ประโยชน์ของสมาธิ 9 ประการ


ิ้bhuddhasamathiประโยชนที่ได้จากการฝีกสมาธิในสุขภาพจิตและการพัฒนาบุคลิกภาพ

การทําสมาธิตามหลักศาสนาพุทธ สามารถนำมาประยุกตใชให้เกิดคุณคาตอชีวิตมาก เพราะทําตนใหเปน ผูประเสริฐขึ้น ดังนั้นผูฝกสมาธิไดถูกตองแมเพียงขั้นต้นของสมาธิ ก็ยอมไดรับอานิสงสหรือประโยชนอยางใดอยางหนึ่ง หรือหลายอยาง ซึ่งพอจําแนกได ๙ ประการ คือ

๑. ทําจิตใหสงบมากขึ้น เชน นักเรียนนั่งอานหนังสือ จําตองใชสมาธิเพื่อใหอานไดเขาใจและจําไดแมน หรืออีก ตัวอยางหนึ่ง ถาขับรถยนตโดยขาดสมาธิอาจเกิดอุบัติเหตุได ถาบุคคลมีสมาธิทําใหปฏิบัติงานในชีวิตประจําวันไดปกติไมผิดพลาด เพราะมีสติสมบูรณขึ้น

๒. ทําสิ่งตาง ๆ ไดมากขึ้นและไดผลดีอยางมีประสิทธิภาพ ตัวอยาง เชนพนักงานที่ไดรับการอบรมจากการฝกสมาธิแลว  ยอมรักสถานที่ทํางาน ขยันทํางาน ทําใหสํานักงานมีประสิทธิภาพ มีผลกําไร จากการดําเนินงาน พนักงานไมตองเปลี่ยนงานหรือตกงานอันเนื่องมาจากสํานักงานขาดทุน จนตองปดกิจการในที่สุด

๓. สามารถศึกษาเลาเรียนไดดีหรือผลการเรียนอยูในเกณฑดี มีความจําดีแมนยําและดีขึ้น

๔. ทําใหโรคภัยบางชนิดหายไปไดการฝกนั่งสมาธิบอย ๆ เปนการบําบัดรักษาไดอีกวิธีหนึ่งดวย

๕. ทําใหคนมีอารมณเยือกเย็น มีความสุขุม ผิวพรรณผองใสและมีอายุยืนตัวอยางเชน บางคนเปนคนใจรอน ขาดเหตุผล หลังจากไดรับการฝกสมาธิใหนั่งสมาธิแลวกลายเปนคนมีอารมณเยือกเย็น สุขุม รอบคอบ มีเหตุมีผล คิดพิจารณาไตรตรองกอนจะกระทําสิ่งใด ๆ ความชราภาพยอมปรากฎอยางชา ๆ เปนไปตามธรรมชาติ ทําใหผิวพรรณผองใสหรือมีความเปนผูออนกวาวัย อันเนื่องมาจากความไมกังวลในสิ่งใด ๆ ไมแกกอนวัย กลาวคือผิวหนังเหี่ยวยน เปนฝา ตกกระเหมือนบางคนที่ชอบวิตกกังวลอยูตลอดเวลา เปนตน

๖. สามารถจะเผชิญตอเหตุการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้นเฉพาะหนาไดอยางสุขุมรอบคอบ สามารถแกไขความยุงยากวุนวายในชีวิตไดอยางถูกวิธี ภายหลังจากการไดรับการฝกสมาธิ ยอมเขาใจสภาพตาง ๆ ที่เกิดขึ้นวาเปนสิ่งที่ไมเที่ยงหรือเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา เปนทุกขอันทนไดยากและไมมีตัวตน ทําใหเปนตามความเปนจริงวาสิ่งตาง ๆ ยอมเกิดขึ้นไดตลอดเวลา เมื่อเกิดขึ้นแลว ยอมตั้งอยูและดับไปในที่สุด ทําใหผูนั้น พรอมที่จะเผชิญตอสิ่งตางๆเหลานั้น ทุกโอกาส ทุกสถานที่ ตลอดจนถึงสามารถใหความสุขุมรอบคอบแกไขสถานการณตางๆ ไดอยางถูกวิธี เปนตน

๗. สามารถกําจัดนิวรณ ๕  ธรรมที่เปนอุปสรรค ที่รบกวนจิตลงได หรืออยางนอยก็ทําใหเบาบางลงได บุคคลมีกิเลสนอนเนื่องอยูในสันดาน เปนเหมือนกับตะกอนที่อยูกนตุมน้ำ เมื่อถูกกวนใหขุน ตะกอนเหลานั้นจะลอยตัวขี้นมาเปนน้ำขุน นิวรณ ก็เหมือนกัน สงบนิ่งอยูในจิตใจของมนุษย เมื่อถูกกระตุนยอมเกิดขึ้น ตัวอยางเชน เมื่อกามฉันทะถูกกระตุน ทําใหรักใครชอบใจในรูปสวย เสียงเพราะ รสอรอย กลิ่นหอม สัมผัสที่นุมนวล เปนตน เมื่อบุคคลไดรับการอบรมและฝกสมาธิ  แลว ยอมเห็นตามความเปนจริงวา สิ่งตาง ๆ เหลานั้นไมเที่ยงหรือเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เปนทุกขและเปนอนัตตา ไมควรเขาไปยึดมั่นในสิ่งเหลานั้น กลาวคือ ไมควรหลงใหลในรูปสวย เสียงเพราะ รสอรอย กลิ่นหอม สัมผัสที่นุมนวล เปนตน นิวรณ๕  ยอมเบาบางลงได

๘. ถาทําดีไดถึงขั้นฌาน ก็ยอมเสวยความสุขอันเลิศยิ่ง และอาจสามารถแสดงฤทธิ์หรืออภิญญาไดตาง ๆ กลาวคือ ผูฝก สมาธิจนบรรลุรูปฌานตาง ๆ มี ปฐมฌาน ทุติยฌานตติยฌาน จตุตถฌาน หรือ อรูปฌาน มี อากาสานัญจายตนฌาน อากิญจัญญายตนฌาน วิญญาณัญจายตนฌาน และเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน ดังนี้ หรืออาจไดฤทธิ์หรืออภิญญาตาง ๆ เชน ทายใจผูอื่นได มีหูทิพย ตาทิพย เปนตน

๙. ทําใหเปนพื้นฐาน เพื่อกาวขึ้นสู การเจริญวิปสสนากัมมัฏฐาน ตอไป ซึ่งเปนจุดมุงหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนา ผลดังกลาวมา ขางตน ผูปฏิบัติสามารถพิสูจน หรือสัมผัสไดดวยตัวเองในชาติปจจุบัน ความจริงมนุษย มีปญญา มีความสามารถสูงกวาที่คิด ถาสามารถทําจิตใหเปนสมาธิได เขายอมเห็นความมหัศจรรยแหงจิตของเขาเอง กระแสของจิตมีกําลังแรงเปรียบเหมือนดวงไฟที่รวมแสงแลว ยอมใหแสงสวางไดมากกวาดวงไฟที่พราไปทุกทิศทาง

(ปุย แสงฉาย, มิลินทปญหา ฉบับพรอมดวยอรรถกถา ฏีกา, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพลูก ส. ธรรมภักดี, ๒๕๓๐), หนา ๕๕. ๑๕๒)

คำสำคัญ (Tags): #พุทธสมาธิ
หมายเลขบันทึก: 543372เขียนเมื่อ 23 กรกฎาคม 2013 13:12 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 กรกฎาคม 2013 13:15 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

ท่าพุทธสมาธิ เป็นท่าครู ที่สำคัญยิ่ง..พบได้จากภาพบันทึกในแถบอุตตรประเทศอายุนานนับพันกว่าปีมาแล้ว..พระพุทธรูปที่สำคัญ เช่น พระแก้วมรกต หินสลักอายุพันปีในวัดเก่าแก่ต่างๆ..และภาพบรมครูซึ่งเป็นพระอริยสงฆ์หลายรูป ถือเป็นแบบแผนของการนั่งสมาธิที่ถูกต้อง ขณะกำหนดลมหายใจเข้าออก(พุทโธ..พองยุบ)โดยกำหนดจุดสัมผัส 3 จุด..ครับ

 

การนั่งสมาธิที่ผมได้ปฏิบัติแล้ว มีขั้นตอนจากการศึกษาจากพระอาจารย์ที่พอสรุปได้ดังนี้ ครับ..1.ท่าพุทธสมาธิ ถือเป็นท่าบรมครู..2.ประกอบด้วยการหายใจ พอง ยุบ..3.การภาวนา พุท-โธ..4.กำหนดจิตโดยอาศัยจุดสัมผัส 3 จุด..นะครับ..5.อารมณ์รู้สึกอะไร อย่างไร ให้ภาวนาอย่างนั้น 6.ต้องปล่อยวางทุกความคิด ทุกอารมณ์ด้วยความตั้งใจมั่นและเข้าใจในความทุกข์ ความไม่เที่ยงและความไม่มีอัตตา (จึงจะเข้าสู่ความสงบ..เป็นความสงบที่ไม่ตั้งใจ).. จุดสัมผัสของจิตอาศัยลมหายใจเข้าออกไปสัมผัส 1.ลมที่ปลายจมูก 2.ปลายลิ้นที่แตะเพดานปาก 3.จุดภายในท้องตรงบริเวณเดียวกันกับหัวแม่มือแตะกัน..ลำตัวตั้งตรง แขนตรงสบายๆ หน้าก้มเล็กน้อย และยิ้มแบบพรหม..ครับผม..ก้าวหน้าอย่างไร?ขอให้แจ้งให้ทราบด้วยนะครับ..สัพเพ สัตตา สุขี โหนตุ..

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท