกำลังร้องบรรเลงเล่นก็เช่นกัน เพราะเป็นเป้าประสงค์ Objective ของผู้ประสงค์ Subjective ทั้งนี้ยังไม่ได้กล่าวถึงเครื่องเล่นแผ่นเสียง Phonograph เพื่อเปิด CD กับคนเล่นดนตรี  Play musical man ขณะบรรเลง  

 

 

 

1.1.1 Musicexpress song การแสดงดนตรีเพลง      

มีพฤติกรรมจากสิ่งหนึ่ง ทำเสียงดนตรี - เพลงให้เกิดขึ้น  คือ สิ่งที่มนุษย์ผลิตขึ้นมาบังคับใช้กับโสตทัศนวัสดุ และบังคับดำเนินการเรียงร้อยระบบ กับระดับการเรียงเสียงเชิงดนตรีคือผู้ที่ “เป็น” ดนตรีนั่นเอง เครื่องเล่นแผ่นเสียง Phonograph สามารถเป็นตัวแปรแทนการปิดเปิด CD ได้จากการบังคับของมนุษย์ (เดี๋ยวนี้ใช้ปรับผ่านเกนณ์เปลี่ยนเสียงเป็นอื่นได้แล้ว) เช่นเดียวกับนักดนตรี ใช้เครื่องดนตรีเป็นตัวแปรแทนเสียงดนตรีทางภาษา และเสียงทางความคิดได้ สำหรับตัวแปรต้น คือปัจเจกบุคคลดนตรีนั่นเอง ที่สามารถแปรไปเล่นเครื่องประกอบจังหวะได้

 

1.2 Internal music behavior (IMB) พฤติกรรมดนตรีภายใน

ความรู้ทางดนตรี Music knowledge เป็นปัจจัยพฤติกรรมดนตรีสถิต Musical presence และได้รับการเชื่อมต่อมาแล้วจากสิ่งแวดล้อมภายนอก แปลเข้ามาทางโสตทัศนะ รูปลักษณะข้อมูลแหล่งประสบการณ์นี้ มีคลังปัญญาเก็บรักษาไว้ในหน้าที่บรรณรักษ์ Library ประกอบด้วยข้อเท็จจริงของสุนทรียะดนตรี ตามความคิดอย่างมีเหตุผลส่วนตัว Personal reasons โดยหลักการแล้ว เป็นเหตุทำให้เกิดการพิจารณาอย่างประณีตบรรจง ทำนอง เพลงในความคิดระยะที่เวียนวน ยังคุกรุ่นในแหล่งทัศนคติญาณอยู่อย่างต่อเนื่องนั้น สำรวจการดำเนินทำนอง Melodies อย่างเดินหน้าถอยหลังได้ด้วยวิธีเปิดพื้นที่การจำได้หมายรู้ เกิดสิ่งล่อใจจากประกายข้อมูล Spark data และลืมในระยะสั้น อย่างเช่นคนทำงานอาบเหงื่อต่างน้ำ เมื่อเหนื่อยหนักก็ร้องทำนองเพลงงระบายทำนองอะไรออกมา หรือร้องเพลงนั้นไม่จบ เพราะจำมาแค่นั้น แต่ความจริงแล้วไม่ได้จำ เพียงผ่านแว่ว ถือเป็นพฤติกรรมสร้างเพลงรับประมวล combine ไว้ภายใน แล้วสำแดงออก คนที่ได้ยินได้รับ ถือเป็นพฤติกรรมภายนอกสืบต่อไป สำหรับดนตรีและเพลงแล้ว ย่อมยึดหลักข้อเท็จจริงของสุนทรีย์บรรเลง ตามความคิดอย่างมีเหตุผลส่วนตัวเช่นกัน

 

D. Mood songดอกไม้ในไวยกรณ์เพลง

อารมณ์ที่รับมาได้จากผลเพลงสำเร็จรูป ด้วยกรณีใดก็ดี ความคิดเชิงนามธรรม Abstract notionได้ตัดสินโดยรวมให้แล้วว่า ถูกใจ โดนใจ ในเพลงนั้น ตอบรับด้วยการให้ดอกไม้ในไวยกรณ์เพลงเป็นรางวัล

 

พฤติกรรมดนตรีมนุษย์นิยม Music Behavior Humanisim (MBH) เรื่องคุณสมบัติ

การเป็นมนุษย์ดนตรี หมายถึงนักดนตรี นั้นคือผู้ใช้เครื่องมือดนตรี ปฏิบัตให้เกิดเป็นเสียงเพลงขึ้นตามความถนัดของแต่ละคน มีศิลปงดงามต่อการประดิษฐ์เสียงให้มีความดีความเพราะ ย่อมมีคุณสมบัติการเป็นคนดนตรี และคุณสมบัติ หมายถึงนามลักษณะที่มีคุณ ให้คุณ แต่มิได้ให้โทษ ในกรณีได้นำมาใช้กับดนครี เพราะดนตรี อยู่ในเฉดของการบันเทิงเริงอารมณ์อยู่แล้ว การดำเนินนั้น ได้นำความคิดของ Carl Rogersผู้มองโลกในด้านดีของกลุ่มจิตมนุษย์นิยม Psychology Human Stuctunalism (PHS) มาผสมกับดนตรีศาสตร์ Contempolary Music Humanism (CMH) เพื่อหาข้อคิดจาก Carl Rogers ว่ามีความคิดในเชิงร่วมกับดนตรีอย่างไร ตามข้อกำหนด 12 ประการ คือ

 

  1.       เป็นผู้เปิดเผยความชอบและไม่ชอบต่อทัศนคติรูปแนวเพลง My style

ดนตรี My style เกิดจากสิ่งแวดล้อมที่รับได้ ใว้เพื่อการประยุกต์ เข้ากับความถนัด ทำหน้าที่รองรับแล้วนำฝึกฝนพัฒนาตน Self Music Deverlopment (SMD) จนถนัดชำนาญด้านทักษะ ซึ่งมีแนวคิดเชิงทฤษฎีชี้นำจนเกิดฝีมือประจักษ์ผล นำใช้อย่างต่อเนื่อง อาจได้แบบอย่างมาจากดาราคนโปรด หรือจากครูผู้สอน คนใกล้ตัวและครูพักลักจำ แล้วนำสังเคราะห์เกิดเป็นดนตรีแนวของฉัน พัฒนาจนถึงระดับผู้นำแห่งนักดนตรีตัวอย่างThe great music man นั่นคือจุดยืนของการประกาศตัวตนว่าเป็นคนดนตรีแบบนี้ แนวนี้ ถนัดพัฒนาดนตรีทางนี้

 

  1.       ปราถนาที่จะมีรูปแบบเพลงของตัวเอง My song

จากนั้นแล้วย่อมต้องมีผลงานให้กับตัวเอง ด้วยการศึกษาหาความรู้จากดนตรีและแนวเพลงบางส่วนที่ตนชอบ โดยกำหนดผู้เรียนคือเราเป็นสำคัญ เริ่มจากการลอกแบบที่ไม่ยากจนเกินไป นั่นคือตัวเลียนแบบ เพราะธรรมชาติของมนุษย์แรกนั้นช่วยตัวเองไม่ได้ ต้องนำเข้าจากบริบทดนตรี และโสตทัศนวัสดุ ย่อมเป็นสิ่งนั้นด้วย การเรียนโดยผู้เรียนเป็นสำคัญนั้นดีตรงที่ว่า ใช้ความชอบค้นหาในสิ่งที่ต้องการศึกษาอย่างตามใจ นำมาเชื่อมต่อกับควาถนัดในตน จนเกิดสัมฤทธิ์ผลพัฒนาสูงสุดเพียงแค่ศักยภาพ Potental ที่ตนมี เพราะใช้ตัวเองเป็นที่ตั้ง ย่อมหมายถึงเต็มที่ของตนแล้ว สำหรับก้าวต่อไปหรือผู้ที่มีความรู้มากกว่า เสริมให้ ย่อมไม่ถนัดที่จะรับ ควรปรับตนและเปิดกว้างรับการเสริมให้ อย่างมีศัทธาต่อสิ่งได้มานั้นด้วยความดี เพื่อความเป็นไปได้ในศักยภาพเพิ่ม ให้ตนมีต่อไป ดังคำกล่าวไว้ว่า อย่าละเลยสิ่งที่ได้มา เพราะคุณค่านั้นเกิดจากความต้องการ

 

  1.       รู้จักนำ Teachnology sound เข้าร่วมเพื่อต้องการเพลงแนวใหม่

เสียงสังเคราะห์ Soundsynthesisเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับเสียงเพลงแนวนวตกรรม Song ofinnovation sound เพลงแห่งเสียงนวตกรรมนี้ จัดอยู่ในประเภทเพลงล้ำหน้าพัฒนาการไกลสูงทางงจินตนาการแนวเพลงประเภทไม่มีใครตามทัน ถ้าตามทันย่อมจัดอยู่ในเฉดเดียวกัน ในกรณีเจตนาที่จะให้ Teachnologyนำหน้าก็ต้องยอมให้ Teachnology เป็นผู้บังคับบัญชา ทึ่งและสรรเสริญศักยภาพของมันในระบบเสียงสังเคราะห์ ย่อมคิดว่าได้สี่งเสียงนวตกรรมนำใช้ เมื่อตกรุ่นแล้วก็ต้องหารุ่นใหม่ทดแทนถ้ามีทุนมากพอปัญหานี้ย่อมหมดไป ในกรณีเดียวกัน ยอมลดความคิดนั้นนำมาใช้กับการดำรงค์ชีวิตประจำวันได้ Teachnology จำต้องเป็นเครื่องมือรับใช้มนุษย์ ดนตรี จะสร้างแนวเพลงใหม่อย่างชนิดไม่ไกลเกินเอื้อม ให้กับสังคมมนุษย์รับบริการบันเทิง ในการดำรงค์ชีวิตประจำวันต่อไป

 

  1.       ปราถนาที่จะเป็นนักกวีนิพนธ์ดนตรี Themusical poet man ต้องได้ดังนี้

            4.1 อ่านโน้ตสากลเป็นรวมระยะเวลา 2 ปี โดยเรียนร่วมกับการศึกษาในระบบและเรียนพิเศษนอกระบบ พร้อมกับปฏิบัติด้วยเครื่องมือดนตรี โดยหลักการแล้วต้องเริ่มจากปถมปีที่ 4

4.2 รู้จักอ่านโน้ตสองแนว คือโน้ตแนวกุญแจ ซอล กับโน้ตแนวกุญแจ ฟา และอ่านโน้ตส่วนซับซ้อน Complexnotation ไต่ระดันชึ้น

4.3 รู้จักโน้ตคั่นคู่โน้ตต่างๆในเสกลเดียว

4.4 ระดับปริญญาตรี ต้องรู้ทฤษฎีเบื้องต้น First theory music และประวัติการนำโน้ตมาใช้ Rudiment Music Note และโน้ตคั่นคู่โน้ตต่างเสกล

4.5 ปริญญาโท ต้องรู้จักประโยคการสร้างทำนองเพลง Create a melody และโน้ตคั่นคู่โน้ตต่างเสกลกับการเรียบเรียงเสียงประสาน

4.6 ปริญาเอก ต้องรู้จักการประพันธ์เพลง สร้างบท เข้าสู่บทจินตมโนนาฎ Dramatic conceptual imagination และเข้าหาวงจรสรีระดนตรี Cycle MusIc Approaches

 

ภาคพิเศษด้วยจิตปรัชญาดนตรีจินตมโนนาฏคำนวน  Dramatic conceptual of the imagination

 

ความคิดเห็นของRogers นักจิตวิทยาที่มีท่าทีกับดนตรีโดยผู้ดำเนินการนำความคิดของท่านมาแปลงสภาพ

 

5. ปราถนาที่จะมีวงดนตรีและห้องบันทึกเสียงของตนเอง Studio musical room

      6. พร้อมที่จะอนุรักษ์และพัฒนาแนวเพลงของตนเองเพื่อการดำรงในอาชีพ

  1.       เอื้ออาทรต่ออาชีพดนตรีด้วยกัน
  2.       ใกล้ชิดกับความเป็นธรรมชาติ
  3.       ไม่เห็นด้วยกับการมีสัมปทาน
  4.       มีความมั่นใจในฝีมือตนเองด้วยการพัฒนา
  5.       สนใจด้านวัตถุนิยมกับจิตนิยมทางดนตรีเท่าเทียมกันอย่างพอเพียง

12.ใช้ดนตรีสร้างสรรทางจิต

 

ข้อมูลเพิ่ม..........................

หมายเลขบันทึก: 552069เขียนเมื่อ 30 ตุลาคม 2013 10:17 น. ()แก้ไขเมื่อ 30 ตุลาคม 2013 10:17 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

ใช้ดนตรีสร้างสรรทางจิต.... เป็นสิ่งงดงาม จริงๆค่ะ

ขอบคุณความรู้ดีๆ นะคะ 

ดิฉันชอบฟังเพลงมากๆ ค่ะ 

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท