รับสมัครผู้ช่วยวิจัย


รับสมัครนักศึกษาผู้ช่วยวิจัย  1  ตำแหน่ง

เพื่อร่วมวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้

- นักศึกษาที่กำลังศึกษาบัณฑิตศึกษา สาขา รัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ การจัดการสิ่งแวดล้อม พัฒนามนุษย์และสังคม และสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

ติดต่อ คุณอุสมาน หวังสนิ  โทร.074-500276, 086-9667167 

e-mail : [email protected] ภายใน 15 ต.ค. 54

คำสำคัญ (Tags):
หมายเลขบันทึก: 529146เขียนเมื่อ 5 ตุลาคม 2011 10:22 น. ()แก้ไขเมื่อ 19 มีนาคม 2013 15:20 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (6)

ตอนนี้มี น.ศ. มาสมัครกี่คนแล้ว เดี๋ยวจะประชาสัมพันธ์ให้เด็ก มอย. ไปสมัครด้วย

ยินดีครับ ติดต่อและแนะนำตัวทาง e-mail มาได้เลยครับ

ผมอิสมาอีล เจ๊ะนิ นักวิจัย แล้วถ้าไม่ได้เรียนละแต่ขอสมัครได้ด้วยหรือเปล่า

พอดีส่งทางอีเมลล์ไม่ได้ ส่งทางนี้ได้ป่าวครับ พอดีผมมีฐานข้อมูลด้านงานพัฒนาสามจังหวัดชายแดนภาคใต้พอสมควร พอดีได้มีโอกาสทำงานวิจัยในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ มา 1 ปี หากจะขอข้อมูลเพื่อเป็นฐานก็ยินดีนะครับ

อย่างไรผมขอแนบเอกสารงานวิจัยที่ผ่านมาให้ทางนี้นะครับพี่ดูนะครับ.....

แนะนำตัวเอง

ประวัติส่วนตัว

ชื่อ-สกุล นายอิสมาอีล เจ๊ะนิ เกิดวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2526

ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้ 121/3 ม.3 ต. เมาะมาวี อ.ยะรัง จ.ปัตตานี 94160

เบอร์โทรศัพท์ 081-2770938 E-mail: [email protected]

ประวัติการศึกษา

สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี: รัฐประศาสนศาสตร์บัณฑิต(สาขาวิชาการบริหารและการปกครองท้องถิ่น) เกียรตินิยมอันดับสอง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่

ประสบการณ์การทำงาน (ระหว่าง 2550-2554) มีดังนี้

• ผู้ช่วยนักวิจัย มีดังนี้

บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ และคณะ. 2550. โครงการการประเมินยุทธศาสตร์จังหวัดสงขลา

โดยวิธีการวิจัยแบบประยุกต์(CIET). สงขลา: คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ และคณะ. 2550. การจัดทำนโยบาย มาตรการ แนวทางแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้

.สงขลา: คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ และคณะ. 2550.โครงการศึกษาวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบระบบเศรษฐกิจกระแสหลัก

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ระบบเศรษฐกิจอิสลามในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้.

สงขลา: คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

ดำรง เสียมไหม และคณะ. 2552. การศึกษารูปแบบระบบการกระจายงบประมาณสู่ชุมชนระดับรากหญ้า

ของไทย. สงขลา: คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

ชบ ยอดแก้วและคณะ. 2552.โครงการภาคีส่งเสริมความเข้มแข็งของท้องถิ่น โดยการมีส่วนร่วม

และธรรมาภิบาล ภายใต้โครงการสัจจะลดรายจ่ายวันละบาทเพื่อทำสวัสดิการภาคประชาชน

จังหวัดสงขลา. สงขลา: คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

• นักวิจัยโครงการ

เฉลิมยศ อุทยารัตน์และคณะ. 2552. โครงการ “การบริหารจัดการคุณภาพงานวิจัยเพื่อส่งเสริม

คุณภาพชีวิตประชาชนสู่สังคมสันติสุขในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้”. ยะลา :

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

อิสมาอีล เจ๊ะนิ. 2552. สังเคราะห์งานวิจัยโครงการวิจัยเรื่อง “การบริหารจัดการคุณภาพงานวิจัยเพื่อ

ส่งเสริมคุณภาพชีวิตประชาชนสู่สังคมจังหวัดชายแดนภาคใต้”. ยะลา :

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

เกสรี ลัดเลีย และ อิสมาอีล เจ๊ะนิ. 2552. สังเคราะห์งานวิจัยทางการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

ระหว่างปี พ.ศ. 2547-2551 ยะลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

เกสรี ลัดเลีย และ อิสมาอีล เจ๊ะนิ. 2552.สังเคราะห์งานวิจัยกลุ่มการบริหารจัดการองค์กร

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระหว่างปี พ.ศ. 2547-2551 ยะลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

เกสรี ลัดเลีย และคณะ. 2552. โครงการวิจัยเรื่อง โครงการชุดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้วรรณกรรม

เป็นฐานเพื่อส่งเสริมการอยู่ร่วมกันของเด็กเล็กในสังคมพหุวัฒนธรรมสามจังหวัดชายแดน

ภาคใต้. ยะลา: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

กิตติพันธ์ นพวงศ์ ณ อยุธยาและคณะ. 2553.โครงการบูรณาการความมั่นคงของชาติ

ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนตามหลัก

ธรรมาธิปไตยพื้นที่พิเศษ เกาะสมุย จังหวัดสุราฎร์ธานี). ปัตตานี : ศูนย์ศึกษาและพัฒนา

ธรรมาธิปไตย.

อิสมาอีล เจ๊ะนิ. 2554. การพัฒนาชุดการสอนโดยใช้ผังกราฟิกเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและการ

คิดวิเคราะห์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น. สมุทรปราการ : โรงเรียนอิสลาม-

สมุทรปราการ (มะซออนุสรณ์).

• นักวิจัยประเมินเชิงระบบ

เกสรี ลัดเลีย และคณะ. 2552. โครงการ “การวิจัยเพื่อติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของศูนย์

ปฏิบัติการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ส่วนหน้าและกองกำลังตำรวจ (ศปก.ตร.สน. และกกล.

ตำรวจ) ปี พ.ศ. 2552 (รอบ 12 เดือน). ยะลา: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

บงกช นพวงศ์ ณ อยุธยา และคณะ. 2554.วิจัยประเมินผลเชิงระบบ เรื่อง ; งานบูรณาการการพัฒนา

คุณภาพชีวิตประชาชน ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวีดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ปี 2554.ปัตตานี

: ศูนย์ศึกษาและพัฒนาธรรมาธิปไตย.

• ด้านการเขียนรายงานให้กับหน่วยงานและองค์กร

( 1 ) ผู้สังเคราะห์การติดตามประเมินผลเสริมพลังการขับเคลื่อนแผนพัฒนาพื้นที่พิเศษ ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้ภาคใต้ ศูนย์บูรณาการพัฒนาพื้นที่พิเศษ ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้

( 2 ) ผู้เขียนรายงานการติดตามผลการปฏิบัติงานตามแผนการพัฒนาพื้นที่พิเศษ ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้ (๑ ตุลาคม ๒๕๕๒ – กันยายน ๒๕๕๓) ศูนย์บูรณาการพัฒนาพื้นที่พิเศษ ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้

( 3 ) ผู้เขียนรายงานผลการรายงานผลการดำเนินงานศูนย์ศึกษาและพัฒนาธรรมาธิปไตย ระหว่าง (เดือนตุลาคม ๒๕๕๒ – สิงหาคม ๒๕๕๓) ศูนย์ศึกษาและพัฒนาธรรมาธิปไตย

( 4 ) ผู้จัดทำฐานข้อมูลชุมชน ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ปัตตานี ยะลา นราธิวาส สงขลา และสตูล ( พื้นที่ดำเนินงานศูนย์ศึกษาและพัฒนาธรรมาธิปไตย : ประจำพื้นที่ภาคใต้)

( 5 ) ผู้จัดทำแบบวิเคราะห์ข้อมูลชุมชน จังหวัดปัตตานี ( พื้นที่ดำเนินงานศูนย์ศึกษาและพัฒนาธรรมาธิปไตย : ประจำพื้นที่ภาคใต้)

( 6 ) ผู้สังเคราะห์องค์ความรู้ : ทัศนศึกษาพิสูจน์ทราบพื้นที่ต้นแบบเกาะพิทักษ์ ตำบลบางน้ำจืด อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร

( 7 ) ผู้ติดตาม กำกับดูแล และรายงานผลการดำเนินโครงการพลังชีวิตธรรมาธิปไตย : พอเพียงชายแดนใต้ ปีงบประมาณ 2553 ศูนย์ศึกษาและพัฒนาธรรมาธิปไตย

( 8 ) ผู้รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ ๑ (ระยะที่ ๑ : เดือนเมษายน – มิถุนายน ๒๕๕๓) เรื่อง : ศูนย์ศึกษาและพัฒนาธรรมาธิปไตย : ภารกิจการศึกษาค้นคว้าวิจัยเสริมพลังเรียนรู้ท่ามกลางการปฏิบัติ รูปแบบการพัฒนากระบวนทัศน์ธรรมาธิปไตย สู่การแก้ไขปัญหาบริบททางสังคมพื้นที่พิเศษ : การจัดการศึกษารายกรณี ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้

( 9 ) ผู้รายงานผลการประชุมปฏิบัติการเสริมพลังคณะทำงานขับเคลื่อนธรรมาธิปไตยชุมชนภายใต้ยุทธศาสตร์บูรณาการงานพัฒนาพื้นที่พิเศษ ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้

( 10 ) รายงานผลการดำเนินงานโครงการ “สีเสาหลักกับการเสริมพลังชีวิตธรรมาธิปไตยชุมชนพึ่งตนเอง ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

( 11 ) ผู้จัดทำคู่มือ : สำหรับฝ่ายปฏิบัติการพัฒนาฟื้นฟูจัดการอ่าวปัตตานีเชิงนิเวศวิทยาสู่ 3 เขตเศรษฐกิจใหม่โดยสภาประชาคมอ่าวปัตตานี

( 12 ) ผู้สังเคราะห์กระบวนการส่งเสริมการจัดการขยะต้นทางและแปรรูปขยะอินทรีย์พื้นที่ชุมชนต้นแบบตำบลมะเร็ต (ประจำเดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม 2553) ภายใต้โครงการส่งเสริมการจัดการขยะต้นทางและการแปรรูปขยะอินทรีย์ ปีงบประมาณ 2554 กองแผนงานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองเกาะสมุย 7 กุมภาพันธ์ 2554

( 13 ) ผู้เขียนรายงานผลการลงพื้นที่ปฏิบัติงานประจำวันเดือนมกราคม 2554 ภายใต้โครงการส่งเสริมการจัดการขยะต้นทางและการแปรรูปขยะอินทรีย์ ปีงบประมาณ 2554 กองแผนงานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองเกาะสมุย 6 กุมภาพันธ์ 2554

( 14 ) ผู้เขียนรายงานผลการระดมความคิดการประชุมปฏิบัติการประจำเดือนมกราคม 2554 และผลการระดมสมองเพื่อเสริมพลังพลังธรรมธรรมาธิปไตยชุมชนพื้นที่ต้นแบบตำบลมะเร็ต ภายใต้โครงการส่งเสริมการจัดการขยะต้นทางและการแปรรูปขยะอินทรีย์ ปีงบประมาณ 2554 กองแผนงานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองเกาะสมุย 7 กุมภาพันธ์ 2554

( 15 ) ผู้เขียนรายงานผลการระดมสมองเพื่อขับเคลื่อนโครงการส่งเสริมการจัดการขยะต้นทางและการแปรรูปขยะอินทรีย์ปีงบประมาณ 2554 ภายใต้โครงการส่งเสริมการจัดการขยะต้นทางและการแปรรูปขยะอินทรีย์ ปีงบประมาณ 2554 กองแผนงานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองเกาะสมุย 12 กุมภาพันธ์ 2554

( 16 ) ผู้เขียนรายงานผลโครงการส่งเสริมการจัดการขยะต้นทางและการแปรรูปขยะอินทรีย์ปีงบประมาณ 2554 เทศบาลเมืองเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี ภายใต้โครงการบูรณาการความมั่นคงแห่งชาติตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง : การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนตามหลักธรรมาธิปไตยพื้นพิเศษเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี 9 มีนาคม 2554

• ด้านงานเขียนบทความปริทัศน์ (ในฐานข้อมูลของศูนย์เฝ้าระวังจังหวัดชายแดนภาคใต้) มีดังนี้

( 1 ) ธนาคารอิสลาม : สถาบันการเงินใหม่ในประเทศไทย

( 2 ) ปรากฏการณ์ความขัดแย้งของหมู่บ้านในสอย ตำบลปางหมู อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน

( 3 ) ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุทางวัฒนธรรมและการบริหารการปกครองของรัฐไทยกับการสร้างความขัดแย้งและความรุนแรงในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้

( 4 ) มองหาอนาคตประเทศไทย

( 5 ) ผู้หญิง: กับการดิ้นรนเพื่อสันติภาพ “ความท้าทายที่ไม่ท้าทาย”

( 6 ) บทสรุปของความอยู่รอดของสังคมไทยท่ามกลางของคนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้กลายเป็นอื่น “ตอนมองพื้นที่แห่งความถูก-ผิด......มองอะไร”?

( 7 ) เมื่อตัวตนแห่งชื่อความขัดแย้ง ชาติพันธุ์มลายูมุสลิม อภัยวิถี ...กลายเป็นเรื่องน่ารำคาญแล้วรัฐชาติจะอยู่กันได้อย่างไร

( 8 ) วิวาทะการทำหน้าที่ “สื่อมวลชนแบบไทย ไทย ที่ชายแดนใต้” : กับการโต้ตอบของคนสามจังหวัด

• ด้านการเขียนหนังสือให้กับศูนย์ศึกษาและพัฒนาธรรมาธิปไตยคือ

o งานเขียนสืบสานพลังธรรมาธิปไตยชุมชนเกาะพิทักษ์

เกียรติประวัติอื่นๆ

( 1 ) ได้รับรางวัลชนะเลิศการแข่งขันความรู้ทั่วไป การแข่งขันทักษะมหกรรมทางวิชาการ มัธยมศึกษาตอนปลาย ระดับจังหวัด ประจำปี 2544 ณ โรงเรียนพัฒนาวิทยา ยะลา 12 กรกฎาคม 2544

( 2 ) ได้รับรางวัลอันดับที่ 1 การแข่งขันตอบปัญหาความรู้ทั่วไป ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย ณ สำนักพัฒนาการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เขตการศึกษา 2 25 กรกฎาคม 2544

( 3 ) ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 การแข่งขัน ตอบปัญหาประชาธิปไตย สภานักศึกษา องค์การนักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ 31 สิงหาคม 2545

( 4 ) โรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิมอบเกียรติบัตรในฐานะเป็นผู้สร้างชื่อเสียงให้กับสถาบัน พร้อมทั้งประพฤติ ปฏิบัติเป็นแบบอย่างอันดีงามแก่นักเรียนโดยทั่วไป 23 มกราคม 2546

( 5 ) ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ในการแข่งขันอภิปรายปัญหารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ชิงแชมป์ภาคใต้ สถาบันเครือข่ายรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ภาคใต้ 8 กันยายน 2549

( 6 ) รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 ระดับบุคคลทั่วไป การแข่งขันตอบปัญหาทางรัฐศาสตร์ และรัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 7 โดย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ร่วมกับ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง(พ.ศ. 2549) 28-29 พฤศจิกายน 2549

( 7 ) ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 “การเขียนโครงการพัฒนาท้องถิ่นภาคใต้”

( 8 ) ได้รับโล่เกียรติยศนักกิจกรรมดีเด่น “ด้านวิชาการ” ประจำปีการศึกษา 2549 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 12 กุมภาพันธ์ 2550

ประสบการณ์ด้านอื่นๆ

( 1 ) ผ่านการอบรมตามโครงการประเมินยุทธศาสตร์จังหวัดสงขลา โดยวิธีการวิจัยแบบประยุกต์ CIET (Community information and Epidemiological Technologies) คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 15 พฤษภาคม 2559

( 2 ) ผ่านกระบวนการจัดทำแผนการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัดปัตตานี พ.ศ.2550-2554

( 3 ) ผ่านการจัดทำโครงการศึกษาและส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการจัดทำยุทธศาสตร์สันติวิธีภาคประชาชนจังหวัดสงขลา

( 4 ) เป็นวิทยากรโครงการ Road to University (ปูพื้นฐานความรู้สู่มหาวิทยาลัย) จัดโดย กลุ่มเสียงเล็กๆ ร่วมกับสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดยะลา วันที่ 19-20 พฤศจิกายน 2552

( 5 ) ครูพิเศษอัตราจ้างกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนอิสลามสมุทรปราการ (มะซออนุสรณ์) จังหวัดสมุทรปราการ

( 6 ) ผ่านการอบรมโครงการพัฒนาครูทั้งระบบ ของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ชื่อกิจกรรม เทคนิคการจัดการเรียนการสอนอย่างมีคุณภาพ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

( 7 ) ผ่านการอบรมโครงการพัฒนาครูทั้งระบบ ของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ชื่อกิจกรรม การเตรียมความพร้อมก่อนการประเมินรอบสามและเราได้อะไรจากการประเมินคุณภาพสถานศึกษา

( 8 ) ผ่านการอบรมโครงการพัฒนาครูทั้งระบบ ของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ชื่อกิจกรรม การประกันคุณภาพการศึกษาภายในและภายนอกสถานศึกษา เทคนิคการจัดการเรียนการสอน และหลักสูตรการจัดการเรียนการสอน.

ความสามารถอื่นๆ

o ด้านโปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐานทาง Microsoft office และโปรแกรมประยุกต์ เช่น SPSS

ตอนนี้มี น.ศ. มาสมัครกี่คนแล้ว เดี๋ยวจะประชาสัมพันธ์ให้เด็ก มอย. ไปสมัครด้วย

ยินดีครับ ติดต่อและแนะนำตัวทาง e-mail มาได้เลยครับ

ผมอิสมาอีล เจ๊ะนิ นักวิจัย แล้วถ้าไม่ได้เรียนละแต่ขอสมัครได้ด้วยหรือเปล่า

พอดีส่งทางอีเมลล์ไม่ได้ ส่งทางนี้ได้ป่าวครับ พอดีผมมีฐานข้อมูลด้านงานพัฒนาสามจังหวัดชายแดนภาคใต้พอสมควร พอดีได้มีโอกาสทำงานวิจัยในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ มา 1 ปี หากจะขอข้อมูลเพื่อเป็นฐานก็ยินดีนะครับ

อย่างไรผมขอแนบเอกสารงานวิจัยที่ผ่านมาให้ทางนี้นะครับพี่ดูนะครับ.....

แนะนำตัวเอง

ประวัติส่วนตัว

ชื่อ-สกุล นายอิสมาอีล เจ๊ะนิ เกิดวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2526

ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้ 121/3 ม.3 ต. เมาะมาวี อ.ยะรัง จ.ปัตตานี 94160

เบอร์โทรศัพท์ 081-2770938 E-mail: [email protected]

ประวัติการศึกษา

สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี: รัฐประศาสนศาสตร์บัณฑิต(สาขาวิชาการบริหารและการปกครองท้องถิ่น) เกียรตินิยมอันดับสอง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่

ประสบการณ์การทำงาน (ระหว่าง 2550-2554) มีดังนี้

• ผู้ช่วยนักวิจัย มีดังนี้

บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ และคณะ. 2550. โครงการการประเมินยุทธศาสตร์จังหวัดสงขลา

โดยวิธีการวิจัยแบบประยุกต์(CIET). สงขลา: คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ และคณะ. 2550. การจัดทำนโยบาย มาตรการ แนวทางแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้

.สงขลา: คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ และคณะ. 2550.โครงการศึกษาวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบระบบเศรษฐกิจกระแสหลัก

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ระบบเศรษฐกิจอิสลามในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้.

สงขลา: คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

ดำรง เสียมไหม และคณะ. 2552. การศึกษารูปแบบระบบการกระจายงบประมาณสู่ชุมชนระดับรากหญ้า

ของไทย. สงขลา: คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

ชบ ยอดแก้วและคณะ. 2552.โครงการภาคีส่งเสริมความเข้มแข็งของท้องถิ่น โดยการมีส่วนร่วม

และธรรมาภิบาล ภายใต้โครงการสัจจะลดรายจ่ายวันละบาทเพื่อทำสวัสดิการภาคประชาชน

จังหวัดสงขลา. สงขลา: คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

• นักวิจัยโครงการ

เฉลิมยศ อุทยารัตน์และคณะ. 2552. โครงการ “การบริหารจัดการคุณภาพงานวิจัยเพื่อส่งเสริม

คุณภาพชีวิตประชาชนสู่สังคมสันติสุขในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้”. ยะลา :

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

อิสมาอีล เจ๊ะนิ. 2552. สังเคราะห์งานวิจัยโครงการวิจัยเรื่อง “การบริหารจัดการคุณภาพงานวิจัยเพื่อ

ส่งเสริมคุณภาพชีวิตประชาชนสู่สังคมจังหวัดชายแดนภาคใต้”. ยะลา :

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

เกสรี ลัดเลีย และ อิสมาอีล เจ๊ะนิ. 2552. สังเคราะห์งานวิจัยทางการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

ระหว่างปี พ.ศ. 2547-2551 ยะลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

เกสรี ลัดเลีย และ อิสมาอีล เจ๊ะนิ. 2552.สังเคราะห์งานวิจัยกลุ่มการบริหารจัดการองค์กร

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระหว่างปี พ.ศ. 2547-2551 ยะลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

เกสรี ลัดเลีย และคณะ. 2552. โครงการวิจัยเรื่อง โครงการชุดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้วรรณกรรม

เป็นฐานเพื่อส่งเสริมการอยู่ร่วมกันของเด็กเล็กในสังคมพหุวัฒนธรรมสามจังหวัดชายแดน

ภาคใต้. ยะลา: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

กิตติพันธ์ นพวงศ์ ณ อยุธยาและคณะ. 2553.โครงการบูรณาการความมั่นคงของชาติ

ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนตามหลัก

ธรรมาธิปไตยพื้นที่พิเศษ เกาะสมุย จังหวัดสุราฎร์ธานี). ปัตตานี : ศูนย์ศึกษาและพัฒนา

ธรรมาธิปไตย.

อิสมาอีล เจ๊ะนิ. 2554. การพัฒนาชุดการสอนโดยใช้ผังกราฟิกเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและการ

คิดวิเคราะห์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น. สมุทรปราการ : โรงเรียนอิสลาม-

สมุทรปราการ (มะซออนุสรณ์).

• นักวิจัยประเมินเชิงระบบ

เกสรี ลัดเลีย และคณะ. 2552. โครงการ “การวิจัยเพื่อติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของศูนย์

ปฏิบัติการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ส่วนหน้าและกองกำลังตำรวจ (ศปก.ตร.สน. และกกล.

ตำรวจ) ปี พ.ศ. 2552 (รอบ 12 เดือน). ยะลา: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

บงกช นพวงศ์ ณ อยุธยา และคณะ. 2554.วิจัยประเมินผลเชิงระบบ เรื่อง ; งานบูรณาการการพัฒนา

คุณภาพชีวิตประชาชน ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวีดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ปี 2554.ปัตตานี

: ศูนย์ศึกษาและพัฒนาธรรมาธิปไตย.

• ด้านการเขียนรายงานให้กับหน่วยงานและองค์กร

( 1 ) ผู้สังเคราะห์การติดตามประเมินผลเสริมพลังการขับเคลื่อนแผนพัฒนาพื้นที่พิเศษ ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้ภาคใต้ ศูนย์บูรณาการพัฒนาพื้นที่พิเศษ ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้

( 2 ) ผู้เขียนรายงานการติดตามผลการปฏิบัติงานตามแผนการพัฒนาพื้นที่พิเศษ ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้ (๑ ตุลาคม ๒๕๕๒ – กันยายน ๒๕๕๓) ศูนย์บูรณาการพัฒนาพื้นที่พิเศษ ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้

( 3 ) ผู้เขียนรายงานผลการรายงานผลการดำเนินงานศูนย์ศึกษาและพัฒนาธรรมาธิปไตย ระหว่าง (เดือนตุลาคม ๒๕๕๒ – สิงหาคม ๒๕๕๓) ศูนย์ศึกษาและพัฒนาธรรมาธิปไตย

( 4 ) ผู้จัดทำฐานข้อมูลชุมชน ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ปัตตานี ยะลา นราธิวาส สงขลา และสตูล ( พื้นที่ดำเนินงานศูนย์ศึกษาและพัฒนาธรรมาธิปไตย : ประจำพื้นที่ภาคใต้)

( 5 ) ผู้จัดทำแบบวิเคราะห์ข้อมูลชุมชน จังหวัดปัตตานี ( พื้นที่ดำเนินงานศูนย์ศึกษาและพัฒนาธรรมาธิปไตย : ประจำพื้นที่ภาคใต้)

( 6 ) ผู้สังเคราะห์องค์ความรู้ : ทัศนศึกษาพิสูจน์ทราบพื้นที่ต้นแบบเกาะพิทักษ์ ตำบลบางน้ำจืด อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร

( 7 ) ผู้ติดตาม กำกับดูแล และรายงานผลการดำเนินโครงการพลังชีวิตธรรมาธิปไตย : พอเพียงชายแดนใต้ ปีงบประมาณ 2553 ศูนย์ศึกษาและพัฒนาธรรมาธิปไตย

( 8 ) ผู้รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ ๑ (ระยะที่ ๑ : เดือนเมษายน – มิถุนายน ๒๕๕๓) เรื่อง : ศูนย์ศึกษาและพัฒนาธรรมาธิปไตย : ภารกิจการศึกษาค้นคว้าวิจัยเสริมพลังเรียนรู้ท่ามกลางการปฏิบัติ รูปแบบการพัฒนากระบวนทัศน์ธรรมาธิปไตย สู่การแก้ไขปัญหาบริบททางสังคมพื้นที่พิเศษ : การจัดการศึกษารายกรณี ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้

( 9 ) ผู้รายงานผลการประชุมปฏิบัติการเสริมพลังคณะทำงานขับเคลื่อนธรรมาธิปไตยชุมชนภายใต้ยุทธศาสตร์บูรณาการงานพัฒนาพื้นที่พิเศษ ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้

( 10 ) รายงานผลการดำเนินงานโครงการ “สีเสาหลักกับการเสริมพลังชีวิตธรรมาธิปไตยชุมชนพึ่งตนเอง ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

( 11 ) ผู้จัดทำคู่มือ : สำหรับฝ่ายปฏิบัติการพัฒนาฟื้นฟูจัดการอ่าวปัตตานีเชิงนิเวศวิทยาสู่ 3 เขตเศรษฐกิจใหม่โดยสภาประชาคมอ่าวปัตตานี

( 12 ) ผู้สังเคราะห์กระบวนการส่งเสริมการจัดการขยะต้นทางและแปรรูปขยะอินทรีย์พื้นที่ชุมชนต้นแบบตำบลมะเร็ต (ประจำเดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม 2553) ภายใต้โครงการส่งเสริมการจัดการขยะต้นทางและการแปรรูปขยะอินทรีย์ ปีงบประมาณ 2554 กองแผนงานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองเกาะสมุย 7 กุมภาพันธ์ 2554

( 13 ) ผู้เขียนรายงานผลการลงพื้นที่ปฏิบัติงานประจำวันเดือนมกราคม 2554 ภายใต้โครงการส่งเสริมการจัดการขยะต้นทางและการแปรรูปขยะอินทรีย์ ปีงบประมาณ 2554 กองแผนงานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองเกาะสมุย 6 กุมภาพันธ์ 2554

( 14 ) ผู้เขียนรายงานผลการระดมความคิดการประชุมปฏิบัติการประจำเดือนมกราคม 2554 และผลการระดมสมองเพื่อเสริมพลังพลังธรรมธรรมาธิปไตยชุมชนพื้นที่ต้นแบบตำบลมะเร็ต ภายใต้โครงการส่งเสริมการจัดการขยะต้นทางและการแปรรูปขยะอินทรีย์ ปีงบประมาณ 2554 กองแผนงานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองเกาะสมุย 7 กุมภาพันธ์ 2554

( 15 ) ผู้เขียนรายงานผลการระดมสมองเพื่อขับเคลื่อนโครงการส่งเสริมการจัดการขยะต้นทางและการแปรรูปขยะอินทรีย์ปีงบประมาณ 2554 ภายใต้โครงการส่งเสริมการจัดการขยะต้นทางและการแปรรูปขยะอินทรีย์ ปีงบประมาณ 2554 กองแผนงานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองเกาะสมุย 12 กุมภาพันธ์ 2554

( 16 ) ผู้เขียนรายงานผลโครงการส่งเสริมการจัดการขยะต้นทางและการแปรรูปขยะอินทรีย์ปีงบประมาณ 2554 เทศบาลเมืองเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี ภายใต้โครงการบูรณาการความมั่นคงแห่งชาติตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง : การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนตามหลักธรรมาธิปไตยพื้นพิเศษเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี 9 มีนาคม 2554

• ด้านงานเขียนบทความปริทัศน์ (ในฐานข้อมูลของศูนย์เฝ้าระวังจังหวัดชายแดนภาคใต้) มีดังนี้

( 1 ) ธนาคารอิสลาม : สถาบันการเงินใหม่ในประเทศไทย

( 2 ) ปรากฏการณ์ความขัดแย้งของหมู่บ้านในสอย ตำบลปางหมู อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน

( 3 ) ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุทางวัฒนธรรมและการบริหารการปกครองของรัฐไทยกับการสร้างความขัดแย้งและความรุนแรงในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้

( 4 ) มองหาอนาคตประเทศไทย

( 5 ) ผู้หญิง: กับการดิ้นรนเพื่อสันติภาพ “ความท้าทายที่ไม่ท้าทาย”

( 6 ) บทสรุปของความอยู่รอดของสังคมไทยท่ามกลางของคนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้กลายเป็นอื่น “ตอนมองพื้นที่แห่งความถูก-ผิด......มองอะไร”?

( 7 ) เมื่อตัวตนแห่งชื่อความขัดแย้ง ชาติพันธุ์มลายูมุสลิม อภัยวิถี ...กลายเป็นเรื่องน่ารำคาญแล้วรัฐชาติจะอยู่กันได้อย่างไร

( 8 ) วิวาทะการทำหน้าที่ “สื่อมวลชนแบบไทย ไทย ที่ชายแดนใต้” : กับการโต้ตอบของคนสามจังหวัด

• ด้านการเขียนหนังสือให้กับศูนย์ศึกษาและพัฒนาธรรมาธิปไตยคือ

o งานเขียนสืบสานพลังธรรมาธิปไตยชุมชนเกาะพิทักษ์

เกียรติประวัติอื่นๆ

( 1 ) ได้รับรางวัลชนะเลิศการแข่งขันความรู้ทั่วไป การแข่งขันทักษะมหกรรมทางวิชาการ มัธยมศึกษาตอนปลาย ระดับจังหวัด ประจำปี 2544 ณ โรงเรียนพัฒนาวิทยา ยะลา 12 กรกฎาคม 2544

( 2 ) ได้รับรางวัลอันดับที่ 1 การแข่งขันตอบปัญหาความรู้ทั่วไป ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย ณ สำนักพัฒนาการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เขตการศึกษา 2 25 กรกฎาคม 2544

( 3 ) ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 การแข่งขัน ตอบปัญหาประชาธิปไตย สภานักศึกษา องค์การนักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ 31 สิงหาคม 2545

( 4 ) โรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิมอบเกียรติบัตรในฐานะเป็นผู้สร้างชื่อเสียงให้กับสถาบัน พร้อมทั้งประพฤติ ปฏิบัติเป็นแบบอย่างอันดีงามแก่นักเรียนโดยทั่วไป 23 มกราคม 2546

( 5 ) ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ในการแข่งขันอภิปรายปัญหารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ชิงแชมป์ภาคใต้ สถาบันเครือข่ายรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ภาคใต้ 8 กันยายน 2549

( 6 ) รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 ระดับบุคคลทั่วไป การแข่งขันตอบปัญหาทางรัฐศาสตร์ และรัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 7 โดย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ร่วมกับ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง(พ.ศ. 2549) 28-29 พฤศจิกายน 2549

( 7 ) ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 “การเขียนโครงการพัฒนาท้องถิ่นภาคใต้”

( 8 ) ได้รับโล่เกียรติยศนักกิจกรรมดีเด่น “ด้านวิชาการ” ประจำปีการศึกษา 2549 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 12 กุมภาพันธ์ 2550

ประสบการณ์ด้านอื่นๆ

( 1 ) ผ่านการอบรมตามโครงการประเมินยุทธศาสตร์จังหวัดสงขลา โดยวิธีการวิจัยแบบประยุกต์ CIET (Community information and Epidemiological Technologies) คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 15 พฤษภาคม 2559

( 2 ) ผ่านกระบวนการจัดทำแผนการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัดปัตตานี พ.ศ.2550-2554

( 3 ) ผ่านการจัดทำโครงการศึกษาและส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการจัดทำยุทธศาสตร์สันติวิธีภาคประชาชนจังหวัดสงขลา

( 4 ) เป็นวิทยากรโครงการ Road to University (ปูพื้นฐานความรู้สู่มหาวิทยาลัย) จัดโดย กลุ่มเสียงเล็กๆ ร่วมกับสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดยะลา วันที่ 19-20 พฤศจิกายน 2552

( 5 ) ครูพิเศษอัตราจ้างกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนอิสลามสมุทรปราการ (มะซออนุสรณ์) จังหวัดสมุทรปราการ

( 6 ) ผ่านการอบรมโครงการพัฒนาครูทั้งระบบ ของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ชื่อกิจกรรม เทคนิคการจัดการเรียนการสอนอย่างมีคุณภาพ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

( 7 ) ผ่านการอบรมโครงการพัฒนาครูทั้งระบบ ของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ชื่อกิจกรรม การเตรียมความพร้อมก่อนการประเมินรอบสามและเราได้อะไรจากการประเมินคุณภาพสถานศึกษา

( 8 ) ผ่านการอบรมโครงการพัฒนาครูทั้งระบบ ของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ชื่อกิจกรรม การประกันคุณภาพการศึกษาภายในและภายนอกสถานศึกษา เทคนิคการจัดการเรียนการสอน และหลักสูตรการจัดการเรียนการสอน.

ความสามารถอื่นๆ

o ด้านโปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐานทาง Microsoft office และโปรแกรมประยุกต์ เช่น SPSS

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท