มุมมองประเทศไทยในสายตาของ ดร.อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา




          ดร. อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา (6 พฤศจิกายนพ.ศ. 2483 - ) เป็นวิศวกรชาวไทยผู้เคยเป็นลูกทีมจำลองแบบชิ้นส่วนระบบลงจอดของยานอวกาศในบริษัทคู่สัญญาของมาร์ติน มาเรียทต้า (ปัจจุบันได้รวมกลายเป็นบริษัทล็อกฮีด มาร์ติน) ซึ่งเป็นผู้สร้างยานอวกาศไวกิ้งให้กับองค์การนาซาของสหรัฐอเมริกาเพื่อนำไปใช้ในภารกิจสำรวจดาวอังคาร[1]

          ดร.อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา มีชื่อเล่นว่า "เอ๊ะ" เกิดที่วชิรพยาบาล เป็นบุตรของหม่อมหลวงมานิจ ชุมสายกับเฉลิมขวัญ ชุมสาย ณ อยุธยา (ธิดาพระปทุมเทวาภิบาล เจ้าเมืองหนองคาย[2] มีพี่น้องร่วมบิดามารดา คือ

          เมื่อแรกเกิด อาจอง มีชื่อว่า องอาจ เป็นนามพระราชทานจากสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)[2] เมื่อโตขึ้นจึงเปลี่ยนชื่อเป็น อาจอง ศึกษาชั้นต้นที่โรงเรียนอนุบาลละอออุทิศ โรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์คอนแวนต์ โรงเรียนเซนต์คาเบรียล จนจบชั้น ป.4 แล้วย้ายไปเรียนที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ได้ 6 เดือน แล้วย้ายตามบิดาไปอยู่ที่ปารีส ประเทศฝรั่งเศสศึกษาที่ Lycée Janson de Sailly จนอายุ 12 ปี ย้ายไปเรียนที่ประเทศอังกฤษ ที่ Enfield Grammar School และ Haileybury and Imperial Service College

            อาจอง ศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ที่ Trinity College มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ระหว่างศึกษาที่นี่ เริ่มมีความสนใจในพระพุทธศาสนาและเริ่มฝึกหัดการนั่งสมาธิ[3] อาจองจบปริญญาตรีด้านวิศวกรรมเครื่องกล ศึกษาต่อปริญญาเอกด้านวิศวกรรมไฟฟ้าจนจบในปี พ.ศ. 2509 โดยมีผลงานวิจัยเกี่ยวกับคลื่นไมโครเวฟแล้วจึงเดินทางกลับประเทศไทย เป็นอาจารย์สอนที่ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จนถึง พ.ศ. 2516 จึงลาออกมาทำธุรกิจ(1)


                                      


1.  ชีวประวัติ ดร. อาจอง  ชุมสาย ณ อยุธยา

        1.1 ชีวประวัติ ดร. อาจอง  ชุมสาย ณ อยุธยา 1


        1.2 ชีวประวัติ ดร. อาจอง  ชุมสาย ณ อยุธยา 2


        1.3 ชีวประวัติ ดร. อาจอง  ชุมสาย ณ อยุธยา 3 

          1.4  



2.  ดร.อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา ผู้บริหารสูงสุดโรงเรียนสัตยาไส ผู้อุทิศตนเพื่อนการศึกษาไทย


3.  มุมมองการศึกษาไทยของ ดร. อาจอง  ชุมสาย  ณ  อยุธยา

         3.1 มุมมองการศึกษาไทยของ ดร. อาจอง  ชุมสาย  ณ  อยุธยา 1


         3.2 มุมมองการศึกษาไทยของ ดร. อาจอง  ชุมสาย  ณ  อยุธยา 2


         3.3 มุมมองการศึกษาไทยของ ดร. อาจอง  ชุมสาย  ณ  อยุธยา 3


          3.4  มุมมองการศึกษาไทยของ ดร. อาจอง  ชุมสาย  ณ  อยุธยา 4


          3.5 มุมมองการศึกษาไทยของ ดร. อาจอง  ชุมสาย  ณ  อยุธยา 5


         3.6 มุมมองการศึกษาไทยของ ดร. อาจอง  ชุมสาย  ณ  อยุธยา 6


          3.7 มุมมองการศึกษาไทยของ ดร. อาจอง  ชุมสาย  ณ  อยุธยา 7


          3.8 มุมมองการศึกษาไทยของ ดร. อาจอง  ชุมสาย  ณ  อยุธยา 8


4. สมาธิกับการเรียน


5. ครอบครัวเดียวกัน อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา


6. คุณธรรมนำความรู้ 


7. คุณค่าของมนุษย์ที่สมบูรณ์



8. ASEAN Education: past, present and future

          8.1 ASEAN Education: past, present and future 1


          8.2 ASEAN Education: past, present and future 2


          8.3 ASEAN Education: past, present and future 3


          8.4 ASEAN Education: past, present and future 4


          8.5 ASEAN Education: past, present and future 5


          8.6 ASEAN Education: past, present and future 6


          8.7 ASEAN Education: past, present and future 7


          8.8 ASEAN Education: past, present and future 8


                        

(1)  http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%AD%E0%B8%87_%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A2_%E0%B8%93_%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%98%E0%B8%A2%E0%B8%B2



<p></p>

หมายเลขบันทึก: 540014เขียนเมื่อ 20 มิถุนายน 2013 20:38 น. ()แก้ไขเมื่อ 7 กันยายน 2013 00:01 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

สุดยอดของคนตัวอย่างครับ

อยากให้มีคนไทยแบบนี้สักร้อยคน...ก็พอครับ


พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท