ดร.กฤษฎา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤษฎา สังขมณี

การเงินและการธนาคาร เทอม 2/ 2555 หมู่ 02


Good morning my lovely students Today , Monday November , the twelve , 2012. New semester and&nb...
มีต่อ

เครื่องมือทางการเงิน (Financial Instruments) หมายถึง หนังสือสำคัญซึ่งเป็นเอกสารแสดงสิทธิต่าง ๆ เช่น สิทธิในการเป็นเจ้าของ สิทธิในการเป็นเจ้าหนี้ สิทธิที่จะซื้อหรือขายหลักทรัพย์ ฯลฯ ทั้งนี้ จะยกตัวอย่างตราสารทางการเงินชนิดต่าง ๆ ตามตาราง แสดงตัวอย่างของเครื่องมือทางการเงินชนิดต่าง ๆ ดังนี้ ตราสารทางการเงิน (Financial Instruments) คือ หลักฐานแสดงการถือครองและสิทธิเรียกร้องต่างๆ ที่บริษัทผู้ออก หลักทรัพย์นำออกมาจำหน่ายเพื่อระดมเงินจากผู้ลงทุน และนำมาจดทะเบียนเพื่อให้มีการซื้อขายตลาดรอง ซึ่งปัจจุบันมี ตราสารทางการเงินที่ซื้อขายกันในตลาดรองมากกว่า 1,000 ชนิด ทำให้ผู้ลงทุนมีทางเลือกการลงทุนที่หลากหลาย ตลอดจนสามารถกระจายการลงทุนได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ตราสารทางการเงินที่ทำการซื้อขายในปัจจุบันสามารแบ่งออกเป็น 4 กลุ่มใหญ่ๆ คือ 1.ตราสารทุน (Equity) เป็นตราสารที่ให้สิทธิการเป็น “เจ้าของกิจการ” แก่ผู้ลงทุน ดังนั้น ในฐานะเจ้าของกิจการ ผู้ลงทุนจึงมีโอกาสที่จะได้รับผลตอบแทนที่ดีถ้ากิจการมีผลการดำเนินงานดี และมีความเสี่ยงที่จะขาดทุนหรือไม่ได้ผลตอบแทนถ้าผลการ ดำเนินงานของกิจการไม่เป็นไปตามที่คาดหมาย

1.1 หุ้นสามัญ (Common Stock) คือ หลักทรัพย์ที่บริษัทออกจำหน่าย เพื่อให้สิทธิแก่ผู้ถือในการร่วมเป็นเจ้าของบริษัท ผู้ถือหุ้นสามัญมีสิทธิออกเสียงในที่ประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อร่วมตัดสินใจในการบริหาร การวางนโยบายการดำเนินการของบริษัท การเลือกตั้งกรรมการของบริษัท และเพื่อร่วมตัดสินใจในปัญหาสำคัญของบริษัท ผู้ถือหุ้นมีโอกาสที่จะได้รับผลตอบแทนในรูปของเงินปันผล เมื่อบริษัทมีกำไรและอนุมัติให้มีการจ่ายเงินปันผล หรือเมื่อราคาหุ้นในตลาดรองสูงขึ้นก็สามารถนำไปขาย เพื่อรับส่วนต่างจากราคาหุ้นที่ซื้อมา (Capital Gain) นอกจากนี้ ผู้ถือหุ้นจะได้รับสิทธิจองหุ้นใหม่ (Right) เมื่อบริษัทต้องการจะเพิ่มทุน 1.2 หุ้นบุริมสิทธิ (Preferred Stock) เป็นหุ้นที่มีลักษณะกึ่งหนี้สินและกึ่งหุ้นสามัญ (Hybrid) มีราคาหน้าตั๋ว (Par Value) และมีอัตราเงินปันผลกำหนดไว้ตายตัว ผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิจะได้รับสิทธิพิเศษเหนือกว่าผู้ถือหุ้นสามัญ เช่น ได้รับเงินปันผลก่อนหรือมากกว่าผู้ถือหุ้นสามัญ และมีสิทธิในทรัพย์สินของบริษัทก่อนผู้ถือหุ้นสามัญ (แต่หลังจากผู้เป็นเจ้าหนี้ของบริษัท) ในกรณีที่บริษัทจะต้องเลิกกิจการ อย่างไรก็ตาม ผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิส่วนใหญ่มักจะไม่ได้รับสิทธิในการออกเสียง และการบริหารงานของบริษัท 2.ตราสารหนี้ (Debt) เป็นตราสารที่ให้สิทธิการเป็น “เจ้าหนี้ของกิจการ” แก่ผู้ลงทุน ซึ่งในฐานะเจ้าหนี้ ผู้ลงทุนจะได้รับผลตอบแทนหรือ ผลประโยชน์อื่นๆ ตามที่ได้มีการกำหนดไว้ โดยผู้ออกตราสารหนี้จะระบุอัตราผลตอบแทน กำหนดวันจ่ายดอกเบี้ย และ วันครบอายุหรือกำหนดไถ่ถอนตราสารไว้อย่างชัดเจน 3.ตราสารลงทุน (Unit Trust) เป็นตราสารที่ออกจำหน่ายและบริหารการลงทุนโดยบริษัทหลักทรัพย์จัดการลงทุน (บลจ.) เพื่อระดมเงินเข้า “กองทุนรวม” ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อลงทุนตามวัตถุประสงค์และนโยบายการลงทุนที่ระบุไว้ในหนังสือชี้ชวน ผู้ลงทุนมีฐานะเป็น “เจ้าของร่วมในทรัพย์สินของกองทุนรวม” จึงมีส่วนได้ส่วนเสียและได้รับผลตอบแทนตามผลการดำเนินงานของกองทุน ซึ่งจุดเด่นของการลงทุนในกองทุนรวมก็คือ การมีบริษัทหลักทรัพย์จัดการลงทุนดูแลการลงทุนให้ จึงเหมาะสำหรับผู้ลงทุนที่ไม่มีเวลาดูแลการลงทุนด้วยตัวเอง 4.ตราสารอนุพันธ์ (Derivatives) เป็นสัญญาทางการเงินที่ทำขึ้นในปัจจุบัน เพื่อตกลงซื้อขายหรือให้สิทธิในการซื้อขายสินทรัพย์อ้างอิง (Underlying Asset) เช่น หุ้นสามัญ ดัชนีหลักทรัพย์ อัตราแลกเปลี่ยน ทองคำ น้ำมัน ฯลฯ ในอนาคต กล่าวคือ ทำสัญญาตกลงกันวันนี้ว่าจะซื้อหรือขายสินทรัพย์อ้างอิงจำนวนกี่หน่วย ที่ราคาเท่าใด แล้วจะส่งมอบและชำระราคากันเมื่อใด ลักษณะเฉพาะของตราสารอนุพันธ์ คือ “มีอายุสัญญาจำกัด” เมื่อครบอายุสัญญา มูลค่าของตราสารก็จะหมดลง นอกจากนี้ ราคา ตราสารอนุพันธ์ก็จะผันผวนไปตามราคาสินทรัพย์อ้างอิง ผู้ลงทุนจึงมักใช้ตราสารอนุพันธ์เป็นเครื่องมือเพื่อป้องกัน ความเสี่ยง

ภาพตัวอย่างเครื่องมือทางการเงิน

น.ส. ฐิตาพร ขันไกล้ รหัสนักศึกษา 55127326051 การเงิน 02

ตราสารทางการเงิน

 

 ตราสารทางการเงิน (Financial Instruments) คือ หลักฐานแสดงการถือครองและสิทธิเรียกร้องต่างๆ ที่บริษัทผู้ออก
หลักทรัพย์นำออกมาจำหน่ายเพื่อระดมเงินจากผู้ลงทุน และนำมาจดทะเบียนเพื่อให้มีการซื้อขายในตลาดรอง ซึ่งปัจจุบันมี
ตราสารทางการเงินที่ซื้อขายกันในตลาดรองมากกว่า 1,000 ชนิด ทำให้ผู้ลงทุนมีทางเลือกการลงทุนที่หลากหลาย ตลอดจนสามารถกระจายการลงทุนได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

     ตราสารทางการเงินที่ทำการซื้อขายในปัจจุบันสามารถแบ่งออกเป็น 4 กลุ่มใหญ่ๆ คือ..

 

     เป็นตราสารที่ให้สิทธิการเป็น “เจ้าของกิจการ” แก่ผู้ลงทุน ดังนั้น ในฐานะเจ้าของกิจการ ผู้ลงทุนจึงมีโอกาสที่จะได้รับผลตอบแทนที่ดีถ้ากิจการมีผลการดำเนินงานดี และมีความเสี่ยงที่จะขาดทุนหรือไม่ได้ผลตอบแทนถ้าผลการ
ดำเนินงานของกิจการไม่เป็นไปตามที่คาดหมาย

   
 

     เป็นตราสารที่ให้สิทธิการเป็น “เจ้าหนี้ของกิจการ” แก่ผู้ลงทุน ซึ่งในฐานะเจ้าหนี้ ผู้ลงทุนจะได้รับผลตอบแทนหรือ
ผลประโยชน์อื่นๆ ตามที่ได้มีการกำหนดไว้ โดยผู้ออกตราสารหนี้จะระบุอัตราผลตอบแทน กำหนดวันจ่ายดอกเบี้ย และ
วันครบอายุหรือกำหนดไถ่ถอนตราสารไว้อย่างชัดเจน

   
 

     เป็นตราสารที่ออกจำหน่ายและบริหารการลงทุนโดยบริษัทหลักทรัพย์จัดการลงทุน (บลจ.) เพื่อระดมเงินเข้า 
“กองทุนรวม” ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อลงทุนตามวัตถุประสงค์และนโยบายการลงทุนที่ระบุไว้ในหนังสือชี้ชวน ผู้ลงทุนมีฐานะเป็น “เจ้าของร่วมในทรัพย์สินของกองทุนรวม” จึงมีส่วนได้ส่วนเสียและได้รับผลตอบแทนตามผลการดำเนินงานของกองทุน ซึ่งจุดเด่นของการลงทุนในกองทุนรวมก็คือ การมีบริษัทหลักทรัพย์จัดการลงทุนดูแลการลงทุนให้ จึงเหมาะสำหรับผู้ลงทุนที่ไม่มีเวลาดูแลการลงทุนด้วยตัวเอง

   
 
     เป็นสัญญาทางการเงินที่ทำขึ้นในปัจจุบัน เพื่อตกลงซื้อขายหรือให้สิทธิในการซื้อขายสินทรัพย์อ้างอิง (Underlying Asset) เช่น หุ้นสามัญ ดัชนีหลักทรัพย์ อัตราแลกเปลี่ยน ทองคำ น้ำมัน ฯลฯ ในอนาคต กล่าวคือ ทำสัญญาตกลงกันวันนี้ว่าจะซื้อหรือขายสินทรัพย์อ้างอิงจำนวนกี่หน่วย ที่ราคาเท่าใด แล้วจะส่งมอบและชำระราคากันเมื่อใด ลักษณะเฉพาะของตราสารอนุพันธ์ คือ “มีอายุสัญญาจำกัด” เมื่อครบอายุสัญญา มูลค่าของตราสารก็จะหมดลง นอกจากนี้ ราคา
ตราสารอนุพันธ์ก็จะผันผวนไปตามราคาสินทรัพย์อ้างอิง ผู้ลงทุนจึงมักใช้ตราสารอนุพันธ์เป็นเครื่องมือเพื่อป้องกัน
ความเสี่ยง

 

   

 

เครื่องมือทางการเงิน (Financial Instruments) หมายถึง หนังสือสำคัญซึ่งเป็นเอกสารแสดงสิทธิต่าง ๆ เช่น สิทธิในการเป็นเจ้าของ สิทธิในการเป็นเจ้าหนี้ สิทธิที่จะซื้อหรือขายหลักทรัพย์ ฯลฯ

สำหรับตราสารทางการเงินประเภทตราสารหนี้นั้น จะได้กล่าวถึงโดยละเอียดโดยแยกหัวข้อนำไปอธิบายในเรื่องถัด ๆ ไป เนื่องจากตราสารหนี้เป็นตราสารทางการเงินที่มีความสำคัญเกี่ยวข้องกับเรื่อง ของอัตราดอกเบี้ย และการดำเนินนโยบายการเงิน ซึ่งเป็นส่วนสำคัญในการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์การเงิน ส่วนตราสารอีก 3 ประเภท จะได้อธิบายโดยสังเขปเพิ่มเติมจากตารางสรุปข้างต้น ดังนี้ 
           1. ตราสารทุนหรือหุ้นทุน (Share) คือ ส่วนของทุนของกิจการที่ถูกแบ่งออกเป็นหุ้น ซึ่งแต่ละหุ้นจะให้อำนาจผู้ถือหุ้นในการเป็นเจ้าของของกิจการตามสัดส่วนของ หุ้นที่ถือ ซึ่งหมายความรวมถึงการได้สิทธิในการได้รับส่วนแบ่งกำไรและสิทธิในการบริหาร ในที่นี้จะยกตัวอย่างหุ้นทุน 2 ประเภท คือ 
               1.1 หุ้นสามัญ (Common Stock) คือ หลักทรัพย์ที่บริษัทออกจำหน่าย เพื่อให้สิทธิแก่ผู้ถือในการร่วมเป็นเจ้าของบริษัท ผู้ถือหุ้นสามัญมีสิทธิออกเสียงในที่ประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อร่วมตัดสินใจในการบริหาร การวางนโยบายการดำเนินการของบริษัท การเลือกตั้งกรรมการของบริษัท และเพื่อร่วมตัดสินใจในปัญหาสำคัญของบริษัท ผู้ถือหุ้นมีโอกาสที่จะได้รับผลตอบแทนในรูปของเงินปันผล เมื่อบริษัทมีกำไรและอนุมัติให้มีการจ่ายเงินปันผล หรือเมื่อราคาหุ้นในตลาดรองสูงขึ้นก็สามารถนำไปขาย เพื่อรับส่วนต่างจากราคาหุ้นที่ซื้อมา (Capital Gain) นอกจากนี้ ผู้ถือหุ้นจะได้รับสิทธิจองหุ้นใหม่ (Right) เมื่อบริษัทต้องการจะเพิ่มทุนด้วย 
               1.2 หุ้นบุริมสิทธิ (Preferred Stock) เป็นหุ้นที่มีลักษณะกึ่งหนี้สินและกึ่งหุ้นสามัญ (Hybrid) มีราคาหน้าตั๋ว (Par Value) และมีอัตราเงินปันผลกำหนดไว้ตายตัว ผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิจะได้รับสิทธิพิเศษเหนือกว่าผู้ถือหุ้นสามัญ เช่น ได้รับเงินปันผลก่อนหรือมากกว่าผู้ถือหุ้นสามัญ และมีสิทธิในทรัพย์สินของบริษัทก่อนผู้ถือหุ้นสามัญ (แต่หลังจากผู้เป็นเจ้าหนี้ของบริษัท) ในกรณีที่บริษัทจะต้องเลิกกิจการ  อย่างไรก็ตาม ผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิส่วนใหญ่มักจะไม่ได้รับสิทธิในการออกเสียง และการบริหารงานของบริษัท 
           2. ตราสารอนุพันธุ์ (Derivatives) หมายถึง ตราสารทางการเงินประเภทที่มูลค่า หรือราคาของตราสารนั้นเกี่ยวเนื่องอยู่กับมูลค่าของสินทรัพย์ที่ตราสารนั้นอิงอยู่ เช่น ตราสารสิทธิที่จะซื้อหรือขายหุ้น (Stock Options) เป็นตราสารอนุพันธุ์ เพราะราคาของตราสาร ดังกล่าวจะเกี่ยวโยงกับราคา ของหุ้นที่จะใช้ตราสารสิทธินั้นไปซื้อหรือขายได้ สัญญาซื้อขายดัชนีราคาหุ้นล่วงหน้า (Stock Index Futures) เป็นตราสารอนุพันธ์ เพราะราคาของตราสารนี้สืบเนื่องมาจากดัชนีราคาหุ้นที่ตราสารอิงอยู่ การจัดให้มีการซื้อขายตราสารอนุพันธ์จะช่วยให้ผู้เกี่ยวข้อง กับ ตลาดการเงินมีเครื่องมือไว้ปกป้อง และบริหารความเสี่ยงที่มีอยู่ และเป็นการเพิ่มช่องทางลงทุนซื้อขายที่หลากหลายยิ่งขึ้น 
           3. หน่วยลงทุน (Unit trust) หมายถึง หลักทรัพย์ที่ออกขายโดยบริษัทจัดการลงทุน เพื่อระดมเงินเข้ากองทุนรวมที่จัดตั้งขึ้น แล้วจัดสรรเงินในกองทุนนั้น ลงทุนในตลาดการเงินตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในหนังสือชี้ชวน เช่น ลงทุนซื้อหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์ ลงทุนในตราสารการเงิน ต่าง ๆ และฝากไว้กับสถาบันการเงิน เป็นต้น ผู้ถือหน่วยลงทุนมีฐานะร่วมเป็นเจ้าของกองทุนนั้น ๆ และมีสิทธิได้รับเงินปันผลตอบแทนจากผลกำไรที่เกิดขึ้น หากถือไว้จนถึงกำหนดไถ่ถอนก็จะได้รับส่วนแบ่งคืนจากเงินกองทุนตามสัดส่วนของ หน่วยลงทุนที่ถืออยู่ 
           อย่างไรก็ตาม มีกองทุนรวมอีกประเภทหนึ่ง ซึ่งมิได้นำเงินไปลงทุนในหลักทรัพย์ต่าง ๆ เหมือนกองทุนรวมทั่วไป เช่น กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ซึ่งบริษัทจัดการกองทุนรวมจัดตั้งขึ้น เพื่อนำเงินที่ได้จากการขายหน่วยลงทุนไปซื้อ หรือเช่าอสังหาริมทรัพย์และจัดหาผลประโยชน์จากอสังหาริมทรัพย์ดังกล่าว เป็นต้น 

 เครื่องมือทางการเงิน (Financial Instruments) หมายถึง หนังสือสำคัญซึ่งเป็นเอกสารแสดงสิทธิต่าง ๆ สิทธิในการเป็นเจ้าของ สิทธิในการเป็นเจ้าหนี้ สิทธิที่จะซื้อหรือขายหลักทรัพย์ ฯลฯ 

 

ตราสารหนี้ เช่น  พันธบัตร หุ้นกู้ ตั๋วสัญญาใช้เงิน

ผลตอบแทน/สิทธิชองผู้ถือ

1. ดอกเบี้ย

 2. กำไรจากการขายเปลี่ยนมือ

  ตราสารหุ้น เช่น

  หุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ

ผลตอบแทน/สิทธิชองผู้ถือ

1. เงินปันผล

   2. สิทธิในการบริหาร

   3. กำไรจากการขายเปลี่ยนมือ

   4. สิทธิจองหุ้นออกใหม่

 

ประเภทตราสารหนี้
 
หุ้นสามัญ (Common Stock)
เป็นตราสารประเภทหุ้นทุน ซึ่งออกโดยบริษัทมหาชนจำกัดที่ต้องการระดมเงินทุนจากประชาชน โดยผู้ถือหุ้นสามัญจะมีสิทธิร่วมเป็นเจ้าของบริษัท มีสิทธิในการออกเสียงลงมติในที่ประชุมผู้ถือหุ้นตามสัดส่วนของหุ้นที่ถือครองอยู่ 
 
 
- หุ้นบุริมสิทธิ (Preferred Stock) 
เป็นตราสารประเภทหุ้นทุนที่ผู้ถือมีส่วนร่วมเป็นเจ้าของกิจการเช่นเดียวกับหุ้นสามัญ มีข้อแตกต่างจากหุ้นสามัญคือ ผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิจะได้รับสิทธิในการชำระคืนเงินทุนก่อนผู้ถือหุ้นสามัญในกรณีที่บริษัทเลิกกิจการ
 
 
- ใบสำคัญแสดงสิทธิ หรือวอแรนท์ (Warrant)
เป็นตราสารที่ให้สิทธิแก่ผู้ถือในการซื้อหลักทรัพย์ที่ใบสำคัญแสดงสิทธินั้นอ้างอิงอยู่ (Underlying Asset) ตามราคาใช้สิทธิ ( Exercise Price) จำนวนที่ให้ใช้สิทธิ (นิยมใช้เป็นอัตราส่วน) และภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ล่วงหน้า
 
 
-

หน่วยลงทุน (Unit Trust) 
หลักทรัพย์ที่ออกขายโดยบริษัทจัดการลงทุนเพื่อระดมเงินเข้ากองทุนรวมที่จัดตั้งขึ้น แล้วจัดสรรเงินในกองทุนนั้นลงทุนในตลาดการเงินตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในหนังสือชี้ชวน ผู้ถือหน่วยลงทุนมีฐานะร่วมเป็นเจ้าของกองทุนนั้น ๆ และมีสิทธิได้รับเงินปันผลตอบแทนจากผลกำไรที่เกิดขึ้น 

   
- ใบแสดงสิทธิในผลประโยชน์ที่เกิดจากหลักทรัพย์อ้างอิงไทย หรือ เอ็นวีดีอาร์ (Non - Voting Depositary Receipt : NVDR) 
เป็นตราสารที่ออกโดยบริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำกัด มีสถานะเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนโดยอัตโนมัติ ( Automatic List) และมีหลักทรัพย์อ้างอิง ( Underlying Asset ) เป็นหุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ ใบสำคัญแสดงสิทธิ หรือใบสำคัญแสดงสิทธิในการซื้อหุ้นเพิ่มทุนที่โอนสิทธิได้ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ
 
 
- ใบแสดงสิทธิในผลประโยชน์ที่เกิดจากหลักทรัพย์อ้างอิง (Depository Receipt : DR)
เป็นตราสารที่ออกและเสนอขายโดยบริษัท สยามดีอาร์ จำกัด เป็นหลักทรัพย์ที่ให้สิทธิอ้างอิงอาจเป็นได้ทั้งหุ้นสามัญ หุ้นกู้ หุ้นกู้แปลงสภาพ ผู้ลงทุนที่ถือ DR จะได้รับสิทธิประโยชน์ต่างๆ เช่นเดียวกับผู้ถือหุ้นของบริษัทจดทะเบียนทุกประการ
   


หลักทรัพย์ที่สามารถซื้อขายได้ในตลาดหลักทรัพย์ SET และ mai (ณ วันที่ 1 พ.ย. 2550)

 

 

 

ตราสารอนุพันธ์ เช่น ใบสำคัญแสดงสิทธิการซื้อหุ้น (Warrant)

ผลตอบแทน/สิทธิชองผู้ถือ

กรณี (Warrant)

 1. ผลต่างระหว่างราคาใช้สิทธิในการซื้อหุ้นกับราคาตลาด 2. กำไรจากการขายเปลี่ยนมือ

 

1.       สัญญาซื้อขายล่วงหน้า หมายถึง ข้อตกลง หรือสัญญาซื้อขายสินทรัพย์อ้างอิงที่จัดทำขึ้น ณ เวลาปัจจุบันระหว่างผู้ซื้อ และผู้ขาย แต่จะมีการส่งมอบ และชำระราคาจริงในอนาคต ทั้งนี้ เมื่อคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายได้ตกลงทำสัญญากันแล้ว คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายต่างมีพันธะผูกพันต้องปฎิบัติตามข้อตกลงที่ได้กำหนดขึ้น ไม่สามารถบิดพริ้วได้ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการชำระราคา หรือการส่งมอบสินทรัพย์ โดยผู้ซื้อต้องรับมอบสินทรัพย์ และชำระราคาเมื่อถึงวันครบกำหนดตามข้อตกลง ในขณะที่ผู้ขายก็มีหน้าที่ต้องส่งมอบ และรับชำระราคาสินทรัพย์อ้างอิงนั้น 

2.  สัญญาสิทธิ หรือ ออปชัน (Option) หมายถึง ข้อตกลง หรือสัญญาที่ให้สิทธิแก่ผู้ถือครองในการซื้อ หรือขายสินทรัพย์อ้างอิงที่ได้กำหนดไว้ตามจำนวน ราคา และระยะเวลาที่กำหนดไว้ล่วงหน้า สัญญาประเภทนี้จะแตกต่างจากสัญญาซื้อขายล่วงหน้าตรงที่ ประการแรก เป็นสัญญาที่ให้สิทธิที่แก่ผู้ซื้อ หรือผู้ถือครอง โดยสามารถแบ่งออกได้เป็น สิทธิในการซื้อสินทรัพย์อ้างอิง หรือที่เรียกว่า “Call Option” และสิทธิในการขายสินทรัพย์อ้างอิง หรือที่เรียกกันว่า “Put Option” ประการที่สอง เนื่องจากเป็นเพียงการได้รับสิทธิ ดังนั้น ผู้ถือครองอาจเลือกที่จะใช้ หรือไม่ใช้สิทธินั้นก็ได้ ไม่ถือว่าเป็นภาระผูกพันที่ต้องซื้อ หรือ ขายสินทรัพย์อ้างอิงดังที่ระบุไว้ในข้อตกลงแต่อย่างใด ประการที่สาม เฉพาะในกรณีที่ผู้ถือครองเลือกใช้สิทธิตามสัญญาเท่านั้นที่ผู้ขายสัญญาจะมีภาระผูกพันต้องปฎิบัติตามสัญญาที่ตนเองเป็นผู้ออก ประการที่สี่ ราคาที่ใช้สำหรับซื้อ หรือ ขายสินทรัพย์อ้างอิงตามสิทธิที่กำหนดไว้ในสัญญา มีชื่อเรียกว่า “Exercise Price หรือ Strike Price” และประการสุดท้าย นอกเหนือจากราคาที่กำหนดให้ใช้สิทธิข้างต้น ผู้ถือครองยังต้องจ่ายค่าธรรมเนียม (Premium) ให้แก่ผู้ขายสัญญา เพื่อให้ได้สิทธิในการซื้อ หรือ ขายสินทรัพย์อ้างอิงตามที่สัญญานั้นได้กำหนดไว้

 

3.        สัญญาสวอป (Swap) หมายถึง ข้อตกลง หรือสัญญาที่จัดทำขึ้นระหว่างคู่สัญญาสองฝ่าย ที่มีความต้องการที่จะแลกเปลี่ยนสินทรัพย์อ้างอิง หรือตัวแปรอ้างอิงระหว่างกันตามจำนวนที่ระบุไว้ในอนาคต เพื่อให้เหมาะสมกับลักษณะของการดำเนินธุรกิจของตน โดยอาจมีสถาบันการเงินทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการแลกเปลี่ยน หรือเป็นคู่สัญญาอีกด้านหนึ่งให้แทนก็ได้ากการขายเปลี่ยนมือ

หน่วยลงทุน (Unit trust)

 

ผลตอบแทน/สิทธิชองผู้ถือ

  1. เงินปันผล

   2. กำไรจากการขายเปลี่ยนมือหรือขายคืน

 

 

นางสาวญานิชา  คำตัน  55127326073

 

เครื่องมือทางการเงิน (Financial Instruments) หมายถึง หนังสือสำคัญซึ่งเป็นเอกสารแสดงสิทธิต่าง ๆ เช่น สิทธิในการเป็นเจ้าของ สิทธิในการเป็นเจ้าหนี้ สิทธิที่จะซื้อหรือขายหลักทรัพย์ ฯลฯ ทั้งนี้ จะยกตัวอย่างตราสารทางการเงินชนิดต่าง ๆ ตามตาราง แสดงตัวอย่างของเครื่องมือทางการเงินชนิดต่าง ๆ ดังนี้ 1. ตราสารทุนหรือหุ้นทุน (Share) คือ ส่วนของทุนของกิจการที่ถูกแบ่งออกเป็นหุ้น ซึ่งแต่ละหุ้นจะให้อำนาจผู้ถือหุ้นในการเป็นเจ้าของของกิจการตามสัดส่วนของหุ้นที่ถือ ซึ่งหมายความรวมถึงการได้สิทธิในการได้รับส่วนแบ่งกำไรและสิทธิในการบริหาร ในที่นี้จะยกตัวอย่างหุ้นทุน 2 ประเภท คือ

               1.1 หุ้นสามัญ (Common Stock) คือ หลักทรัพย์ที่บริษัทออกจำหน่าย เพื่อให้สิทธิแก่ผู้ถือในการร่วมเป็นเจ้าของบริษัท ผู้ถือหุ้นสามัญมีสิทธิออกเสียงในที่ประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อร่วมตัดสินใจในการบริหาร การวางนโยบายการดำเนินการของบริษัท การเลือกตั้งกรรมการของบริษัท และเพื่อร่วมตัดสินใจในปัญหาสำคัญของบริษัท ผู้ถือหุ้นมีโอกาสที่จะได้รับผลตอบแทนในรูปของเงินปันผล เมื่อบริษัทมีกำไรและอนุมัติให้มีการจ่ายเงินปันผล หรือเมื่อราคาหุ้นในตลาดรองสูงขึ้นก็สามารถนำไปขาย เพื่อรับส่วนต่างจากราคาหุ้นที่ซื้อมา (Capital Gain) นอกจากนี้ ผู้ถือหุ้นจะได้รับสิทธิจองหุ้นใหม่ (Right) เมื่อบริษัทต้องการจะเพิ่มทุนด้วย

               1.2 หุ้นบุริมสิทธิ (Preferred Stock) เป็นหุ้นที่มีลักษณะกึ่งหนี้สินและกึ่งหุ้นสามัญ (Hybrid) มีราคาหน้าตั๋ว (Par Value) และมีอัตราเงินปันผลกำหนดไว้ตายตัว ผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิจะได้รับสิทธิพิเศษเหนือกว่าผู้ถือหุ้นสามัญ เช่น ได้รับเงินปันผลก่อนหรือมากกว่าผู้ถือหุ้นสามัญ และมีสิทธิในทรัพย์สินของบริษัทก่อนผู้ถือหุ้นสามัญ (แต่หลังจากผู้เป็นเจ้าหนี้ของบริษัท) ในกรณีที่บริษัทจะต้องเลิกกิจการ  อย่างไรก็ตาม ผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิส่วนใหญ่มักจะไม่ได้รับสิทธิในการออกเสียง และการบริหารงานของบริษัท

           2. ตราสารอนุพันธุ์ (Derivatives) หมายถึง ตราสารทางการเงินประเภทที่มูลค่า หรือราคาของตราสารนั้นเกี่ยวเนื่องอยู่กับมูลค่าของสินทรัพย์ที่ตราสารนั้นอิงอยู่ เช่น ตราสารสิทธิที่จะซื้อหรือขายหุ้น (Stock Options) เป็นตราสารอนุพันธุ์ เพราะราคาของตราสาร ดังกล่าวจะเกี่ยวโยงกับราคา ของหุ้นที่จะใช้ตราสารสิทธินั้นไปซื้อหรือขายได้ สัญญาซื้อขายดัชนีราคาหุ้นล่วงหน้า (Stock Index Futures) เป็นตราสารอนุพันธ์ เพราะราคาของตราสารนี้สืบเนื่องมาจากดัชนีราคาหุ้นที่ตราสารอิงอยู่ การจัดให้มีการซื้อขายตราสารอนุพันธ์จะช่วยให้ผู้เกี่ยวข้อง กับ ตลาดการเงินมีเครื่องมือไว้ปกป้อง และบริหารความเสี่ยงที่มีอยู่ และเป็นการเพิ่มช่องทางลงทุนซื้อขายที่หลากหลายยิ่งขึ้น
  1. สัญญาซื้อขายล่วงหน้า หมายถึง ข้อตกลง หรือสัญญาซื้อขายสินทรัพย์อ้างอิงที่จัดทำขึ้น ณ เวลาปัจจุบันระหว่างผู้ซื้อ และผู้ขาย แต่จะมีการส่งมอบ และชำระราคาจริงในอนาคต ทั้งนี้ เมื่อคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายได้ตกลงทำสัญญากันแล้ว คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายต่างมีพันธะผูกพันต้องปฎิบัติตามข้อตกลงที่ได้กำหนดขึ้น ไม่สามารถบิดพริ้วได้ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการชำระราคา หรือการส่งมอบสินทรัพย์ โดยผู้ซื้อต้องรับมอบสินทรัพย์ และชำระราคาเมื่อถึงวันครบกำหนดตามข้อตกลง ในขณะที่ผู้ขายก็มีหน้าที่ต้องส่งมอบ และรับชำระราคาสินทรัพย์อ้างอิงนั้น ซึ่งเราสามารถแบ่งสัญญาซื้อขายล่วงหน้าออกได้อีกเป็น 2 ประเภท คือ § ฟอร์เวิร์ด (Forward Contract) หมายถึง ข้อตกลง หรือสัญญาซื้อขายสินทรัพย์อ้างอิงล่วงหน้าระหว่างผู้ซื้อ และ ผู้ขายเองเป็นการส่วนตัว หรืออาจดำเนินการผ่านสถาบันการเงินก็ได้ โดยผู้ซื้อตกลงที่จะซื้อสินทรัพย์อ้างอิงในราคาที่กำหนดขึ้น ณ เวลาใดเวลาหนึ่งในอนาคต หรือที่เรียกกันว่า “Forward Price” ในขณะที่ผู้ขายตกลงที่จะขายสินทรัพย์ให้ตามเงื่อนไขที่ได้ตกลงไว้กับผู้ซื้อ และมีการส่งมอบสินทรัพย์อ้างอิง ตลอดจนการชำระราคาให้แก่กันจริงตามที่ตกลงในสัญญานั้นๆ อย่างไรก็ตาม เนื่องจากฟอร์เวิร์ดเกิดขึ้นจากการทำสัญญาส่วนตัวระหว่างคู่สัญญากันเอง เปรียบเสมือนดั่งเป็นสัญญาลูกผู้ชาย (Gentleman Agreement) ระหว่างกัน จึงไม่จำเป็นต้องมีการวางเงินประกัน หรือนำสินทรัพย์ใดๆ มาใช้ในการค้ำประกันสัญญาที่ได้จัดทำขึ้น การที่คู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจจะไม่ปฎิบัติตามสัญญาย่อมมีโอกาสเป็นไปได้สูง โดยเฉพาะในกรณีที่ราคาสินทรัพย์อ้างอิงมีความผันผวนอย่างมากภายหลังจากที่ได้ทำสัญญาไปแล้ว ดังนั้นก่อนที่จะตกลงทำสัญญาขึ้น ต้องพิจารณาถึงความสามารถ และความน่าเชื่อถือของคู่สัญญาในการปฎิบัติตามสัญญาที่ได้ทำขึ้นนั้นด้วย นอกจากนี้ การที่รายละเอียดของสัญญามีความยืดหยุ่นสูง สามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความต้องการของคู่สัญญาทั้งสองฝ่าย ทั้งในด้านคุณภาพของสินทรัพย์อ้างอิง ขนาดของสัญญา สถานที่ส่งมอบ วันครบกำหนดชำระราคา และกฎเกณฑ์ข้อบังคับต่างๆ ส่งผลให้การนำฟอร์เวิร์ดไปซื้อขายแลกเปลี่ยนมือในท้องตลาดเป็นไปได้ค่อนข้างยาก เรียกได้ว่า มีสภาพคล่องต่ำมาก หรือแทบไม่มีเลยก็ได้ ทั้งนี้ ฟอร์เวิร์ดมักถูกนิยมนำไปใช้กับการซื้อขายสินค้าโภคภัณฑ์ (Commodities) เช่น ข้าวเจ้า ข้าวโพด ถั่ว ล่วงหน้า นอกจากนี้ ยังถูกสถาบันการเงินนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารความเสี่ยงทางด้านอัตราดอกเบี้ย และอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราในอนาคตให้แก่ลูกค้าของตนด้วยครับ § ฟิวเจอร์ส (Futures Contract) หมายถึง ข้อตกลง หรือสัญญาซื้อขายสินทรัพย์ล่วงหน้าที่มีลักษณะลม้ายคล้ายคลึงกับฟอร์เวิร์ด แต่จะแตกต่างกันตรงที่ ประการแรก ตัวสัญญาฟิวเจอร์สจะมีความเป็นมาตรฐาน โดยมีการกำหนดรายละเอียด และเงื่อนไขไว้อย่างแน่นอน ทั้งในด้านคุณภาพของสินทรัพย์อ้างอิง ขนาดของสัญญา สถานที่ส่งมอบ และวันครบกำหนดชำระราคา ประการที่สอง การซื้อขายฟิวเจอร์สจะทำในตลาดล่วงหน้า (Futures Market) ที่มีการจัดตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการ (Organized Exchange) เท่านั้น โดยต้องซื้อขายผ่านนายหน้า (Broker) ที่เป็นบริษัทสมาชิกของตลาดล่วงหน้าแห่งนั้น และจากการที่เป็นสัญญามาตรฐาน และมีสถานที่ซื้อขายอย่างเป็นทางการนี้เอง จึงทำให้คู่สัญญาแต่ละฝ่ายสามารถนำฟิวเจอร์สไปซื้อขายแลกเปลี่ยนมือในท้องตลาดได้ง่าย ทำให้มีสภาพคล่องสูงกว่าฟอร์เวิร์ด ประการที่สาม ราคาที่ใช้สำหรับซื้อขายสินทรัพย์อ้างอิงตามที่กำหนดไว้ในสัญญา มีชื่อเรียกว่า “Futures Price” ประการที่สี่ มีการกำหนดบัญชีวงเงินประกัน (Margin Account) ของทั้งผู้ซื้อ และผู้ขาย รวมถึงมีการปรับมูลค่าทุกสิ้นวันทำการ (Daily Settlement) ทำให้สามารถรับรู้กำไร หรือขาดทุนได้ตลอดเวลาจนกว่าจะถึงวันที่ครบกำหนดตามข้อกตกลง ประการที่ห้า มีสำนักหักบัญชี (Clearing House) ดูแลในเรื่องการรับประกันการซื้อขายตามสัญญาที่ระบุไว้ โดยจะทำหน้าที่เป็นคู่สัญญาแทน (Central Counterparty)ให้กับทั้งผู้ซื้อ และผู้ขายด้วยครับ ประการที่หก มีองค์กรกำกับดูแลควบคุมให้การซื้อขายเป็นไปอย่างเป็นธรรม และโปร่งใส ทั้งนี้ สังเกตได้ว่า จากการที่ฟิวเจอร์สมีทั้งการกำหนดบัญชีวงเงินประกัน และมีสำนักหักบัญชี ตลอดจนองค์กรกำกับดูแลนี้เอง ที่ส่งผลให้ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการทำสัญญาฟิวเจอร์สมีน้อยกว่าฟอร์เวิร์ด และประการสุดท้าย การซื้อขายฟิวเจอร์สส่วนใหญ่จะไม่มีการส่งมอบสินทรัพย์จริงๆ เกิดขึ้นเหมือนกับกรณีของฟอร์เวิร์ด โดยคู่สัญญาสามารถล้าง หรือปิดฐานะ (Offset) ของตนเองลงได้ ไม่จำเป็นต้องมีพันธะผูกพันกันจนถึงวันครบกำหนดตามข้อตกลงแต่อย่างใด อย่างไรก็ตาม หากมีการถือครองจนถึงวันที่ครบกำหนดตามข้อตกลง ก็อาจใช้วิธีส่งมอบสินทรัพย์อ้างอิง และชำระราคาจริง (Physical Delivery) หรือจะใช้วิธีหักล้างกันด้วยเงินสด (Cash Settlement) แทนก็ได้ครับ
  2. สัญญาสิทธิ หรือ ออปชัน (Option) หมายถึง ข้อตกลง หรือสัญญาที่ให้สิทธิแก่ผู้ถือครองในการซื้อ หรือขายสินทรัพย์อ้างอิงที่ได้กำหนดไว้ตามจำนวน ราคา และระยะเวลาที่กำหนดไว้ล่วงหน้า สัญญาประเภทนี้จะแตกต่างจากสัญญาซื้อขายล่วงหน้าตรงที่ ประการแรก เป็นสัญญาที่ให้สิทธิที่แก่ผู้ซื้อ หรือผู้ถือครอง โดยสามารถแบ่งออกได้เป็น สิทธิในการซื้อสินทรัพย์อ้างอิง หรือที่เรียกว่า “Call Option” และสิทธิในการขายสินทรัพย์อ้างอิง หรือที่เรียกกันว่า “Put Option” ประการที่สอง เนื่องจากเป็นเพียงการได้รับสิทธิ ดังนั้น ผู้ถือครองอาจเลือกที่จะใช้ หรือไม่ใช้สิทธินั้นก็ได้ ไม่ถือว่าเป็นภาระผูกพันที่ต้องซื้อ หรือ ขายสินทรัพย์อ้างอิงดังที่ระบุไว้ในข้อตกลงแต่อย่างใด ประการที่สาม เฉพาะในกรณีที่ผู้ถือครองเลือกใช้สิทธิตามสัญญาเท่านั้นที่ผู้ขายสัญญาจะมีภาระผูกพันต้องปฎิบัติตามสัญญาที่ตนเองเป็นผู้ออก ประการที่สี่ ราคาที่ใช้สำหรับซื้อ หรือ ขายสินทรัพย์อ้างอิงตามสิทธิที่กำหนดไว้ในสัญญา มีชื่อเรียกว่า “Exercise Price หรือ Strike Price” และประการสุดท้าย นอกเหนือจากราคาที่กำหนดให้ใช้สิทธิข้างต้น ผู้ถือครองยังต้องจ่ายค่าธรรมเนียม (Premium) ให้แก่ผู้ขายสัญญา เพื่อให้ได้สิทธิในการซื้อ หรือ ขายสินทรัพย์อ้างอิงตามที่สัญญานั้นได้กำหนดไว้
  3. สัญญาสวอป (Swap) หมายถึง ข้อตกลง หรือสัญญาที่จัดทำขึ้นระหว่างคู่สัญญาสองฝ่าย ที่มีความต้องการที่จะแลกเปลี่ยนสินทรัพย์อ้างอิง หรือตัวแปรอ้างอิงระหว่างกันตามจำนวนที่ระบุไว้ในอนาคต เพื่อให้เหมาะสมกับลักษณะของการดำเนินธุรกิจของตน โดยอาจมีสถาบันการเงินทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการแลกเปลี่ยน หรือเป็นคู่สัญญาอีกด้านหนึ่งให้แทนก็ได้

  4. หน่วยลงทุน (Unit trust) หมายถึง หลักทรัพย์ที่ออกขายโดยบริษัทจัดการลงทุน เพื่อระดมเงินเข้ากองทุนรวมที่จัดตั้งขึ้น แล้วจัดสรรเงินในกองทุนนั้น ลงทุนในตลาดการเงินตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในหนังสือชี้ชวน เช่น ลงทุนซื้อหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์ ลงทุนในตราสารการเงิน ต่าง ๆ และฝากไว้กับสถาบันการเงิน เป็นต้น ผู้ถือหน่วยลงทุนมีฐานะร่วมเป็นเจ้าของกองทุนนั้น ๆ และมีสิทธิได้รับเงินปันผลตอบแทนจากผลกำไรที่เกิดขึ้น หากถือไว้จนถึงกำหนดไถ่ถอนก็จะได้รับส่วนแบ่งคืนจากเงินกองทุนตามสัดส่วนของหน่วยลงทุนที่ถืออยู่

นางสาวธนพร ชลูดดง 55127326057

ตราสารทางการเงิน (Financial Instruments) คือ หลักฐานแสดงการถือครองและสิทธิเรียกร้องต่างๆ ที่บริษัทผู้ออก หลักทรัพย์นำออกมาจำหน่ายเพื่อระดมเงินจากผู้ลงทุน และนำมาจดทะเบียนเพื่อให้มีการซื้อขายในตลาดรอง ซึ่งปัจจุบันมี ตราสารทางการเงินที่ซื้อขายกันในตลาดรองมากกว่า 1,000 ชนิด ทำให้ผู้ลงทุนมีทางเลือกการลงทุนที่หลากหลาย ตลอดจนสามารถกระจายการลงทุนได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

 ตราสารทางการเงินที่ทำการซื้อขายในปัจจุบันสามารถแบ่งออกเป็น 4 กลุ่มใหญ่ๆ คือ..

ตราสารทุน

  เป็นตราสารที่ให้สิทธิการเป็น “เจ้าของกิจการ” แก่ผู้ลงทุน ดังนั้น ในฐานะเจ้าของกิจการ ผู้ลงทุนจึงมีโอกาสที่จะได้รับผลตอบแทนที่ดีถ้ากิจการมีผลการดำเนินงานดี และมีความเสี่ยงที่จะขาดทุนหรือไม่ได้ผลตอบแทนถ้าผลการ

ดำเนินงานของกิจการไม่เป็นไปตามที่คาดหมาย

ตราสารหนี้

  เป็นตราสารที่ให้สิทธิการเป็น “เจ้าหนี้ของกิจการ” แก่ผู้ลงทุน ซึ่งในฐานะเจ้าหนี้ ผู้ลงทุนจะได้รับผลตอบแทนหรือ

ผลประโยชน์อื่นๆ ตามที่ได้มีการกำหนดไว้ โดยผู้ออกตราสารหนี้จะระบุอัตราผลตอบแทน กำหนดวันจ่ายดอกเบี้ย และ วันครบอายุหรือกำหนดไถ่ถอนตราสารไว้อย่างชัดเจน

หน่วยการลงทุน

  เป็นตราสารที่ออกจำหน่ายและบริหารการลงทุนโดยบริษัทหลักทรัพย์จัดการลงทุน (บลจ.) เพื่อระดมเงินเข้า 

“กองทุนรวม” ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อลงทุนตามวัตถุประสงค์และนโยบายการลงทุนที่ระบุไว้ในหนังสือชี้ชวน ผู้ลงทุนมีฐานะเป็น “เจ้าของร่วมในทรัพย์สินของกองทุนรวม” จึงมีส่วนได้ส่วนเสียและได้รับผลตอบแทนตามผลการดำเนินงานของกองทุน ซึ่งจุดเด่นของการลงทุนในกองทุนรวมก็คือ การมีบริษัทหลักทรัพย์จัดการลงทุนดูแลการลงทุนให้ จึงเหมาะสำหรับผู้ลงทุนที่ไม่มีเวลาดูแลการลงทุนด้วยตัวเอง

ตราสารอนุพันธ์

  เป็นสัญญาทางการเงินที่ทำขึ้นในปัจจุบัน เพื่อตกลงซื้อขายหรือให้สิทธิในการซื้อขายสินทรัพย์อ้างอิง (Underlying Asset) เช่น หุ้นสามัญ ดัชนีหลักทรัพย์ อัตราแลกเปลี่ยน ทองคำ น้ำมัน ฯลฯ ในอนาคต กล่าวคือ ทำสัญญาตกลงกันวันนี้ว่าจะซื้อหรือขายสินทรัพย์อ้างอิงจำนวนกี่หน่วย ที่ราคาเท่าใด แล้วจะส่งมอบและชำระราคากันเมื่อใด ลักษณะเฉพาะของตราสารอนุพันธ์ คือ “มีอายุสัญญาจำกัด” เมื่อครบอายุสัญญา มูลค่าของตราสารก็จะหมดลง นอกจากนี้ ราคา

ตราสารอนุพันธ์ก็จะผันผวนไปตามราคาสินทรัพย์อ้างอิง ผู้ลงทุนจึงมักใช้ตราสารอนุพันธ์เป็นเครื่องมือเพื่อป้องกัน ความเสี่ยง

พันธบัตร (Bond) เป็นสัญญาที่ออกโดยผู้ขอกู้ยืม โดยจะมีสัญญาข้อผูกมัดที่ว่า ผู้ออกพันธบัตร (หรือผู้ขอกู้ยืม) จะต้องจ่ายผลตอบแทน (ดอกเบี้ย) ให้กับผู้ถือพันธบัตร (ผู้ให้กู้) ตามอัตราและระยะเวลาที่กำหนดไว้ในพันธบัตร พันธบัตรที่ไม่ระบุดอกเบี้ย (Zero Coupon Bond) : คือพันธบัตรที่ไม่มีการจ่ายผลตอบแทน หรือดอกเบี้ยให้กับผู้ถือเป็นงวดๆ หากแต่จะจ่ายในรูปของภารรับซื้อคืนในราคาที่สูงขึ้น จากราคาที่ผู้ออกขายให้ผู้ถือในตอนแรก ณ วันครบกำหนดไถ่ถอน พันธบัตรที่ระบุดอกเบี้ย (Coupon Bond) : คือพันธบัตรที่มีสัญญาข้อผูกมัดที่ว่า ผู้ออกพันธบัตรจะต้องจ่ายผลตอบแทน (ดอกเบี้ย) ให้กับผู้ถือพันธบัตรตามอัตราและ ระยะเวลาที่กำหนดไว้ในพันธบัตร และรับซื้อพันธบัตรคืนที่ราคาหน้าตั๋วที่วันครบกำหนดอายุไถ่ถอน พันธบัตรที่มีการจ่ายดอกเบี้ยในแบบอัตราดอกเบี้ยลอยตัว (Floating rate bond) : คือพันธบัตรที่ลดอัตราเสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยของผู้ถือพันธบัตรให้ต่ำที่สุด โดยอัตราดอกเบี้ยที่ผู้ออกพันธบัตรจะจ่ายให้กับผู้ถือนั้น จะเป็นอัตราที่สอดคล้องกับอัตราดอกเบี้ยของตลาดขณะนั้น พันธบัตรที่สามารถเรียกคืนได้ (Collable bond) : คือ พันธบัตรที่ผู้ออกสามารถขอซื้อคืนตามราคาที่กำหนดไว้ก่อนวันครบกำหนดไถ่ถอน

เช็คคือ ตราสารซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกว่าผู้สั่งจ่ายสั่งให้ธนาคารให้ใช้เงินจำนวนหนึ่งเมื่อทวงถามให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่งหรือให้ใช้ตามคำสั่งของบุคคลอีกคนหนึ่งอันเรียกว่า ผู้รับเงิน โดยเช็คเป็นอีกหนึ่งทางเลือกในการบริหารเงินสดครับ เราสามารถจำแนกคู่สัญญาออกได้ดังนี้ 1. ผู้สั่งจ่ายเช็ค (Drawer) คือเจ้าของบัญชีกระแสรายวันที่เปิดบัญชีไว้กับธนาคาร ผู้เขียนสั่งจ่ายหรือออกเช็ค 2. ธนาคาร(Banker) คือธนาคารผู้รับฝากเงินประเภทกระแสรายวันที่ผู้สั่งจ่ายเช็คเปิดบัญชีไว้ 3. ผู้รับเงิน(Payee) คือผู้มีสิทธิที่จะขึ้นเงินตามเช็คนั้นในฐานะผู้ทรง(Holder) ทั้งนี้ผู้ทรงอาจมีฐานะเป็นผู้มีชื่อเป็นผู้รับเงินตามที่ปรากฎในเช็คนั้น หรืออาจเป็นผู้รับเงินในฐานะ ผู้รับสลักหลัง หรือในฐานะผู้ถือได้

หุ้นสามัญ (Common Stocks หรือ Ordinary Shares) คือ ตราสารสิทธิที่แสดงความเป็นเจ้าของกิจการ และเมื่อกิจการมีกำไรจากการดำเนินงาน ผู้ถือหุ้นสามัญจะได้รับเงินปันผลในอัตราที่จัดสรรโดยที่ประชุมใหญ่ผู้ถือหุ้น โดยคำนวณตามสัดส่วนของจำนวนหุ้นที่ถือครอง ทั้งนี้ เงินปันผลอาจมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับผลกำไรจากการดำเนินงานประจำปีของกิจการ

    หุ้นสามัญ ( Common Stock ) เป็นตราสารประเภทหุ้นทุน ซึ่งออกโดยบริษัทมหาชนจำกัดที่ต้องการระดมเงินทุนจากประชาชน โดยผู้ถือหุ้นสามัญจะมีสิทธิร่วมเป็นเจ้าของบริษัท มีสิทธิในการออกเสียงลงมติในที่ประชุมผู้ถือหุ้นตามสัดส่วนของหุ้นที่ถือครองอยู่ กล่าวคือ ร่วมเป็นผู้ตัดสินใจในปัญหาสำคัญในที่ประชุมผู้ถือหุ้น อาทิ การเพิ่มทุน การจ่ายเงินปันผล การควบรวมกิจการ นอกจากนี้ ผู้ถือหุ้นสามัญยังมีสิทธิได้รับเงินปันผลเมื่อบริษัทมีผลกำไร และมีโอกาสได้รับกำไรจากส่วนต่างของราคาเมื่อราคาหลักทรัพย์ปรับตัวสูงขึ้นตามศักยภาพของบริษัท รวมถึงมีโอกาสได้รับสิทธิในการจองซื้อหุ้นออกใหม่เมื่อบริษัทเพิ่มทุนหรือจัดสรรใบสำคัญแสดงสิทธิต่างๆ ให้แก่ผู้ถือหุ้น 

หุ้นบุริมสิทธิ (Preferred Stock) เป็นตราสารประเภททุนชนิดหนึ่งที่มีลักษณะกึ่งหนี้และกึ่งเจ้าของลักษณะที่คล้ายหนี้สิน คือ เงินปันผลของหุ้นบุริมสิทธิเป็นอัตราตายตัวและถือเป็นค่าใช้จ่ายคงที่ของบริษัทแม้ว่าบริษัทอาจงดจ่ายเงินปันผลในปีที่ไม่มีกำไรหรือภาวะทางการเงินไม่อำนวย ส่วนลักษณะที่คล้ายเจ้าของ คือ ในกรณีที่บริษัทเลิกกิจการ ผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิเรียกร้องในสินทรัพย์ของบริษัทภายหลังเจ้าหนี้แต่ก่อนหุ้นสามัญ แต่ถ้าไม่มีสินทรัพย์เหลือหลังการชำระคืนเจ้าหนี้แล้ว ผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิก็จะไม่ได้รับทุนคืนเช่นเดียวกับหุ้นสามัญ ประเภทของหุ้นบุริมสิทธิ มีดังนี้

1) หุ้นบุริมสิทธิชนิดสะสม (Cumulative Preferred Stock) คือ หุ้นบุริมสิทธิชนิดที่ผู้ถือหุ้นมีสิทธิ์ได้รับเงินปันผลในปีที่ไม่ได้ประกาศจ่ายเงินปันผล 2) หุ้นบุริมสิทธิชนิดไม่สะสม (Non – Cumulative Preferred Stock) คือ หุ้นบุริมสิทธิชนิดที่หากปีใดไม่ได้จ่ายเงินปันผล จะไม่สามารถยกยอดไปจ่ายในปีถัดไป 3) หุ้นบุริมสิทธิชนิดร่วมรับ (Participating Preferred Stock) คือ หุ้นบุริมสิทธิที่ผู้ถือห้นมีสิทธิ์ได้รับเงินปันผลร่วมกับผู้ถือหุ้นสามัญอีก หลังจากที่ได้รับเงินปันผลในอัตราที่กำหนดแล้ว 4) หุ้นบุริมสิทธิชนิดไม่ร่วมรับ (Non – Participating Preferred Stock) คือ หุ้นบุริมสิทธิที่ได้รับเงินปันผลตามอัตราที่กำหนดเท่านั้น

ข้อดีของการจัดหาเงินทุนโดยการออกหุ้นบุริมสิทธิ 1. มีความคล่องตัวและความยืดหยุ่น กล่าวคือ เงินปันผลจ่ายหุ้นบุริมสิทธิไม่เป็นภาระผูกพันที่ต้องจ่ายประจำเมื่อเปรียบเทียบกับดอกเบี้ยจ่ายให้หุ้นกู้ซึ่งมีฐานะเป็นหนี้สินของกิจการ 2. ไม่มีกำหนดเวลาไถ่ถอนคืน ทำให้ธุรกิจไม่ต้องเตรียมจัดสรรเงินทุนไว้เพื่อไถ่ถอน 3. หุ้นบุริมสิทธิถือเป็นส่วนของเจ้าของ ดังนั้น การออกหุ้นบุริมสิทธิจึงยังทำให้บริษัทรักษาฐานะและอำนาจใกนารก่อหนี้ไว้ได้ ถ้ามีความจำเป็นต้องจัดหาเงินทุนเพิ่มเติมในอนาคต 4. การออกหุ้นบุริมสิทธิ ทำให้กิจการอาจไม่จำเป็นต้องออกหุ้นสามัญอีก ดังนั้น จึงไม่กระทบกระเทือนราคาหุ้นสามัญ 5. การออกหุ้นบุริมสิทธิไม่ต้องมีสินทรัพย์ค้ำประกัน ทำให้กิจการสามารถนำสินทรัพย์ที่มีอยู่ไปค้ำประกันหนี้ชนิดอื่นได้ .ข้อเสียของการจัดหาเงินทุนโดยวีการออกหุ้นบุริมสิทธิ 1. อัตราเงินปันผลจ่ายหุ้นบุริมสิทธิสูงกว่าอัตราดอกเบี้ยของหุ้นกู้ 2. เงินปันผลของหุ้นบุริมสิทธิไม่ถือเป็นค่าใช้จ่ายที่นำไปหักภาษีในการคำนวณหากำไรสุทธิ 3. ค่าใช้จ่ายในการจัดหาเงินทุนโดยการออกหุ้นบุริมสิทธิ เช่น ค่าใช้จ่ายในการจัดจำหน่าย ค่านายหน้า มักสูงกว่าหุ้นกู้ 4. ความนิยมลงทุนในหุ้นบุริมสิทธิมีน้อย เนื่องจากข้อเสียเปรียบบางประการสำหรับผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิ เช่น ไม่มีสิทธิออกเสียงในการบริหารงาน ดังนั้นการจัดหาเงินทุนโดยการออกหุ้นบุริมสิทธิจึงมีความเสี่ยงต่อการไม่สามารถจัดหาเงินทุนได้ครบตามจำนวนที่ต้องการเนื่องจากขายไม่ได้

About these ads

เครื่องมือทางการเงิน (Financial Instruments) หมายถึง หนังสือสำคัญซึ่งเป็นเอกสารแสดงสิทธิต่าง ๆ เช่น สิทธิในการเป็นเจ้าของ สิทธิในการเป็นเจ้าหนี้ สิทธิที่จะซื้อหรือขายหลักทรัพย์ ฯลฯ ทั้งนี้ จะยกตัวอย่างตราสารทางการเงินชนิดต่าง ๆ ตามตาราง แสดงตัวอย่างของเครื่องมือทางการเงินชนิดต่าง ๆ ดังนี้ 1. ตราสารทุนหรือหุ้นทุน (Share) คือ ส่วนของทุนของกิจการที่ถูกแบ่งออกเป็นหุ้น ซึ่งแต่ละหุ้นจะให้อำนาจผู้ถือหุ้นในการเป็นเจ้าของของกิจการตามสัดส่วนของหุ้นที่ถือ ซึ่งหมายความรวมถึงการได้สิทธิในการได้รับส่วนแบ่งกำไรและสิทธิในการบริหาร ในที่นี้จะยกตัวอย่างหุ้นทุน 2 ประเภท คือ

     1. ตราสารทุนหรือหุ้นทุน (Share) คือ ส่วนของทุนของกิจการที่ถูกแบ่งออกเป็นหุ้น ซึ่งแต่ละหุ้นจะให้อำนาจผู้ถือหุ้นในการเป็นเจ้าของของกิจการตามสัดส่วนของหุ้นที่ถือ ซึ่งหมายความรวมถึงการได้สิทธิในการได้รับส่วนแบ่งกำไรและสิทธิในการบริหาร ในที่นี้จะยกตัวอย่างหุ้นทุน 2 ประเภท คือ

               1.1 หุ้นสามัญ (Common Stock) คือ หลักทรัพย์ที่บริษัทออกจำหน่าย เพื่อให้สิทธิแก่ผู้ถือในการร่วมเป็นเจ้าของบริษัท ผู้ถือหุ้นสามัญมีสิทธิออกเสียงในที่ประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อร่วมตัดสินใจในการบริหาร การวางนโยบายการดำเนินการของบริษัท การเลือกตั้งกรรมการของบริษัท และเพื่อร่วมตัดสินใจในปัญหาสำคัญของบริษัท ผู้ถือหุ้นมีโอกาสที่จะได้รับผลตอบแทนในรูปของเงินปันผล เมื่อบริษัทมีกำไรและอนุมัติให้มีการจ่ายเงินปันผล หรือเมื่อราคาหุ้นในตลาดรองสูงขึ้นก็สามารถนำไปขาย เพื่อรับส่วนต่างจากราคาหุ้นที่ซื้อมา (Capital Gain) นอกจากนี้ ผู้ถือหุ้นจะได้รับสิทธิจองหุ้นใหม่ (Right) เมื่อบริษัทต้องการจะเพิ่มทุนด้วย

               1.2 หุ้นบุริมสิทธิ (Preferred Stock) เป็นหุ้นที่มีลักษณะกึ่งหนี้สินและกึ่งหุ้นสามัญ (Hybrid) มีราคาหน้าตั๋ว (Par Value) และมีอัตราเงินปันผลกำหนดไว้ตายตัว ผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิจะได้รับสิทธิพิเศษเหนือกว่าผู้ถือหุ้นสามัญ เช่น ได้รับเงินปันผลก่อนหรือมากกว่าผู้ถือหุ้นสามัญ และมีสิทธิในทรัพย์สินของบริษัทก่อนผู้ถือหุ้นสามัญ (แต่หลังจากผู้เป็นเจ้าหนี้ของบริษัท) ในกรณีที่บริษัทจะต้องเลิกกิจการ  อย่างไรก็ตาม ผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิส่วนใหญ่มักจะไม่ได้รับสิทธิในการออกเสียง และการบริหารงานของบริษัท

           2. ตราสารอนุพันธุ์ (Derivatives) หมายถึง ตราสารทางการเงินประเภทที่มูลค่า หรือราคาของตราสารนั้นเกี่ยวเนื่องอยู่กับมูลค่าของสินทรัพย์ที่ตราสารนั้นอิงอยู่ เช่น ตราสารสิทธิที่จะซื้อหรือขายหุ้น (Stock Options) เป็นตราสารอนุพันธุ์ เพราะราคาของตราสาร ดังกล่าวจะเกี่ยวโยงกับราคา ของหุ้นที่จะใช้ตราสารสิทธินั้นไปซื้อหรือขายได้ สัญญาซื้อขายดัชนีราคาหุ้นล่วงหน้า (Stock Index Futures) เป็นตราสารอนุพันธ์ เพราะราคาของตราสารนี้สืบเนื่องมาจากดัชนีราคาหุ้นที่ตราสารอิงอยู่ การจัดให้มีการซื้อขายตราสารอนุพันธ์จะช่วยให้ผู้เกี่ยวข้อง กับ ตลาดการเงินมีเครื่องมือไว้ปกป้อง และบริหารความเสี่ยงที่มีอยู่ และเป็นการเพิ่มช่องทางลงทุนซื้อขายที่หลากหลายยิ่งขึ้น

สรุปความสำคัญของตราสารอนุพันธุ์ 1. เป็นการตกลงทำธุรกรรมซื้อขายกันล่วงหน้าระหว่างคู่สัญญาสองฝ่าย ซึ่งได้แก่ ผู้ซื้อล่วงหน้า และผู้ขายล่วงหน้า โดยมีการตกลงรายละเอียดกัน ณ เวลาปัจจุบัน แต่จะมีการส่งมอบ และชำระราคากันจริงในอนาคต กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ การซื้อขายยังไม่เกิดขึ้น ณ เวลาปัจจุบัน แต่จะไปเกิดขึ้นจริงในอนาคตแทนนั่นเอง 2. มีค่าเกี่ยวเนื่อง หรือขึ้นอยู่กับสินทรัพย์ที่ถูกนำมาใช้อ้างอิงในการซื้อขายนั้น ซึ่งอาจเป็นสินทรัพย์ที่มีตัวตนจับต้องได้ (Physical Asset) เช่น ยางพารา ข้าว มันสำปะหลัง หรืออาจเป็นสินทรัพย์ทางการเงิน (Financial Asset) เช่น พันธบัตร หุ้นสามัญ ก็ได้ นอกจากนี้ ยังสามารถมีค่าเกี่ยวเนื่องกับตัวแปรอ้างอิง (Underlying Variable) ใดๆ ที่ถูกกำหนดขึ้นมา เช่น ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ และอัตราดอกเบี้ยได้เช่นเดียวกัน 3. มีการกำหนดระยะเวลาในการปฎิบัติตามภาระผูกพัน หรือใช้สิทธิของคู่สัญญา กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ ตราสารอนุพันธ์มีอายุจำกัดนั่นเอง 4. มีการกำหนดพันธะผูกพัน (Obligation) หรือให้สิทธิ (Right) แก่คู่สัญญาในการซื้อ หรือขายสินทรัพย์อ้างอิง หรือตัวแปรอ้างอิง ณ เวลาใด

           3. หน่วยลงทุน (Unit trust) หมายถึง หลักทรัพย์ที่ออกขายโดยบริษัทจัดการลงทุน เพื่อระดมเงินเข้ากองทุนรวมที่จัดตั้งขึ้น แล้วจัดสรรเงินในกองทุนนั้น ลงทุนในตลาดการเงินตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในหนังสือชี้ชวน เช่น ลงทุนซื้อหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์ ลงทุนในตราสารการเงิน ต่าง ๆ และฝากไว้กับสถาบันการเงิน เป็นต้น ผู้ถือหน่วยลงทุนมีฐานะร่วมเป็นเจ้าของกองทุนนั้น ๆ และมีสิทธิได้รับเงินปันผลตอบแทนจากผลกำไรที่เกิดขึ้น หากถือไว้จนถึงกำหนดไถ่ถอนก็จะได้รับส่วนแบ่งคืนจากเงินกองทุนตามสัดส่วนของหน่วยลงทุนที่ถืออยู่

นางสาวสุภาลักษณ์ นินทะสิงห์ 55127326067

ตราสารหนี้ เป็นตราสารการเงินที่เป็นสัญญาแสดงความเป็นหนี้ระหว่างผู้ออก และผู้ถือตราสารหนี้ (หรือที่เรียกว่า “ผู้ลงทุน” ) ตราสารหนี้ต้องมีกำหนดอายุและอัตราดอกเบี้ยหรือผลประโยชน์อื่นใดเป็นจำนวนที่แน่นอน โดยระบุวันที่ชำระดอกเบี้ยและเงินต้นล่วงหน้าตั้งแต่เมื่อออกตราสารนั้น และในระหว่างที่ยังไม่ครบกำหนดอายุ รวมถึงวันไถ่ถอน นอกจากนี้ ตราสารหนี้ยังสามารถซื้อขายโอนเปลี่ยนมือกันได้

ผู้ออกตราสารหนี้คือผู้กู้เงินจากผู้ที่ซื้อตราสารหนี้ ดังนั้น ผู้ออกจึงเป็น “ลูกหนี้” ในขณะที่ผู้ซื้อ คือ “ผู้ให้กู้” หรือ “ เจ้าหนี้” นั่นเอง ซึ่งแตกต่างจากตราสารทุนหรือหุ้นสามัญที่ผู้ถือตราสารทุนนั้นจะลงทุนในส่วนของผู้ถือหุ้น และมีส่วนร่วมเป็นเจ้าของกิจการนั้นๆ ไม่ใช่เป็นเจ้าหนี้

ตราสารหนี้ เป็นคำศัพท์กว้างๆ แต่ที่ท่านอาจคุ้นเคยมากกว่า คือ “พันธบัตร” และ “หุ้นกู้” โดยพันธบัตรมักใช้เรียกตราสารหนี้ที่ออกโดยรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจ ส่วนหุ้นกู้จะถูกเรียกใช้เมื่อออกโดยบริษัทเอกชน ในต่างประเทศจะใช้คำว่า “Bond” สำหรับตราสารหนี้ทั่วไปทั้งที่ออกโดยรัฐบาลและเอกชน แต่จะมีในบางกรณีที่อาจจะเรียกว่า “Debenture” เมื่อตราสารหนี้นั้นไม่มีหลักทรัพย์ค้ำประกัน

นักลงทุนสามารถซื้อขายตราสารหนี้ได้ที่ตลาดตราสารหนี้ ( Bond Electronic Exchange: BEX) ซึ่งเปิดให้บริการการซื้อขายแก่นักลงทุนทั่วไปตั้งแต่วันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 ที่ผ่านมา ด้วยระบบการซื้อขายแบบเรียลไทม์ นำเสนอข้อมูลที่โปร่งใส ตลอดจนถึงกระบวนการส่งมอบและชำระราคาที่เชื่อถือได้ เพื่อที่จะพัฒนาตลาดตราสารหนี้ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ทั้งในด้านปริมาณการซื้อขาย คุณภาพของตราสารหนี้ ตัวกลางการซื้อขาย แหล่งข้อมูลอ้างอิง รวมถึงการขยายขอบเขตการพัฒนาให้กว้างขวางขึ้น และครอบคลุมการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศไทยทั้งหมด เพื่อให้รองรับต่อแนวนโยบายของภาครัฐในเรื่องตลาดพันธบัตรแห่งเอเชีย โดยมีเป้าหมายในการดำเนินการตลาดรองตราสารหนี้ที่สมบูรณ์แบบของประเทศไทย ซึ่งสามารถให้บริการครอบคลุมผู้ลงทุนและผู้ค้าตราสารหนี้ทั้งหมด

---หุ้นกู้ ( DEBENTURE , CORPORATE BOND ) คือ เอกสารที่แสดงสิทธิเป็นเจ้าหนี้ของบริษัท หรือ กิจการใดกิจการหนึ่ง

  บริษัทออกหุ้นกู้เพื่อระดมทุนขยายกิจการ  แต่ทำในรูปของการกู้ยืมประชาชนโดยกำหนดระยะเวลา  และอัตราดอกเบี้ยที่แน่นอน  (  ว่าเป็นคงที่หรือลอยตัวตามอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง  )  โดยทั่วไปหุ้นกู้จะมีอายุ  3-7  ปี  ดอกเบี้ยมักสูงกว่าดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร   แต่เป็นการกู้ที่ไม่มีหลักประกัน  การจ่ายดอกเบี้ยจะจ่ายเป็นงวดๆ   เมื่อครบกำหนดผู้ลงทุนจะได้รับเงินต้นคืน
  บริษัทเลือกจะกู้เงินจากประชาชนโดยตรง  เพราะอัตราดอกเบี้ยถูกกว่าการกู้เงินจากธนาคาร  ระยะเวลากู้ยาวนานกว่า  ทำให้บริหารเงินได้ง่าย  หรือ  อยู่ในภาวะที่ธนาคารอาจไม่ยอมปล่อยกู้เพิ่มเติมให้แล้ว  จึงต้องหาช่องทางกู้เงินจากประชาชนแทน
  ส่วนผู้ลงทุนซื้อหุ้นกู้  เพราะ  ต้องการผลตอบแทนที่สูงกว่าฝากธนาคาร  ,  มีผลตอบแทนคงที่  และยังสามารถทำกำไรได้จากการขายหุ้นกู้  ในกรณีที่อัตราดอกเบี้ยในตลาดมีแนวโน้มลดลง  หุ้นกู้จะมีราคาสูงขึ้น
 หุ้นกู้มีหลายประเภท  เช่น
 - หุ้นกู้แปลงสภาพ  คือ  หุ้นกู้ที่ได้รับสิทธิพิเศษสามารถเลือกแปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญได้  หรือจะถือเป็นหุ้นกู้ต่อเพื่อรับดอกเบี้ยตามที่ระบุไว้  จนครบกำหนดก็ได้   ผู้ลงทุนจะใช้สิทธิแปลงสภาพก็ต่อเมื่อราคาหุ้นสามัญอยู่สูงกว่าราคาแปลงสภาพ
 - หุ้นกู้มีหลักประกัน  คือ  หุ้นกู้ที่มีสถาบันการเงิน  หรือ  บริษัทอื่นที่มั่นคงกว่ามาค้ำประกันหนี้สินให้  หรือ  บริษัทผู้ออกหุ้นกู้  อาจยินยอมให้เอาทรัพย์สิน  เช่น  ที่ดิน  ,ตัวโรงงาน  มาค้ำประกันหนี้สิน
 - หุ้นกู้ด้อยสิทธิ์  คือหุ้นกู้ที่กำหนดให้มีสิทธิเรียกร้องต่อบริษัทเป็นลำดับท้ายๆในกลุ่มหุ้นกู้ด้วยกันในกรณีที่บริษัทปิดกิจการลง  แต่มักให้ดอกเบี้ยสูงมาก
   หมายเหตุ  ลำดับสิทธิ์ในการเรียกร้องต่อสินทรัพย์ของบริษัท  ในกรณีที่บริษัทใดบริษัทหนึ่งปิดกิจการ  คือ รัฐบาล  (  กรมสรรพากร  ) , พนักงาน ลูกจ้าง  ,  เจ้าหนี้หรือผู้ถือหุ้นกู้มีหลักประกัน  , เจ้าหนี้การค้า  ,  เจ้าหนี้ทั่วไป  ,  ผู้ถือหุ้นกู้  ,  หุ้นกู้ด้อยสิทธิ์  ,  หุ้นบุริมสิทธิ์  และหุ้นสามัญ

---พันธบัตร ( GOVERNMENT BOND ) คือ หุ้นกู้ที่ออกโดยรัฐบาล หรือรัฐวิสาหกิจโดยมีรัฐบาลค้ำประกัน ความเสี่ยงจากการไม่ได้เงินลงทุนคืนจึงแทบไม่มี ดอกเบี้ยมักจะต่ำกว่าหุ้นกู้ทั่วไป แต่ยังคงสูงกว่าดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร เนื่องจากระยะถือครองยาวนานกว่า

ผู้ชายคนนี้เป็นคนที่ฉันรักที่สุดในโลก รักพ่อค่ะ

ความรู้สึกที่มีต่อพ่อ

คำว่า “ พ่อ ” มีความสำคัญต่อชีวิตของฉัน เพราะ พ่อเป็นทั้งผู้ให้กำเนิด เป็นผู้ให้ชีวิตและความรักที่งดงาม ฉันดีใจที่ได้เกิดมาเป็นลูกพ่อ เพราะ พ่อจะพูดให้ลูกได้คิด และ ใช้ชีวิตที่ได้จากคำพูดของท่านไปเป็นข้อคิดเตือนตัวเองในการดำเนินชีวิต ถึงจะไม่ได้คุยกันบ่อยแต่คำพูดของท่านช่างสำคัญ แม้จะไม่ร่ำรวยด้วยเงินแต่ฉันก็มีความสุขที่เรายังรวยด้วยรอยยิ้ม  ฉันอยากบอกพ่อว่า ลูกคนนี้ “ รัก “  พ่อเหมือนกันค่ะ.

ผู้ชาย ที่รักและดูแลเราเป็นอย่างดี ไม่เคยแคร์เเม้รูปร่างหน้าตาเราจะเปนอย่างไร HBD ผู้มีพระคุณที่สุดในชีวิต คุณพ่อที่รัก ขออำนาจคุณพระศรีรัตนตรัยและสิ่งศักดิสิทธิ์ทั่วทั้งสากลโลกจงดลบันดาลให้พ่อมีความสุขมากๆ สุขภาพแข็งแรง อย่าทำงานให้หนักพักบ้าง กานต์เปนห่วง วันที่ 5 ธค ปีที่แล้วมีเค้กเป็นของขวัญวันเกิด ปีนี้ต้องอยู่ไกลกันมีแต่คำว่า "พ่อเป็นผู้ชายที่กานต์รักที่สุด"

      คำๆเดียวที่อยากมอบให้และมีให้ตลอดมาคือ คำว่า "รัก" รักพ่อมากน่ะค่ะ ที่ผ่านมาอาจมีบางครั้งที่ทำอะไรโดยที่ไม่แคร์พ่อ แต่ไม่มีวันไหนที่หนูไม่รักพ่อน่ะค่ะ

หนูรักพ่อที่สุดในโลก :") .........

         วันที่ 5 ธันวาคมของทุกปีเป็นวันพ่อแห่งชาติ  แต่สำหรับหนูทุกวันคือวันพ่อ  พ่อทำทุกอย่างเพื่อลูกเสมอ  แม้เหนื่อยก็ไม่เคยจะบ่น  หนูสัญญาว่าจะเป็นคนดีของพ่อ  จะตั้งใจเรียน  และจะไม่ทำให้พ่อเสียใจ  เหมือนที่พ่อทำเพื่อหนูมาตลอด  หนูดีใจที่ได้เกิดเป็นลูกพ่อค่ะ  หนูรักพ่อค่ะ

วันที่ 5 ธันวาคมคือวันพ่อแห่งชาติ แต่สำหรับหนูวันพ่อนั้นมีทุกวัน....หนูก็ไม่มีอะไรจะให้พ่อมากไปกว่าคำว่า "รัก" ได้ หนูรู้ว่าพ่อเองก็อยากได้ยินคำนี้จากหนูเช่นกัน...แต่ติดอยู่นิดเดียวที่หนูเขินไม่กล้าบอก แต่หนูก็ไม่เคยรักพ่อน้อยลงเลยน่ะค่ะ ไม่ว่าพ่อจะเป็นยังไง....หนูขอสัญญาว่าหนูจะอยู่เคียงข้างพ่อไปตลอด!! และหนูก็อยากจะขอบคุณพ่อที่เลี้ยงหนูมาตั้ง 19 ปี และพ่อยังเป็นคนที่พร้อมจะให้อภัยในทุกๆสิ่ง ถึงแม้หนูจะไม่ได้อยู่ใกล้พ่อ...แต่หนูก็ไม่เคยลืมน่ะค่ะ...ณ วันนี้หนูได้รับรู้แล้วว่า ไม่มีผู้ชายคนไหนในโลกที่เรารักหนูจริงและพร้อมจะอยู่เคียงข้างหนุได้เท่าผู้ชายคนนี้อีกแล้ว.. หนูรักและคิดถึงพ่อเสมอ

รักพ่อมากที่สุดในโลยเลย ขอให้พ่อมีสุขภาพแข็งแรง อยู่กับลูกไปนานๆ :)

      "พ่อ" ถึงแม้จะเป็นคำสั้นๆ  แต่หาคำพูดคำอธิบายใดๆเปรียบเทียบไม่ได้  พ่อมีพระคุณที่ยิ่งใหญ่สำหรับหนู  ทำให้หนูเติบโตมาจนถึงทุกวันนี้  ถึงแม้ว่าทุกวันนี้เราจะไม่ได้อยู่ด้วยกันแต่หนูก็ยังรักและเคารพพ่อเหมือนเดิมนะค่ะ  ทุกครั้งที่หนูมีโอกาสได้เจอพ่อหนูมีความสุขมากๆเลยค่ะ  ถึงแม้ว่ามันจะเป็นเวลาแค่น้อยนิดก็ตาม ... รักพ่อค่ะ

นางสาวหนึ่งฤทัย เวฬุวนารักษ์ รหัส 55127326071

วันพ่อที่ผ่านมานี้ หนูได้ไหว้พ่อเพื่อขอโทษสิ่งที่อาจทำไม่ดีกับพ่อบ้าง แต่หนูอยากบอกกับพ่อว่า หนูรักพ่อมากนะค่ะ

เพราะความฝันพาลูกมาไกลบ้าน วันพ่อปีนี้เลยไม่มีโอกาสได้กราบเท้าพ่อ...แต่จริงๆ แล้วไม่ว่าวันไหนๆ ก็คือวันพ่อ หนูดีใจที่ได้เกิดมาเป็นลูกของพ่อ รักพ่อที่สุดในโลกค่ะ

รัก"พ่อ"นะคร่า รักที่สุดในโลกความรัก รักนี้ไม่มีอะไรเปรียบได้ สุขสันต์วันพ่อคร่า

รัก"พ่อ"นะคร่า รักที่สุดในโลกความรัก รักนี้ไม่มีอะไรเปรียบได้ สุขสันต์วันพ่อคร่า

Happy father Day... #รักพ่อนะคะ #รูปคู่รูปแรกและรูปเดียว #พ่อยังคงเก็บไว้ในโทสับ #ถึงพ่อจะไม่แสดงออก....หนูก็รู้ว่าพ่อรักหนู #หนูก็รักพ่อนะ#ถึงไม่ได้แสดงออกมากมายหนัก #อยู่กับหนูไปนานๆนะ 051212

ที่พ่อไม่พูดไม่ได้แปลว่าพ่อไม่สนใจ แต่บางครั้งพ่ออาจไม่รู้จะพูดมันออกไปอย่างไรต่างหาก..

รู้ซึ้งในบทเรียนแล้วว่า สุดท้ายแล้ว ผู้ชาย ที่รักและเป็นห่วงเราจริงๆ ก็คือ "พ่อ" "รักพ่อนะ"

คิดถึงพ่อ ก่อเกิด กำเนิดลูก รักพันผูก หยูกยา คราเจ็บไข้ ปรนนิบัติ ขจัดทุกข์ ปลุกปลอบใจ จะหาใคร ปานเปรียบ เทียบพระคุณ

ขอกุศลผลบุญหนุนนำส่ง รักบรรจงจากจิตประดิษฐ์สุนทร์ ประกอบพรกลอนกานท์วานเจือจุน พระพุทธคุณ ปกปัก รักษ์บิดา <3 รักป๊าน่ะ <3

ถึงผมกับพ่อจะไม่ค่อยได้คุยกันสักเท่าไร แต่ผมก็รักพ่อของผม

ถึงตัวห่างไกล เเต่ใจไม่เคยห่างกัน รักพ่อนะค่ะ

หนูไหว้ขอขมาพ่อในบางสิ่งที่หนูทำไม่ดี และหนูอยากบอกว่าหนูรักพ่อ อยากให้พ่อดูแลสุขภาพตัวเองด้วย

วันพ่อปีนี้ หนูก็ขอให้คุณพ่อสุขภาพแข็งแรง มีความสุขมากๆนะคะ รักและคิดถึงคุณพ่อนะคะ

ถึงไม่เคยเห็นหน้า ไม่เคยได้พูดคำว่ารักให้พ่อได้ฟังสักครั้ง แต่ลูกคนนี้ก็อยากบอกพ่อนะว่าหนูรักพ่อค่ะ

มีเพียงคำเดียวคือ คำว่า รัก ที่อยากบอกพ่อให้รู้ ว่า หนูรักพ่อคนนี้ ที่หนึ่งในใจ

อาจมีบางครั้งที่หนูทำตัวไม่น่ารัก แต่ก้ไม่เคยมีสักครั้งที่ไม่รัก รักพ่อนะค่ะ

วันพ่อเป็นวันที่พิเศษเป็นวันที่คิดถึงพ่อ นึกถึงพระคุณของพ่อที่ทำทุกสิ่งทำทุกอย่างให้เรา แต่สำหรับดิฉันแล้ว ฉันคิดถึงพ่อทุกวัน รักพ่อทุกวัน พ่อก็เป็นกำลังใจอย่างหนึ่งที่ทำให้ฉันมีความอดทนในการหมั่นเรียนหนังสือ เมื่อฉันรู้สึกท้อแท้ก็จะนึกถึงพ่อแม่ ว่าท่านทั้งสองต้องเหนื่อยแค่ไหนกว่าจะหาเงินมาส่งเราเรียนหนังสือ เลยทำให้ฉันมีกำลังใจมากขึ้นอีกเยอะ อยากบอกว่า "หนูรักพ่อทุกวัน" และจะตั้งใจเรียนหนังสือเพื่อพ่อค่ะ

ไม่ต้องมีคำบรรยายใดใด ซักคำให้ลึกซึ้ง ไม้ต้องบรรยายอะไรให้สวยเลิศเลอ..... "รักพ่อนะค่ะ"

"พ่อ" เป็นคำที่หนูเองใช้เรียกบุคคลที่เรียกว่าพ่อครั้งล่าสุดเมื่อ 13ปีก่อน...ตั้งแต่พ่อได้จากหนูไปคำๆนี้ยังมีความหมายเสมอแม้จะเป็นเพียงคำพูดที่ไม่มีตัวตนแล้วก็ตาม "หนูรักพ่อค่ะ"

"พ่อ" เป็นคำที่หนูเองใช้เรียกบุคคลที่เรียกว่าพ่อครั้งล่าสุดเมื่อ*สิบสามปีก่อน...ตั้งแต่พ่อได้จากหนูไปคำๆนี้ยังมีความหมายเสมอแม้จะเป็นเพียงคำพูดที่ไม่มีตัวตนแล้วก็ตาม "หนูรักพ่อค่ะ"

รักพ่อที่สุดในโลก ขอบคุณทุกสิ่งทุกอย่างที่พ่อทำให้และให้บอสเสมอมา <3

"ไม่มีผู้ชายคนไหนรักเราได้มากมายเท่าพ่อ" หนูรักพ่อน้าาาาาาาาาาา หนูจะรักและดูแลพ่อให้ดีที่สุด :)

ขอให้คุณพ่อมีสุขภาพแข็งแรงนะคะ รักคุณพ่อที่สุดในโลกเลยค่ะ ( รูปภาพอาจจะเบลอๆ หน่อยนะคะ )

ยังอยู่ในช่วงเทศกาลวันพ่อ เกือบประจำทุกปีอยู่แล้วที่ดิฉันไม่ได้ไหว้พ่อเหมือนคนอื่นๆ เพราะพ่อไม่ค่อยมีเวลาว่างซักเท่าไหร่ พ่อทำงานหนักมาก แต่ฉันรู้ว่าเค้าทำเพื่อใคร ฉันรักพ่อ เพราะพ่อเปรียบเสมือนฮีโร่ของฉัน จำได้พ่อบอกว่าพ่ออยากได้ลูกผู้ชายพ่อสอนให้ฉันมีนิสัยที่เข้มแข็งเหมือนผู้ชาย สอนฉันให้ฉันให้ฉันซ่อมรถ ขับรถคันใหญ่ สอนฉันร้องเพลงอัสนี-วสันต์ เหมือนอย่างเขาอยากให้ขยันเหมือนเขา พอฉันโตขึ้นมาฉันจึงมีนิสัยที่ห้าวแก่น เค้าสอนให้ฉันรู้จักเรียนรู้ด้วยตัวเอง ฉันไม่เหมือนเด็กคนอื่นที่โตมาด้วยกันเค้าจะมีพ่อมีแม่ไปส่งที่โรงเรียนแต่ฉันพ่อสอนให้นั่งรถเมล์ไปเรียนเองไม่มีการไปส่งเพราะลำพังเวลาทำงานก็แทบที่จะไม่พอแล้ว ต้องขอขอบคุณพ่อที่เลี้ยงฉันมาแบบนี้ ทำให้ฉันกล้าที่จะต่อสู้กับโลกภายนอก รู้ทันโลก รู้ทันผู้ชาย ขอบคุณพ่อ My Dad my hero. The most handsome man in my world.


ถึงพ่อจะไม่ได้อยู่กับหนูแล้ว แต่หนูรู้ หนูสัมผัสได้ ว่าพ่อคิดถึงหนู พ่อเป็นห่วงหนู พ่อยังคอยมองหนูอยู่ 

หนูก็เหมือนกันหนูคิดถึง "พ่อ" นะ รักพ่อมากด้วย

จาก ข้อที่ 1 เส้นผลตอบแทนมีลักษณะใดบ้างแต่ลักษณะแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ   เส้นผลตอบแทนเพิ่มขึ้น ( ascending yield curve )   เส้นผลตอบแทนลดลง ( descending yied curve )เส้นผลตอบแทนคงที่ ( flat yield curve )   เส้นผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้นแล้วลดลง ( humped yield curve ) ลักษณะตามชื่อของตัวมันเอง คือ เส้นผลตอบแทนเพิ่มขึ้นก็คือ เพิ่มขึ้น เส้นผลตอบแทน ลดก็คือลดลง คงที่ ก็คือคงที่ เพิ่มขึ้นแล้วลดก็คือเพิ่มขึ้นแล้วลด

จากข้อ 2 ท่านคิดว่าผู้ลงทุนในธุรกิจไม่ควรลงทุนเพราะเหตุใด

ตอบ เพราะ การลงทุนที่ไม่คุ้มกับผลตอบแทนหรือกำไรที่ได้กลับมา การทำธุรกิจหรือลงทุนใดๆ ควรได้ผลตอบแทนที่คุ้มค่า เป็นต้น

1.เส้นผลตอบแทนมีลักษณะใดบ้าง แต่ละลักษณะอธิบายผลตอบแทนที่ต่างกันอย่างไรบ้าง

- เส้นผลตอบแทนเพิ่มขึ้น คือ ค่าเฉลี่ยของอัตราปัจจุบันกับอัตราระยะสั้นในอนาคตจะอยู่เหนืออัตราปัจจุบัน

- เส้นผลตอบแทนลดลง คือ อัตราผลตอบแทนระยะยาวจะอยู่ต่ำกว่าอัตราระยะสั้นของปัจจุบัน

- เส้นผลตอบแทนคงที่ คือ อัตราดอกเบี้ยระยะสั้นในอนาคตไม่เปลี่ยนแปลง

- เส้นผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้นแล้วลดลง คือ อัตราผลตอบแทนระยะสั้นในอนาคตจะสูงขึ้นก่อนและลดลงเป็นอย่างมากภายหลัง

2.ท่านคิดว่าผู้ลงทุนในธุรกิจไม่ควรขยายการลงทุนเพราะเหตุใดบ้าง

- อยู่ในช่วงภาวะเศรษฐกิจ เช่น เงินเฟ้อ เงินฝืด

- product ไม่มีจุดแข็ง

- อัตราการแข่งขันกับคู่แข่งสูงเกินไป

- feedback ยังไม่ดีพอ

- มองไม่เห็นกำไรหรือจุดคุ้มทุนที่ชัดเจน

คำถามประจำบทที่ 4

9. เส้นผลตอบแทนมีลักษณะใดบ้าง แต่ละลักษณะอธิบายผลตอบแทนที่ต่างกันอย่างไร

ตอบ  1. เส้นผลตอบแทนเพิ่มขึ้น ( ascending yield curve )  มีอัตราค่าเฉลี่ยปัจจุบันที่สูงกว่า อัตราระยะสั้นทำให้เส้นผลตอบแทนเพิ่มขึ้น   2.  เส้นผลตอบแทนลดลง ( descending yield curve )  มีอัตราค่าเฉลี่ยปัจจุบันที่ต่ำกว่า อัตราระยะสั้นทำให้เส้นผลตอบแทนลดลง        3. เส้นผลตอบแทนคงที่ ( flat yield curve )    ไม่มีการเปลี่ยนแปลงอัตราค่าเฉลี่ยปัจจุบันและ อัตราระยะสั้นทำให้เส้นผลตอบแทนยังคงที่      4. เส้นผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้นแล้วลดลง      ( humped yield curve )   อัตราผลตอบแทนระยะสั้นในอนาคตจะสูงขึ้นก่อนและลดลงเป็นอย่างมากภายหลัง ทำให้ผลตอบแทนขึ้นแล้วลดลง                                                                                             

10. ท่านคิดว่าผู้ลงทุนในธุรกิจไม่ควรขยายการลงทุนเพราะเหตุใด

ตอบ ไม่ควรขยายการลงทุนเพราะสภาวะเศรษฐกิจกำลังถดถอย และที่สำคัญ ผลกำไรที่จะได้รับต่ำ สภาพคล่องต่ำ และความเสี่ยงสูงกล่าวคือ

ความเสี่ยงทางธุรกิจ (Business Risk) คือ ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงความสามารถในทำกำไรของบริษัท อันเป็นเหตุให้ผู้ลงทุนต้องสูญเสียรายได้ หรือเงินลงทุน ประกอบด้วย ความเสี่ยงทางการเงิน ความเสี่ยงด้านการบริหารจัดการ และความเสี่ยงในระดับอุตสาหกรรม

ความเสี่ยงทางตลาด (Market Risk) คือ การสูญเสียเงินลงทุนอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงราคาของหลักทรัพย์ที่ลงทุน ซึ่งเป็นไปตามอุปสงค์ และอุปทานของตลาด

ความเสี่ยงในอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate Risk) คือ ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราดอกเบี้ยในตลาด

ความเสี่ยงจากอำนาจซื้อ (Purchasing Power Risk) คือ ความเสี่ยงทีเกิดจากอำนาจซื้อของเงินที่ลดลง ซึ่งสาเหตุสำคัญที่ส่งผลต่ออำนาจซื้อ คือ ภาวะเงินเฟ้อ

นางสาวปัณณพร  แก้ววัฒน์ รหัส 55127326053 เอก การเงินการธนาคาร 02

9. เส้นผลตอบแทนมีลักษณะใดบ้าง แต่ละลักษณะอธิบายผลตอบแทนที่แตกต่างกันอย่างไรบ้าง                                                      

1. เส้นผลตอบแทนเพิ่มขึ้น (ascending yield curve) จะมีลักษณะโค้งขึ้น (Upward sloping) ซึ่งแสดงให้เห็นว่า อัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ระยะยาวจะสูงกว่าอัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ระยะสั้น Yield Curve ในลักษณะนี้เป็นแบบที่พบบ่อย                                                                                                                                                  2. เส้นผลตอบแทนลดลง (descending  yield curve) มีลักษณะลาดลงจากซ้ายไปขวา ( Downward sloping) ซึ่งแสดงให้เห็นว่าอัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ระยะสั้นจะสูงกว่าอัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ระยะยาว Yield Curve ในลักษณะนี้จะพบในภาวะที่ตลาดคาดการณ์ว่าอัตราผลตอบแทนมีแนวโน้มลดลงเรื่อยๆ                                                             3. เส้นผลตอบแทนคงที่ (flat yield curve) แสดงถึงอัตราผลตอบแทนที่เท่ากันในทุกช่วงอายุคงเหลือของตราสารหนี้                                                                                                                                                                        4. เส้นผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้นแล้วลดลง (Humped Yield Curve) แสดงถึงอัตราผลตอบแทนจะเพิ่มขึ้นตามอายุคงเหลือของตราสารหนี้จนถึงระดับหนึ่ง จากนั้นจะลดลงเมื่ออายุของตราสารหนี้เพิ่มขึ้น

10. ท่านคิดว่าผู้ลงทุนในธุรกิจไม่ควรขยายการลงทุนเพราะเหตุใด

เพราะ ความเสี่ยงในการลงทุนที่เกิดจาก ความเสี่ยงจากลักษณะการดําเนินธุรกิจของผู้ออกตราสาร  ความผันผวนของราคาหลักทรัพย์ ความเสี่ยงจากการที่ไม่สามารถขายตราสารได้ทันทีในราคาที่เป็นธรรมและเหมาะสม ความเสี่ยงจากการที่ผู้ออกตราสารไม่ชําระคืนเงินต้นและดอกเบี้ย ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ย  ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการที่ผลตอบแทนที่ได้รับตํ่ากว่าอัตราเงินเฟ้อ  สภาวะเศรษฐกิจที่ตกต่ำ ค่าครองชีพสูง รายได้น้อย  การว่างงาน  ซึ่งอาจทำให้ประชาชนไม่มีอำนาจซื้อ หรือซื้อแค่สิ่งที่จำเป็น ดั้งนั้น  ผู้ลงทุนควรจะมีความระมัดระวังในการตัดสินใจในการลงทุนเสมอ               

9.เส้นผลตอบแทนมีลักษณะใดบ้าง แต่ละลักษณะอธิบายผลตอบแทนที่แตกต่างกันอย่างไรบ้าง
ตอบ  1.เส้นผลตอบแทนเพิ่มขึ้น (ascending yield curve) คือเส้นของอัตราดอกเบี้ยระยะสั้นในอนาคตจะสูง  แต่ในระยะยาวเส้นอัตราดอกเบี้ยในปัจจุบันจะต่ำกว่าในอนาคต
2.เส้นผลตอบแทนลดลง (descending  yield curve)  คือเส้นอัตราดอกเบี้ยระยะสั้นในอนาคตจะต่ำกว่าอัตราดอกเบี้ยในปัจจุบัน
3.เส้นผลตอบแทนคงที่ (flat yield curve)  คือเส้นของอัตราดอกเบี้ยในระยะสั้นและในระยะยาวจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงหรือคงที่นั้นเอง
4. เส้นผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้นแล้วลดลง
 (Humped Yield Curve)  คือเส้นของผลตอบแทนในระยะสั้นในอนาคตจะสูงขึ้นและจะลดลงในเวลาต่อมา  และเส้นของผลตอบแทนในระยะยาวจะสูงขึ้นในเวลาต่อมา

10. ท่านคิดว่าผู้ลงทุนในธุรกิจไม่ควรขยายการลงทุนเพราะเหตุใด
ตอบ   การจะเริ่มต้นทำธุรกิจใดผู้ลงทุนจะต้องใช้ความพยายามในการศึกษาหารายละเอียดเกี่ยวกับการลงทุนให้รอบครอบเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความผิดพลาดในการตัดสินใจลงทุน การลงทุนโดยไม่ทำการศึกษาเรื่องที่จะลงทุนให้ละเอียดรอบครอบก็อาจเกิดความผิดพลาดขึ้นได้ ซึ่งหากเกิดขึ้นก็ยากที่จะแก้ไข บางรายไม่ศึกษาให้ดีลงทุนไปแล้วก่อให้เกิดผลกระทบต่อธุรกิจที่ทำอยู่แล้วก็มี เพราะเมื่อลงทุนไปแล้วจะเลิกก็เสียดายเงินที่ลงทุนไป จึงต้องพยายามดำเนินการต่อไปโดยการนำเงินจากธุรกิจในเครือมาช่วยหรือนำเงินที่เก็บสะสมไว้มาใช้เพื่อพยุงธุรกิจด้วยความหวังว่าในที่สุดจะดีขึ้น ซึ่งกว่าจะตัดสินใจว่าไปไม่ไหวแล้ว ต้องเลิกกิจการที่ลงทุนไป ก็ทำเอาธุรกิจที่ทำอยู่มีอันต้องประสบปัญหา ซึ่งมีอยู่ไม่น้อย

ข้อ 9. เส้นผลตอบแทนมีลักษณะใดบ้างแต่ละลักษณะอธิบายผลตอบแทนที่แตกต่างกันอย่างไรบ้าง

ตอบ ลักษณะเส้นผลตอบแทน(common shapes of yield curves)มีลักษณะ ดังนี้

1.เส้นผลตอบแทนเพิ่มขึ้น(asending yield curves)คือค่าเฉลี่ยของอัตราปัจจุบันกับอัตราระยะสั้นในอนาคตจะอยู่เหนืออัตราปัจจุบัน

2.เส้นผลตอบแทนลดลง(descending yield curves)คืออัตราผลตอบแทนระยะยาวจะอยู่ต่ำกว่าอัตราระยะสั้นของปัจจุบัน

3.เส้นผลตอบแทนคงที่(flat yield curves)คืออัตราดอกเบี้ยระยะสั้นในอนาคตไม่เปลี่ยนแปลง

4.เส้นผลตอบแทนเพิ่มขึ้นแล้วลดลง (humped yield curves)คืออัตราผลตอบแทนระยะสั้นในอนาคตจะสูงขึ้นก่อนและลดลงเป็นอย่างมากภายหลัง

ข้อ 10.ท่านคิดว่าผู้ลงทุนในธุรกิจไม่ควรขยายการลงทุนเพราะเหตุใด

ตอบ เพราะต้องปัจจัยต่างๆที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ เช่น สภาพเศรษฐกิจ  การเมืองรัฐบาล ตลาดหลักทรัพย์ ความผันผวนของเงินตราต่างประเทศ ประชากร สภาพแวดล้อมค่าครองชีพสูง รายได้น้อย  การว่างงาน เป็นต้น ซึ่งอาจทำให้ประชาชนไม่มีอำนาจซื้อหรือซื้อแค่สิ่งที่จำเป็น หากเป็นเช่นนั้น กิจการอาจมีกำไรเลยก็เป็นได้.

นางสาวนิสาชล สิงหะ รหัส 55127326079

9.เส้นผลตอบแทนมีลักษณะใดบ้าง แต่ละลักษณะอธิบายผลตอบแทนที่แตกต่างกันอย่างไรบ้าง

1. เส้นผลตอบแทนเพิ่มขึ้น ( ascending yield curve )  มีอัตราค่าเฉลี่ยปัจจุบันที่สูงกว่า อัตราระยะสั้นทำให้เส้นผลตอบแทนเพิ่มขึ้น 

2. เส้นผลตอบแทนลดลง (descending  yield curve) คือเส้นอัตราดอกเบี้ยระยะสั้นในอนาคตจะต่ำกว่าอัตราดอกเบี้ยในปัจจุบัน
3.เส้นผลตอบแทนคงที่ (flat yield curve)  คือเส้นของอัตราดอกเบี้ยในระยะสั้นและในระยะยาวจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงหรือคงที่นั้นเอง

4. เส้นผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้นแล้วลดลง (Humped Yield Curve)  คือเส้นของผลตอบแทนในระยะสั้นในอนาคตจะสูงขึ้นและจะลดลงในเวลาต่อมา  และเส้นของผลตอบแทนในระยะยาวจะสูงขึ้นในเวลาต่อมา

10. ท่านคิดว่าผู้ลงทุนในธุรกิจไม่ควรขยายการลงทุนเพราะเหตุใด

 เพราะ  หากผู้ลงทุนในธุรกิจไม่มีพื้นฐานความรู้ด้านการจัดการความเสี่ยงก็จะส่งผลต่อธุรกิจซึ่งอาจจะส่งผลในระยะยาว หรือ ระยะสั้นก็ได้ เราสามารถแบ่งความเสี่ยงออกได้เป็น 4 ประเภท คือความเสี่ยงทางธุรกิจ (Business Risk) คือ ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงความสามารถในทำกำไรของบริษัท อันเป็นเหตุให้ผู้ลงทุนต้องสูญเสียรายได้ หรือเงินลงทุน ประกอบด้วย ความเสี่ยงทางการเงิน ความเสี่ยงด้านการบริหารจัดการ และความเสี่ยงในระดับอุตสาหกรรมความเสี่ยงทางตลาด (Market Risk) คือ การสูญเสียเงินลงทุนอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงราคาของหลักทรัพย์ที่ลงทุน ซึ่งเป็นไปตามอุปสงค์ และอุปทานของตลาดความเสี่ยงในอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate Risk) คือ ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราดอกเบี้ยในตลาดความเสี่ยงจากอำนาจซื้อ (Purchasing Power Risk) คือ ความเสี่ยงทีเกิดจากอำนาจซื้อของเงินที่ลดลง ซึ่งสาเหตุสำคัญที่ส่งผลต่ออำนาจซื้อ คือ ภาวะเงินเฟ้อ ความเสี่ยง สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ส่วน คือ ความเสี่ยงที่เป็นระบบ และความเสี่ยงที่ไม่เป็นระบบความเสี่ยงที่เป็นระบบ (Systematic Risk) - เป็นความเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อตลาดทั้งระบบ มักจะเรียกอีกชื่อว่า Market Risk หรือ Undiversificable Risk เป็นความเสี่ยงที่ไม่สามารถทำให้ลดลงได้จากการกระจายการลงทุน

แบบฝึกหัดบทที่ 4 

9. เส้นผลตอบแทนมีลักษณะใดบ้าง แต่ละลักษณะอธิบายผลตอบแทนที่แตกต่างกันอย่างไรบ้าง

    ตอบ  เส้นผลตอบแทนมี 4 ลักษณะ มีดังนี้

    1. เส้นผลตอบแทนเพิ่มขึ้น(ascending yield curve)  มีลักษณะเป็นเส้นลาดชันขึ้นจากซ้ายไปขวา  คือ Yield ของพันธบัตรที่มีอายุคงเหลือสั้นจะต่ำกว่า Yield ของพันธบัตรที่มีอายุคงเหลือยาว  แสดงให้เห็นว่า ผู้ลงทุนต้องการผลตอบแทนที่สูงขึ้นเมื่อลงทุนในตราสารหนี้ที่มีอายุยาวขึ้น

    2. เส้นผลตอบแทนลดลง(descending yield curve)  มีลักษณะเป็นเส้นกราฟลาดลงจากซ้ายไปขวา พันธบัตรที่มีอายุคงเหลือยาวจะมีอัตราผลตอบแทนต่ำกว่าพันธบัตรที่มีอายุสั้น ซึ่ง Yield curve ลักษณะนี้จะพบเมื่อตลาดคาดการณ์ว่าอัตราดอกเบี้ยในตลาดมีแนวโน้มลดลง

    3. เส้นผลตอบแทนคงที่(flat yield curve)  มีลักษณะเป็นเส้นราบขนานกับแกนนอน คาดคะเนว่าอัตราดอกเบี้ยระยะสั้นในอนาคตไม่เปลี่ยนแปลงหรือคงที่

    4. เส้นผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้นแล้วลดลง(humped yield curve)  มีลักษณะเป็นเส้นโป่งขึ้นในระยะแรกและจะทอดลงในเวลาต่อมา คาดคะเนว่าอัตราผลตอบแทนระยะสั้นในอนาคตจะสูงขึ้นก่อนและลดลงมาเป็นอย่างมากภายหลัง

10. ท่านคิดว่าผู้ลงทุนในธุรกิจไม่ควรขยายการลงทุนเพราะเหตุใดบ้าง

      ตอบ 1.  ปัญหาเรื่องแรงงาน   ขาดแคลนแรงงาน  แรงงานไม่มีคุณภาพ ปัญหาแรงงานต่างด้าว

              2. ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม  มลพิษของฝุ่นละออง ทะเลเสื่อมโทรม ควรมีมาตรการในการควบคุมการใช้ทรัพยากรในพื้นที่ หรือการปลูกจิตสำนึกช่วยกันดูแลสิ่งแวดล้อม ให้สถานประกอบการใช้เทคโนโลยีสะอาด

              3. การบริการของหน่วยงานภาครัฐ  ความล่าช้าในการให้บริการ มีขั้นตอนมาก บริการไม่ทั่วถึงc]tแหล่งเงินทุนของภาครัฐให้วงเงินกู้น้อย และเข้มงวดกับผู้ประกอบการธุรกิจรายใหม่

              4. การแข่งขันของผู้ประกอบการในธุรกิจเดียวกัน   มีภาวการณ์แข่งขันทางธุรกิจสูง ผู้ประกอบการขาดความรู้ทักษะการประกอบธุรกิจ

ข้อ 9. เส้นผลตอบแทนมีลักษณะใดบ้างแต่ละลักษณะอธิบายผลตอบแทนที่แตกต่างกันอย่างไรบ้าง

ลักษณะเส้นผลตอบแทน(common shapes of yield curves)มีลักษณะ 
1.เส้นผลตอบแทนเพิ่มขึ้น(asending yield curves)  คือค่าเฉลี่ยของอัตราปัจจุบันกับอัตราระยะสั้นในอนาคตจะอยู่เหนืออัตราปัจจุบัน เป็นเส้นลาดชันขึ้นจากซ้ายไปขวา 
2.เส้นผลตอบแทนลดลง(descending yield curves)  คืออัตราผลตอบแทนระยะยาวจะอยู่ต่ำกว่าอัตราระยะสั้นของปัจจุบัน  เป็นเส้นกราฟลาดลงจากซ้ายไปขวา
3.เส้นผลตอบแทนคงที่(flat yield curves)  คืออัตราดอกเบี้ยระยะสั้นในอนาคตไม่เปลี่ยนแปลง หรือ  เป็นลักษณะของอัตราผลตอบแทนที่เท่ากันทุกช่วง ดังนั้น จะเป็นเส้นราบขนานกับแกนนอน
4.เส้นผลตอบแทนเพิ่มขึ้นแล้วลดลง (humped yield curves)  คืออัตราผลตอบแทนระยะสั้นในอนาคตจะสูงขึ้นก่อนและลดลงเป็นอย่างมากภายหลัง เป็นเส้นโป่งในระยะแรกและจะทอดลงมา

ข้อ 10.ท่านคิดว่าผู้ลงทุนในธุรกิจไม่ควรขยายการลงทุนเพราะเหตุใด
ตอบ เพราะ ถ้าหากผู้ลงทุนต้องการขยายการลงทุน ถือว่าความเสี่ยงของเงินทุนหรือหลักทรัพย์ต่างๆของผู้ลงทุนก็ยิ่งมีมากขึ้น เนื่องมาจาก ความเสี่ยงจากการขาดสภาพคล่องของการซื้อขาย                                 ความเสี่ยงทางตลาด การสูญเสียเงินลงทุนอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงราคาของหลักทรัพย์ที่ลงทุน ซึ่งเป็นไปตามอุปสงค์ และอุปทานของตลาด และความเสี่ยงทางธุรกิจ  เกิดจากการเปลี่ยนแปลงความสามารถในทำกำไรของบริษัท เป็นเหตุให้ผู้ลงทุนต้องสูญเสียรายได้ หรือเงินลงทุน ประกอบด้วย ความเสี่ยงทางการเงิน ความเสี่ยงด้านการบริหารจัดการ จึงเป็นเหตุผลผู้ลงทุนในธุรกิจไม่ควรขยายการลงทุน
ประภาพร เหลือถนอม 55127326047

แบบฝึกหักบทที่4

 9. เส้นผลตอบแทนมีลักษณะใดบ้าง แต่ละลักษณะอธิบายผลตอบแทนที่แตกต่างกันอย่างไรบ้าง

ตอบมี 4 ลักษณะ ได้แก่

1.เส้นผลตอบแทนเพิ่มขึ้น Ascending yield curve มีลักษณะเป็นเส้นลาดชันขึ้นจากซ้ายไปขวา  คือ Yield ของพันธบัตรที่มีอายุคงเหลือสั้นจะต่ำกว่า Yield ของพันธบัตรที่มีอายุคงเหลือยาว  แสดงให้เห็นว่า ผู้ลงทุนต้องการผลตอบแทนที่สูงขึ้นเมื่อลงทุนในตราสารหนี้ที่มีอายุยาวขึ้น 

2. เส้นผลตอบแทนลดลง Descending yield curve เป็นเส้นกราฟลาดลงจากซ้ายไปขวา พันธบัตรที่มีอายุคงเหลือยาวจะมีอัตราผลตอบแทนต่ำกว่าพันธบัตรที่มีอายุสั้น ซึ่ง Yield curve ลักษณะนี้จะพบเมื่อตลาดคาดการณ์ว่าอัตราดอกเบี้ยในตลาดมีแนวโน้มลดลง 

3. เส้นผลตอบแทนคงที่ Flat yield curve เป็นลักษณะของอัตราผลตอบแทนที่เท่ากันทุกช่วงอายุของตราสารหนี้ 

4.เส้นผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้นและลดลง Humped yield curve เส้นจะลาดชันขึ้นจากซ้ายไปขวาและวกต่ำลงเมื่ออายุคงเหลือของตราสารหนี้เพิ่มขึ้น 

10. ท่านคิดว่าผู้ลงทุนในธุรกิจไม่ควรขยายการลงทุนเพราะเหตุใดบ้าง

ตอบเพราะถ้าผู้ลงทุนในธุรกิจไม่มีแผนการที่จะจัดการกับความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นก็จะทำให้ส่งผลกระทบในการลงทุนระยะยาวความเสี่ยงต่อการขาดทุนก็คือ ความเสี่ยงที่เกิดจากไม่สามารถชำระดอกเบี้ยและเงินต้นตามเวลาที่กำหนด  ความเสี่ยงทางการตลาด ความเสี่ยงในลักษณะนี้เกิดจากอัตราดอกเบี้ยในตลาดสูงขึ้นหรือลดลงมีผลทำให้มูลค่าของหลักทรัพย์เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางตรงกันข้าม ต้องคำนึงถึงสภาพคล่องของหลักทรัพย์เพราะมีส่วนในการกำหนดอัตราดอกเบี้ยอย่างมาก

ทีปกา ชวาลวิทย์ 55127326075

9. เส้นผลตอบแทนมีลักษณะใดบ้าง แต่ละลักษณะอธิบายผลตอบแทนที่ต่างกันอย่างไร

ตอบ 

1. เส้นผลตอบแทนเพิ่มขึ้น ( ascending yield curve )  มีอัตราค่าเฉลี่ยปัจจุบันที่สูงกว่า อัตราระยะสั้นทำให้เส้นผลตอบแทนเพิ่มขึ้น 

 2.  เส้นผลตอบแทนลดลง ( descending yield curve )  มีอัตราค่าเฉลี่ยปัจจุบันที่ต่ำกว่า อัตราระยะสั้นทำให้เส้นผลตอบแทนลดลง       

 3. เส้นผลตอบแทนคงที่ ( flat yield curve )    ไม่มีการเปลี่ยนแปลงอัตราค่าเฉลี่ยปัจจุบันและ อัตราระยะสั้นทำให้เส้นผลตอบแทนยังคงที่     

 4. เส้นผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้นแล้วลดลง      ( humped yield curve )   อัตราผลตอบแทนระยะสั้นในอนาคตจะสูงขึ้นก่อนและลดลงเป็นอย่างมากภายหลัง ทำให้ผลตอบแทนขึ้นแล้วลดลง       

                   

ลักษณะเท่าไปของเส้นผลตอบแทน                                                                  

10. ท่านคิดว่าผู้ลงทุนในธุรกิจไม่ควรขยายการลงทุนเพราะเหตุใด

ตอบ 

ไม่ควรขยายการลงทุนเพราะสภาวะเศรษฐกิจกำลังถดถอย และที่สำคัญ ผลกำไรที่จะได้รับต่ำ สภาพคล่องต่ำ และความเสี่ยงสูงกล่าวคือ

ความเสี่ยงทางธุรกิจ (Business Risk) คือ ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงความสามารถในทำกำไรของบริษัท อันเป็นเหตุให้ผู้ลงทุนต้องสูญเสียรายได้ หรือเงินลงทุน ประกอบด้วย ความเสี่ยงทางการเงิน ความเสี่ยงด้านการบริหารจัดการ และความเสี่ยงในระดับอุตสาหกรรม

ความเสี่ยงทางตลาด (Market Risk) คือ การสูญเสียเงินลงทุนอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงราคาของหลักทรัพย์ที่ลงทุน ซึ่งเป็นไปตามอุปสงค์ และอุปทานของตลาด

ความเสี่ยงในอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate Risk) คือ ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราดอกเบี้ยในตลาด

ความเสี่ยงจากอำนาจซื้อ (Purchasing Power Risk) คือ ความเสี่ยงทีเกิดจากอำนาจซื้อของเงินที่ลดลง ซึ่งสาเหตุสำคัญที่ส่งผลต่ออำนาจซื้อ คือ ภาวะเงินเฟ้อ


นายโยธิน  ตาคำ  รหัสนักศึกษา 55127326081  การเงินการธนาคาร หมู่เรียน 02

9.เส้นผลตอบแทนมีลักษณะใดบ้าง แต่ละลักษณะอธิบายผลตอบแทนที่ต่างกันอย่างไรบ้าง

ตอบ  1)เส้นผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้น (ascending yield curve) อัตราดอกเบี้ยระยะสั้นในอนาคตจะสูงขึ้น อัตราผลตอบแทนระยะยาวคือค่าเฉลี่ยของอัตราปัจจุบันกับอัตราระยะสั้นในอนาคตนั้นจะอยู่เหนืออัตราปัจจุบัน ทำให้เส้นผลตอบแทนทอดขึ้นจากซ้ายไปขวา

        2)เส้นผลตอบแทนลดลง (descending yield curve) อัตราดอกเบี้ยระยะสั้นในอนาคตลดลง อัตราผลตอบแทนระยะยาวจะอยู่ต่ำกว่าอัตราระยะสั้นปัจจุบัน ทำให้เส้นผลตอบแทนทอดลงจากซ้ายไปขวา

        3)เส้นผลตอบแทนคงที่ (flat yield curve) อัตราดอกเบี้ยในระยะสั้นไม่เปลี่ยนแปลง ทำให้เส้นผลตอบแทนขนานกับแกนนอน

        4)เส้นผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้นแล้วลดลง (humped yield curve) อัตราผลตอบแทนในระยะสั้นจะสูงขึ้นก่อนและลดลงอย่างมากภายหลัง ทำให้เส้นผลตอบเป็นเส้นโป่งขึ้นในระยะแรกและทอดลงมาในเวลาต่อมา

10.ท่านคิดว่าผู้ลงทุนในธุรกิจไม่ควรขยายการลงทุนเพราะเหตุใด

ตอบ เพราะการลงทุนนั้นอาจต้องมีความเสี่ยงสูงทั้งความเสี่ยงทางการเงิน ความเสี่ยงทางด้านการบริหารจัดการและความเสี่ยงในระดับอุตสาหกรรม นอกจากจะมีความเสี่ยงต่างๆแล้ว ยังมีในส่วนของอุปสงค์และอุปทานของตลาดด้วย ซึ่งทั้งอุปสงค์และอุปทานของตลาดก็สามารถทำให้ผู้ที่ลงทุนทำธุรกิจมีความเสี่ยงต่อการลงทุนและยังต้องคำนึงถึงว่าลงทุนแล้วจะได้ผลตอบแทนเป็นกำไรหรือขาดทุน ถ้าขาดทุนแน่นอนว่าธุรกิจที่ทำอยุ่ย่อมขยายกิจการไม่ได้แน่ๆ

 9. เส้นผลตอบแทนมีลักษณะใดบ้าง แต่ละลักษณะอธิบายผลตอบแทนที่แตกต่างกันอย่างไรบ้า'

ตอบ

1. เส้นผลตอบแทนเพิ่มขึ้น (ascending yield curve) จะมีลักษณะโค้งขึ้น (Upward sloping) ซึ่งแสดงให้เห็นว่า อัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ระยะยาวจะสูงกว่าอัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ระยะสั้น Yield Curve ในลักษณะนี้เป็นแบบที่พบบ่อย

2. เส้นผลตอบแทนลดลง (descending yield curve) มีลักษณะลาดลงจากซ้ายไปขวา ( Downward sloping) ซึ่งแสดงให้เห็นว่าอัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ระยะสั้นจะสูงกว่าอัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ระยะยาว Yield Curve ในลักษณะนี้จะพบในภาวะที่ตลาดคาดการณ์ว่าอัตราผลตอบแทนมีแนวโน้มลดลงเรื่อยๆ

3. เส้นผลตอบแทนคงที่ (flat yield curve) แสดงถึงอัตราผลตอบแทนที่เท่ากันในทุกช่วงอายุคงเหลือของตราสารหนี้

4. เส้นผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้นแล้วลดลง (Humped Yield Curve) แสดงถึงอัตราผลตอบแทนจะเพิ่มขึ้นตามอายุคงเหลือของตราสารหนี้จนถึงระดับหนึ่ง จากนั้นจะลดลงเมื่ออายุของตราสารหนี้เพิ่มขึ้น

10.ท่านคิดว่าผู้ลงทุนในธุรกิจไม่ควรขยายการลงทุนเพราะเหตุใด

ตอบ อันนี้ต้องขึ้นอยู่กับหลายปัจจัยต่างๆของสภาวะเศรษฐกิจในช่วงเวลาต่าง ปัจจัยต่างๆประกอบด้วย

1.ความเสี่ยงทางธุรกิจ (Business Risk) คือ ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงความสามารถในทำกำไรของบริษัท อันเป็นเหตุให้ผู้ลงทุนต้องสูญเสียรายได้ หรือเงินลงทุน ประกอบด้วย ความเสี่ยงทางการเงิน ความเสี่ยงด้านการบริหารจัดการ และความเสี่ยงในระดับอุตสาหกรรม

2.ความเสี่ยงทางตลาด (Market Risk) คือ การสูญเสียเงินลงทุนอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงราคาของหลักทรัพย์ที่ลงทุน ซึ่งเป็นไปตามอุปสงค์ และอุปทานของตลาด

3.ความเสี่ยงในอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate Risk) คือ ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราดอกเบี้ยในตลาด

4.ความเสี่ยงจากอำนาจซื้อ (Purchasing Power Risk) คือ ความเสี่ยงทีเกิดจากอำนาจซื้อของเงินที่ลดลง ซึ่งสาเหตุสำคัญที่ส่งผลต่ออำนาจซื้อ คือ ภาวะเงินเฟ้อ

คำถามประจำบทที่ 4


9. เส้นผลตอบแทนมีลักษณะใดบ้าง
แต่ละลักษณะอธิบายผลตอบแทนที่ต่างกันอย่างไร




  1. แบบปกติ
         หรือ Normal Yield Curve
    จะมีลักษณะโค้งขึ้นแสดงถึงอัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ระยะยาวสูงกว่าตราสารหนี้ระยะสั้นซึ่งเส้นอัตราผลตอบแทนแบบนี้เป็นแบบที่พบบ่อยที่สุด

  2. แบบลาดลง
         หรือ Downward Sloping Yield Curve
    จะมีลักษณะลาดลงจากซ้ายไปขวาแสดงถึงอัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ระยะยาวต่ำกว่าอัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ระยะสั้นเส้นอัตราผลตอบแทนลักษณะนี้จะพบในสภาวะที่ตลาดคาดการณ์ว่าอัตราผลตอบแทนมีแนวโน้มลดลงเรื่อย
         ๆ

  3. แบบหลังเขา
         หรือ Hump Yield Curve
    แสดงถึง อัตราผลตอบแทนจะเพิ่มขึ้นตามอายุคงเหลือของตราสารหนี้จนถึงระดับหนึ่งนะครับ
         และจากนั้นก็จะลดลงเมื่ออายุของตราสารหนี้เพิ่มขึ้น

  4. แบบราบ
         หรือ Flat Yield Curve
    แสดงถึงอัตราผลตอบแทนที่เท่ากันในทุกช่วงอายุคงเหลือของตราสารหนี้


10. ท่านคิดว่าผู้ลงทุนในธุรกิจไม่ควรขยายการลงทุนเพราะเหตุใด



ความเสี่ยงของเงินทุนหรือหลักทรัพย์ต่างๆของผู้ลงทุนก็ยิ่งมีมากขึ้น
เนื่องมาจาก ความเสี่ยงจากการขาดสภาพคล่องของการซื้อขาย ความเสี่ยงทางตลาด
การสูญเสียเงินลงทุนอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงราคาของหลักทรัพย์ที่ลงทุนปัญหาเรื่องแรงงาน  ขาดแคลนแรงงาน  แรงงานไม่มีคุณภาพ ปัญหาแรงงานต่างด้าวเพราะต้องปัจจัยต่างๆที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ
เช่น สภาพเศรษฐกิจ  การเมืองรัฐบาล
ตลาดหลักทรัพย์ ความผันผวนของเงินตราต่างประเทศ ประชากร สภาพแวดล้อมค่าครองชีพสูง
รายได้น้อย  การว่างงาน เป็นต้น





คำถามประจำบทที่ 4


9. เส้นผลตอบแทนมีลักษณะใดบ้าง
แต่ละลักษณะอธิบายผลตอบแทนที่ต่างกันอย่างไร



แบบปกติ หรือ
Normal Yield Curve
จะมีลักษณะโค้งขึ้นแสดงถึงอัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ระยะยาวสูงกว่าตราสารหนี้ระยะสั้นซึ่งเส้นอัตราผลตอบแทนแบบนี้เป็นแบบที่พบบ่อยที่สุด



แบบลาดลง หรือ
Downward Sloping Yield Curve
จะมีลักษณะลาดลงจากซ้ายไปขวาแสดงถึงอัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ระยะยาวต่ำกว่าอัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ระยะสั้นเส้นอัตราผลตอบแทนลักษณะนี้จะพบในสภาวะที่ตลาดคาดการณ์ว่าอัตราผลตอบแทนมีแนวโน้มลดลงเรื่อย



แบบหลังเขา
หรือ Hump Yield Curve
แสดงถึง อัตราผลตอบแทนจะเพิ่มขึ้นตามอายุคงเหลือของตราสารหนี้จนถึงระดับหนึ่งนะครับ
และจากนั้นก็จะลดลงเมื่ออายุของตราสารหนี้เพิ่มขึ้น



แบบราบ หรือ
Flat Yield Curve
แสดงถึงอัตราผลตอบแทนที่เท่ากันในทุกช่วงอายุคงเหลือของตราสารหนี้


10. ท่านคิดว่าผู้ลงทุนในธุรกิจไม่ควรขยายการลงทุนเพราะเหตุใด



ความเสี่ยงของเงินทุนหรือหลักทรัพย์ต่างๆของผู้ลงทุนก็ยิ่งมีมากขึ้น
เนื่องมาจาก ความเสี่ยงจากการขาดสภาพคล่องของการซื้อขาย ความเสี่ยงทางตลาด
การสูญเสียเงินลงทุนอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงราคาของหลักทรัพย์ที่ลงทุนปัญหาเรื่องแรงงาน  ขาดแคลนแรงงาน  แรงงานไม่มีคุณภาพ ปัญหาแรงงานต่างด้าวเพราะต้องปัจจัยต่างๆที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ
เช่น สภาพเศรษฐกิจ  การเมืองรัฐบาล
ตลาดหลักทรัพย์ ความผันผวนของเงินตราต่างประเทศ ประชากร สภาพแวดล้อมค่าครองชีพสูง
รายได้น้อย  การว่างงาน เป็นต้น



ข้อ 9 เส้นอัตราผลตอบแทนมีลักษณะใดบ้าง แต่ละลักษณะอธิบายผลตอบแทนที่แตกต่างกันอย่างไร

มี 4 ลักษณะดังนี้  1.เส้นผลตอบแทนเพิ่มขึ้น Ascending yield curve 2. เส้นผลตอบแทนลดลง Descending yield curve 3. เส้นผลตอบแทนคงที่ Flat yield curve  4.เส้นผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้นและลดลง Humped yield curve 

1)เส้นผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้น (ascending yield curve) อัตราดอกเบี้ยระยะสั้นในอนาคตจะสูงขึ้น อัตราผลตอบแทนระยะยาวคือค่าเฉลี่ยของอัตราปัจจุบันกับอัตราระยะสั้นในอนาคตนั้นจะอยู่เหนืออัตราปัจจุบัน ทำให้เส้นผลตอบแทนทอดขึ้นจากซ้ายไปขวา

 2)เส้นผลตอบแทนลดลง (descending yield curve) อัตราดอกเบี้ยระยะสั้นในอนาคตลดลง อัตราผลตอบแทนระยะยาวจะอยู่ต่ำกว่าอัตราระยะสั้นปัจจุบัน ทำให้เส้นผลตอบแทนทอดลงจากซ้ายไปขวา

  3)เส้นผลตอบแทนคงที่ (flat yield curve) อัตราดอกเบี้ยในระยะสั้นไม่เปลี่ยนแปลง ทำให้เส้นผลตอบแทนขนานกับแกนนอน

  4)เส้นผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้นแล้วลดลง (humped yield curve) อัตราผลตอบแทนในระยะสั้นจะสูงขึ้นก่อนและลดลงอย่างมากภายหลัง ทำให้เส้นผลตอบเป็นเส้นโป่งขึ้นในระยะแรกและทอดลงมาในเวลาต่อมา

ข้อ 10 ท่านคิดว่าผู้ลงทุนในธุรกิจไม่ควรขยายการลงทุนเพราะเหตุใดบ้าง

1.ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ

2.ภาวะที่เงินสดขาดสภาพคล่อง

3.อัตราผลตอบแทนที่ไม่คุ้มค่าแก่การลงทุน

4.กำลังอยู่ในช่วงภัยภิบัติทางธรรมชาติ

5.ประเทศกำลังเกิดปัญหาทางด้านการเมือง

นางสาวสุภาลักษณ์  นินทะสิงห์ 55127326067

 9. เส้นผลตอบแทนมีลักษณะใดบ้าง แต่ละลักษณะอธิบายผลตอบแทนที่ต่างกันอย่างไร

ตอบ

1. ส้นผลตอบแทนเพิ่มขึ้น ( ascending yield curve )  มีอัตราค่าเฉลี่ยปัจจุบันที่สูงกว่า อัตราระยะสั้นทำให้เส้นผลตอบแทนเพิ่มขึ้น

  2.  เส้นผลตอบแทนลดลง ( descending yield curve )  มีอัตราค่าเฉลี่ยปัจจุบันที่ต่ำกว่า อัตราระยะสั้นทำให้เส้นผลตอบแทนลดลง     

  3. เส้นผลตอบแทนคงที่ ( flat yield curve )    ไม่มีการเปลี่ยนแปลงอัตราค่าเฉลี่ยปัจจุบันและ อัตราระยะสั้นทำให้เส้นผลตอบแทนยังคงที่     

4. เส้นผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้นแล้วลดลง      ( humped yield curve )   อัตราผลตอบแทนระยะสั้นในอนาคตจะสูงขึ้นก่อนและลดลงเป็นอย่างมากภายหลัง ทำให้ผลตอบแทนขึ้นแล้วลดลง              

 

10. ท่านคิดว่าผู้ลงทุนในธุรกิจไม่ควรขยายการลงทุนเพราะเหตุใด
ตอบ

1.ความเสี่ยงทางธุรกิจ (Business Risk) คือ ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงความสามารถในทำกำไรของบริษัท อันเป็นเหตุให้ผู้ลงทุนต้องสูญเสียรายได้ หรือเงินลงทุน ประกอบด้วย ความเสี่ยงทางการเงิน ความเสี่ยงด้านการบริหารจัดการ และความเสี่ยงในระดับอุตสาหกรรม

2.ความเสี่ยงทางตลาด (Market Risk) คือ การสูญเสียเงินลงทุนอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงราคาของหลักทรัพย์ที่ลงทุน ซึ่งเป็นไปตามอุปสงค์ และอุปทานของตลาด

3.ความเสี่ยงในอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate Risk) คือ ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราดอกเบี้ยในตลาด

4.ความเสี่ยงจากอำนาจซื้อ (Purchasing Power Risk) คือ ความเสี่ยงทีเกิดจากอำนาจซื้อของเงินที่ลดลง ซึ่งสาเหตุสำคัญที่ส่งผลต่ออำนาจซื้อ คือ ภาวะเงินเฟ้อ

                                                                          

9. เส้นผลตอบแทนมีลักษณะใดบ้าง แต่ละลักษณะอธิบายผลตอบแทนที่ต่างกันอย่างไร

ตอบ  เส้นผลตอบแทนมี 4 ลักษณะ ดังนี้

  1. เส้นผลตอบแทนเพิ่มขึ้น ( ascending yield curve )มีอัตราค่าเฉลี่ยปัจจุบันที่สูงกว่า อัตราระยะสั้นทำให้เส้นผลตอบแทนเพิ่มขึ้น 

  2.  เส้นผลตอบแทนลดลง ( descending yield curve )มีอัตราค่าเฉลี่ยปัจจุบันที่ต่ำกว่า อัตราระยะสั้นทำให้เส้นผลตอบแทนลดลง 

   3. เส้นผลตอบแทนคงที่ ( flat yield curve )ไม่มีการเปลี่ยนแปลงอัตราค่าเฉลี่ยปัจจุบันและ อัตราระยะสั้นทำให้เส้นผลตอบแทนยังคงที่  

   4. เส้นผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้นแล้วลดลง( humped yield curve )อัตราผลตอบแทนระยะสั้นในอนาคตจะสูงขึ้นก่อนและลดลงเป็นอย่างมากภายหลัง ทำให้ผลตอบแทนขึ้นแล้วลดลง 

10.ท่านคิดว่าผู้ลงทุนในธุรกิจไม่ควรขยายการลงทุนเพราะเหตุใด

ตอบ เพราะอาจจะทำให้โอกาสหรือผลตอบแทนที่จะได้รับเบี่ยงเบนไปตามที่คาดหวังได้

โดยมีความเสี่ยงหลายๆด้าน ดังนี้

  - ความเสี่ยงทางธุรกิจ (Business Risk)คือ ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงความสามารถในทำกำไรของบริษัท อันเป็นเหตุให้ผู้ลงทุนต้องสูญเสียรายได้ หรือเงินลงทุน ประกอบด้วย ความเสี่ยงทางการเงิน ความเสี่ยงด้านการบริหารจัดการ และความเสี่ยงในระดับอุตสาหกรรม

  -ความเสี่ยงทางตลาด(Market Risk)คือ การสูญเสียเงินลงทุนอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงราคาของหลักทรัพย์ที่ลงทุน ซึ่งเป็นไปตามอุปสงค์ และอุปทานของตลาด

  -ความเสี่ยงในอัตราดอกเบี้ย(Interest Rate Risk)คือ ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราดอกเบี้ยในตลาด

  -ความเสี่ยงจากอำนาจซื้อ(Purchasing Power Risk)คือ ความเสี่ยงทีเกิดจากอำนาจซื้อของเงินที่ลดลง ซึ่งสาเหตุสำคัญที่ส่งผลต่ออำนาจซื้อ คือ ภาวะเการแข่งขันในเชิง  -การตลาดของคู่แข่ง ที่มีผลกระทบต่อปริมาณการขาย และรายได้ของกิจการ

  -ความนิยมของผู้บริโภคที่เปลี่ยนไป และมีผลกระทบต่อปริมาณการขายและรายได้ของกิจการ

  -ความเสียหายจากภัยพิบัติ ทำให้ขบวนการผลิตและการจัดการหยุดชะงัก และกระทบต่อกระแสรายได้ของกิจการ

9. เส้นผลตอบแทนมีลักษณะใดบ้าง แต่ละลักษณะอธิบายผลตบแทนที่ต่างกันอย่างไรบ้าง ?

1. เส้นผลตอบแทนเพิ่มขึ้น (ascending yield curve) คือเส้นของอัตราดอกเบี้ยระยะสั้นในอนาคตจะสูง แต่ในระยะยาวเส้นอัตราดอกเบี้ยในปัจจุบันจะต่ำกว่าในอนาคต
2. เส้นผลตอบแทนลดลง (descending  yield curve) คือเส้นอัตราดอกเบี้ยระยะสั้นในอนาคตจะต่ำกว่าอัตราดอกเบี้ยในปัจจุบัน
3. เส้นผลตอบแทนคงที่ (flat yield curve)  คือเส้นของอัตราดอกเบี้ยในระยะสั้นและในระยะยาวจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงหรือคงที่นั้นเอง
4. เส้นผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้นแล้วลดลง (Humped Yield Curve)  คือเส้นของผลตอบแทนในระยะสั้นในอนาคตจะสูงขึ้นและจะลดลงในเวลาต่อมา  และเส้นของผลตอบแทนในระยะยาวจะสูงขึ้นในเวลาต่อมา

20. ท่านคิดว่าผู้ลงทุนในธุรกิจไม่ควรขยายการลงทุนเพราะเหตุใดบ้าง ?

  ผู้ลงทุนไม่ควรขยายการลงทุน เพราะอาจทำให้เกิดความเสี่ยงเนื่องจาก ภาวะทางด้านการค้า การลงทุน ทางด้านเศรษฐกิจ ฯลฯ ไม่ดี สิ่งเหล่านี้อาจทำให้เกิดความเสี่ยงต่อการลงทุนของผู้ลงทุนในเศรษฐกิจได้ และสิ่งที่ผู้ลงทุนไม่ควรที่จะขยายการลงทุนเลยก็คือ บริษัทของผู้ลงทุนนั้นเกิดภาวะตกต่ำลง ยิ่งถ้าผู้ลงทุนยังขยายธุรกิจไปโดยไม่ดูภาวะการเงินของบริษัทตนเองจะทำให้เกิดความเสี่ยงต่อการถูกปิดธุรกิจได้

 9. เส้นผลตอบแทนมีลักษณะใดบ้าง แต่ละลักษณะอธิบายผลตอบแทนที่แตกต่างกันอย่างไรบ้าง

ตอบ 1.เส้นผลตอบแทนเพิ่มขึ้น (ascending yield curve) จะมีลักษณะโค้งขึ้น (Upward sloping) ซึ่งแสดงให้เห็นว่า อัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ระยะยาวจะสูงกว่าอัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ระยะสั้น Yield Curve ในลักษณะนี้เป็นแบบที่พบบ่อย

2.เส้นผลตอบแทนลดลง (descending yield curve)   มีลักษณะลาดลงจากซ้ายไปขวา ( ((999-0--( ( (Downward sloping) ซึ่งแสดงให้เห็นว่าอัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ระยะสั้นจะสูงกว่าอัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ระยะยาว Yield Curve ในลักษณะนี้จะพบในภาวะที่ตลาดคาดการณ์ว่าอัตราผลตอบแทนมีแนวโน้มลดลงเรื่อยๆ

3. เส้นผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้นแล้วลดลง  (Humped Yield Curve) แสดงถึงอัตราผลตอบแทนจะเพิ่มขึ้นตามอายุคงเหลือของตราสารหนี้จนถึงระดับหนึ่ง จากนั้นจะลดลงเมื่ออายุของตราสารหนี้เพิ่มขึ้น

4.เส้นผลตอบแทนคงที่( Flat Yield Curve) แสดงถึงอัตราผลตอบแทนที่เท่ากันในทุกช่วงอายุคงเหลือของตราสารหนี้

10.ท่านคิดว่าผู้ลงทุนในธุรกิจไม่ควรขยายการลงทุนเพราะเหตุใด

ตอบ  ยังไม่ควรขยายการลงทุนเพราะสภาวะเศรษฐกิจกำลังถดถอย ผลกำไรที่จะได้รับต่ำ สภาพคล่องต่ำ ความเสี่ยงสูง  และความเสี่ยงยังมีความเสี่ยงทางธุรกิจ (Business Risk) คือ ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงความสามารถในทำกำไรของบริษัท อันเป็นเหตุให้ผู้ลงทุนต้องสูญเสียรายได้ หรือเงินลงทุน ประกอบด้วย ความเสี่ยงทางการเงิน ความเสี่ยงด้านการบริหารจัดการ และความเสี่ยงในระดับอุตสาหกรรม

ความเสี่ยงทางตลาด (Market Risk) คือ การสูญเสียเงินลงทุนอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงราคาของหลักทรัพย์ที่ลงทุน ซึ่งเป็นไปตามอุปสงค์ และอุปทานของตลาด

ความเสี่ยงในอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate Risk) คือ ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราดอกเบี้ยในตลาด

ความเสี่ยงจากอำนาจซื้อ (Purchasing Power Risk) คือ ความเสี่ยงทีเกิดจากอำนาจซื้อของเงินที่ลดลง  

9. เส้นผลตอบแทนมีลักษณะใดบ้าง แต่ละลักษณะอธิบายผลตอบแทนที่ต่างกันอย่างไรบ้าง

ตอบ

1)เส้นผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้น (ascending yield curve)  ลักษณะนี้เป็นลักษณะพื้นฐานของเส้นอัตราผลตอบแทน ที่สามารถพบได้เป็นส่วนใหญ่ใน Growth phase (ภาวะที่เศรษฐกิจมีการเติบโตสูง) โครงสร้างลักษณะนี้จะชี้ว่าตลาดกำหนดอัตราผลตอบแทนให้แก่ตราสารที่มีอายุคงเหลือน้อยในระดับต่ำ และสูงขึ้นเมื่อตราสารมีอายุคงเหลือยาวนานขึ้น กล่าวคือ ผู้ลงทุนคาดหวังอัตราดอกเบี้ยที่สูงมากยิ่งขึ้นในอนาคต (Implied forward rate)

2)เส้นผลตอบแทนลดลง (descending yield curve) โครงสร้างลักษณะนี้พบได้ไม่บ่อยนัก กล่าวคืออัตราผลตอบแทนสำหรับตราสารที่มีอายุคงเหลือน้อยอยู่ในระดับที่สูงกว่าอัตราผลตอบแทนของตราสารที่มีอายุคงเหลือที่ยาวกว่า สาเหตุหลักมักเกิดจากการที่ผู้ออกตราสารประสบกับสภาวะการขาดสภาพคล่องนระยะสั้น ทำให้ความสามารถในการการทำกำไร และการ refinance ภาระหนี้ เป็นไปด้วยความยากลำบาก ส่งผลให้ปัจจัยความเสี่ยงในการลงทุนระยะสั้นสูงกว่าในระยะยาว ดังจะเห็นได้จากลักษณะที่ความชันของเส้นอัตราผลตอบแทน มีความชันลดลงจาก ซ้ายไปขวา

3)เส้นผลตอบแทนคงที่ (flat yield curve)เป็นโครงสร้างลักษณะแบนราบเกือบขนานไปกับแกนนอน กล่าวคือ อัตราผลตอบแทนของพันธบัตรซึ่งมีอายุคงเหลือต่างๆ อยู่ในอัตราใกล้เคียงกันหรือเท่ากัน ลักษณะของเส้นอัตราผลตอบแทนลักษณะนี้มักเป็นผลมาจากการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยระยะสั้น (อัตราดอกเบี้ยซื้อคืนพันธบัตร 14วัน ในกรณีของประเทศไทย) อย่างต่อเนื่องโดยธนาคารกลาง (Tightening bias) นักลงทุนในตลาดตราสารหนี้จึงปรับเปลี่ยนการลงทุนจากตราสารระยะสั้นเป็นตราสารระยะยาวเพื่อหลีกเลี่ยง capital loss จากดอกเบี้ยที่ปรับตัวขึ้นอย่างรุนแรง (เนื่องจากดอกเบี้ยรับไม่มากพอที่จะชดเชย capital loss จากดอกเบี้ยที่ปรับตัวสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว)

4)เส้นผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้นแล้วลดลง (humped yield curve)  เป็นโครงสร้างแบบโหนก กล่าวคืออัตราผลตอบแทนของพันธบัตรสูงขึ้นตามอายุคงเหลือ จนถึงระดับหนึ่ง (ประมาณ 2ปี) จากนั้นแม้อายุตราสารจะเพิ่มขึ้น อัตราผลตอบแทนจะลดลงเรื่อยๆ จนปรับตัวเข้าสู่ความลาดชันปรกติเมื่ออายุคงเหลือยาวขึ้น


10. ท่านคิดว่าผู้ลงทุนในธุรกิจไม่ควรขยายการลงทุนเพราะเหตุใดบ้าง

ตอบ

1.การขยายกิจการยังไม่ใช่เหตุผลเดียวที่จะทำให้กิจการประสบความสำเร็จมากขึ้น เพราะยังขึ้นอยู่กับตลาดที่เราเลือกด้วยว่ามีโอกาสทางธุรกิจที่มากพอที่เราจะเข้าไปแข่งขันหรือไม่

2.ด้วยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ทำให้นักธุรกิจหลายคนใช้การขยายกิจการเป็นตัวแก้ปัญหายอดขายที่คงที่ ซึ่งเป็นการแก้ไขที่ปลายเหตุ อีกทั้งการเริ่มต้นขยายกิจการจากรากฐานเดิมที่ไม่มั่นคงอาจส่งผลให้กิจการพังครืนลงมาด้วยปัญหาทั้งเก่าและใหม่ต่างทับถมกันเอง ดังนั้นเราควรแก้ปัญหาที่มีอยู่ให้หมดสิ้นเสียก่อน แล้วจึงค่อยพิจารณาว่าควรจะขยายกิจการดีหรือไม่

3.การส่งเสริมการตลาดวิธีต่างๆ ส่งผลให้ผู้นำตลาดส่วนใหญ่ได้กำไรไม่มากเท่าที่ควร

4.คิดล่วงหน้าก่อนว่าหากแผนธุรกิจที่วางไว้เกิดช้าหรือไม่เป็นไปตามแผนในเวลาที่คาดการณ์ไว้ เราจะสามารถประคองตัวให้อยู่รอดได้หรือไม่

5.ธุรกิจที่เติบโตขึ้นยังนำมาซึ่งค่าใช้จ่ายอีกมากมาย เช่น ค่าเครื่องจักร ค่าวัตถุดิบ ค่าแรงงาน ค่าสวัสดิการพนักงานต่างๆ และค่าสาธารณูปโภคที่เพิ่มมากขึ้นอย่าง ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ ค่าอินเตอร์เน็ต ค่าขนส่ง และการบริการอื่นๆ ซึ่งจำเป็นสำหรับกิจการ เราจึงไม่แน่ใจว่าผลกำไรที่จะได้รับจากการขยายกิจการสามารถครอบคลุมค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมเหล่านี้ได้อย่างครบถ้วน


9.เส้นผลตอบแทนมีลักษณะใดบ้าง แต่ละลักษณะอธิบายผลตอบแทนที่ต่างกันอย่างไรบ้าง

1.เส้นผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้น อัตราดอกเบี้ยระยะสั้นในอนาคตจะสูงขึ้น อัตราผลตอบแทนระยะยาวคือ ค่าเฉลี่ยของอัตราปัจจุบันกับอัตราระยะสั้นในอนาคต นั้นจะอยู่เหนืออัตราปัจจุบัน

2.เส้นผลตอบแทนลดลง  อัตราดอกเบี้ยระยะสั้นในอนาคตจะลดลง อัตราผลตอบแทนระยะยาวจะอยู่ต่ำกว่าอัตราระยะสั้นของปัจจุบัน 

3.เส้นผลตอบแทนคงที่  อัตราดอกเบี้ยระยะสั้นในอนาคตไม่เปลี่ยนแปลงหรือคงที่ 

4.เส้นผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้นแล้วลดลง อัตราดอกเบี้ยระยะสั้นในอนาคตจะสูงขึ้นก่อนและลดลงเป็นอย่างมากในภายหลัง

10. ท่านคิดว่าผู้ลงทุนในธุรกิจไม่ควรขยายการลงทุนเพราะเหตุใด

ต้องดูด้วยว่าในการที่้เราทำธุรกิจอยู่นั้นผลตอบแทน ณจุดนั้นมันเป็นเช่นไร ถ้าคิดว่าธุรกิจอาจจะเติบโตก็ควรขยาย แต่ถ้ายอดขาย ณ ตอนนั้นไม่เป็นไปตามตามเป้าหมายก็ควรหยุดความคิดไว้ก่อนรอให้พร้อมจริงๆแล้วถึงขยาย ในความคิดของดิฉันคืดว่าควรจะเสี่ยงเพราะยึดคติที่ว่าอยากได้ลูกเสือต้องเข้าถ้ำเสือ แล้วเราก็วางแผนกับการขยายให้รัดกุมที่สุดเพราะถ้าวันหนึ่งการที่เราลงทุนไปแล้วไม่เป็นไปตามที่เราคาดหวังก็จะได้ไม่ขาดทุนมากหรือขาดทุนน้อยที่สุดเท่าที่กิจการจะรับไหว การทำธุรกิก็เหมือนการเสี่ยงอย่างหนึ่งถ้าเรามีโอกาสแล้วไม่ทำ เป็นจะเป็นสิ่งที่น่าเสียดายที่สุด 

9. เส้นผลตอบแทนมีลักษณะใดบ้าง  แต่ละลักษณะอธิบายผลตอบแทนที่ต่างกันอย่างไรบ้าง

- เส้นผลตอบแทนเพิ่มขึ้น  ( ascending  yield  curve ) =  มีอัตราค่าเฉลี่ยปัจจุบันที่สูงกว่า  อัตราระยะสั้นทำให้เส้นผลตอบแทนเพิ่มขึ้น

-  เส้นผลตอบแทนลดลง  ( descending  yield curve ) =  เส้นอัตราดอกเบี้ยระยะสั้นในอนาคตจะต่ำกว่าอัตราดอกเบี้ยในปัจจุบัน

-  เส้นผลตอบแทนคงที่  ( flat  yield  curve ) = เส้นผลตอบแทนในระยะสั้นและในระยะยาวจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง 

-  เส้นผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้นแล้วลดลง ( humped  yield  curve ) = อัตราผลตอบแทนระยะสั้นในอนาคตจะสูงขึ้นก่อนและลดลงมาก  ทำให้เส้นผลตอบแทนขึ้นแล้วลดลง

10. ท่านคิดว่าผู้ลงทุนในธุรกิจไม่ควรขยายการลงทุนเพราะเหตุใดบ้าง

1. ปัญหาการปรับขึ้นค่าแรงงาน  ส่งผลให้ราคาวัตถุดิบและราคาพลังงานเพิ่มสูงขึ้น  แต่ไม่สามรถปรับราคาสินค้าขึ้นได้

2.  ปัญหาการแข่งขันของธุรกิจแบบเดียวกัน

3. ภาวะเศรษฐกิจโลก  เนื่องจากสถานการณ์การเงินในปัจจุบันมีการเปิดเสรีมากขึ้น มีความเชื่อมโยงถึงกันมากขึ้น ภาวะเศรษฐกิจการเงินในประเทศอื่น สามารถส่งผลกระทบต่อตลาดการเงินและการลงทุนภายในประเทศได้ 


นางสาว ญานิชา  คำตัน  55127326073

คำถามประจำบทที่ 4  

9.เส้นผลตอบแทนมีลักษณะใดบ้าง แต่ละลักษณะอธิบายผลตอบแทนที่ต่างกันอย่างไรบ้าง

ตอบ เส้นผลตอบแทนมี 4 ลักษณะ ดังนี้

1. เส้นผลตอบแทนเพิ่มขึ้น ( ascending yield curve )มีอัตราค่าเฉลี่ยปัจจุบันที่สูงกว่า อัตราระยะสั้นทำให้เส้นผลตอบแทนเพิ่มขึ้น 

2. เส้นผลตอบแทนลดลง ( descending yield curve )มีอัตราค่าเฉลี่ยปัจจุบันที่ต่ำกว่า อัตราระยะสั้นทำให้เส้นผลตอบแทนลดลง 

3. เส้นผลตอบแทนคงที่ ( flat yield curve )ไม่มีการเปลี่ยนแปลงอัตราค่าเฉลี่ยปัจจุบันและ อัตราระยะสั้นทำให้เส้นผลตอบแทนยังคงที่ 

4. เส้นผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้นแล้วลดลง (humped yield curve )อัตราผลตอบแทนระยะสั้นในอนาคตจะสูงขึ้นก่อนและลดลงเป็นอย่างมากภายหลัง ทำให้ผลตอบแทนขึ้นแล้วลดลง 

10.ท่านคิดว่าผู้ลงทุนในธุรกิจไม่ควรขยายการลงทุนเพราะเหตุใดบ้าง

ตอบ เพราะตอนนี้ภาวะเศรษฐกิจไม่ค่อยดีไม่ควรจะขยายการลงทุนเพราะเศรษฐกิจกำลังถดถอยและที่สำคัญเกิดภาวะเงินเฟ้อ เงินฝืด และกำไรก็ต่ำลง และสภาพคล่องต่ำอีกด้วย ถ้าเราต้องการจะลงทุนอะไรก็ตามเราก็อยากได้ผลกำไรที่คุ้มค่าไม่ใช่การลงทุนที่ไม่คุ้มค่า

คำถามประจำบทที่ 4

ข้อ 9. เส้นผลตอบแทนมีลักษณะใดบ้างแต่ละลักษณะอธิบายผลตอบแทนที่ต่างกันอย่างไรบ้าง

ตอบ1. เส้นผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้น (ascending yield curve) อัตราดอกเบี้ยระยะสั้นในอนาคตจะสูงขึ้น อัตราผลตอบแทนระยะยาวคือค่าเฉลี่ยของอัตราปัจจุบันกับอัตราระยะสั้นในอนาคตนั้นจะอยู่เหนืออัตราปัจจุบัน ทำให้เส้นผลตอบแทนทอดขึ้นจากซ้ายไปขวา

 2. เส้นผลตอบแทนลดลง (descending yield curve) อัตราดอกเบี้ยระยะสั้นในอนาคตลดลง อัตราผลตอบแทนระยะยาวจะอยู่ต่ำกว่าอัตราระยะสั้นปัจจุบัน ทำให้เส้นผลตอบแทนทอดลงจากซ้ายไปขวา

  3. เส้นผลตอบแทนคงที่ (flat yield curve) อัตราดอกเบี้ยในระยะสั้นไม่เปลี่ยนแปลง ทำให้เส้นผลตอบแทนขนานกับแกนนอน
  4. เส้นผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้นแล้วลดลง (humped yield curve) อัตราผลตอบแทนในระยะสั้นจะสูงขึ้นก่อนและลดลงอย่างมากภายหลัง ทำให้เส้นผลตอบเป็นเส้นโป่งขึ้นในระยะแรกและทอดลงมาในเวลาต่อมา


ข้อ 10. ท่านคิดว่าผู้ลงทุนในธุรกิจไม่ควรขยายการลงทุนเพราะเหตุใดบ้าง

ตอบ ความเสี่ยงทางธุรกิจ (Business Risk) คือ ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงความสามารถในทำกำไรของบริษัท อันเป็นเหตุให้ผู้ลงทุนต้องสูญเสียรายได้ หรือเงินลงทุน ประกอบด้วย ความเสี่ยงทางการเงิน ความเสี่ยงด้านการบริหารจัดการ และความเสี่ยงในระดับอุตสาหกรรม ความเสี่ยงทางตลาด (Market Risk) คือ การสูญเสียเงินลงทุนอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงราคาของหลักทรัพย์ที่ลงทุน ซึ่งเป็นไปตามอุปสงค์ และอุปทานของตลาด ความเสี่ยงในอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate Risk) คือ ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราดอกเบี้ยในตลาด ความเสี่ยงจากอำนาจซื้อ (Purchasing Power Risk) คือ ความเสี่ยงทีเกิดจากอำนาจซื้อของเงินที่ลดลง ซึ่งสาเหตุสำคัญที่ส่งผลต่ออำนาจซื้อ คือ ภาวะเงินเฟ้อ ความเสี่ยงที่เป็นระบบ (Systematic Risk) เป็นความเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อตลาดทั้งระบบ มักจะเรียกอีกชื่อว่า Market Risk หรือUndiversificable Risk เป็นความเสี่ยงที่ไม่สามารถทำให้ลดลงได้จากการกระจายการลงทุน ความเสี่ยงไม่เป็นระบบ (Unsystematic Risk) - เป็นความเสี่ยงที่เกิดเฉพาะตัวกับธุรกิจ หรือ หลักทรัพย์นั้น ๆ นักลงทุนสามารถลดความเสี่ยงนี้ลงได้ด้วยการจัดพอร์ตลงทุนของตนเองให้มีการกระจายการลงทุนที่เหมาะสม

นางสาวหนึ่งฤทัย เวฬุวนารักษ์ รหัส 55127326071

 9. เส้นผลตอบแทนมีลักษณะใดบ้าง แต่ละลักษณะอธิบายผลตอบแทนที่แตกต่างกันอย่างไรบ้าง

ตอบ 1.เส้นผลตอบแทนเพิ่มขึ้น (ascending yield curve) จะมีลักษณะโค้งขึ้น (Upward sloping) ซึ่งแสดงให้เห็นว่า อัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ระยะยาวจะสูงกว่าอัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ระยะสั้น Yield Curve ในลักษณะนี้เป็นแบบที่พบบ่อย

2.เส้นผลตอบแทนลดลง (descending yield curve)   มีลักษณะลาดลงจากซ้ายไปขวา ( ((999-0--( ( (Downward sloping) ซึ่งแสดงให้เห็นว่าอัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ระยะสั้นจะสูงกว่าอัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ระยะยาว Yield Curve ในลักษณะนี้จะพบในภาวะที่ตลาดคาดการณ์ว่าอัตราผลตอบแทนมีแนวโน้มลดลงเรื่อยๆ

3. เส้นผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้นแล้วลดลง (Humped Yield Curve) แสดงถึงอัตราผลตอบแทนจะเพิ่มขึ้นตามอายุคงเหลือของตราสารหนี้จนถึงระดับหนึ่ง จากนั้นจะลดลงเมื่ออายุของตราสารหนี้เพิ่มขึ้น

4.เส้นผลตอบแทนคงที่( Flat Yield Curve) แสดงถึงอัตราผลตอบแทนที่เท่ากันในทุกช่วงอายุคงเหลือของตราสารหนี้

10.ท่านคิดว่าผู้ลงทุนในธุรกิจไม่ควรขยายการลงทุนเพราะเหตุใด

ตอบ ควร เพราะ 

ปัจจัยทางเศรษฐกิจ
ถือเป็นปัจจัยสำคัญที่สุดที่ส่งผลกระทบต่อการลงทุนในหลักทรัพย์ ปัญหาทางเศรษฐกิจอาจส่ง ผลกระทบต่อปัญหาอื่น ๆ ได้อีกมากมาย และก่อให้เกิดผลกระทบทางจิตวิทยาต่อผู้ลงทุนได้มากที่สุด ปัจจัยทางเศรษฐกิจ ที่ผู้ลงทุนควรคำนึงถึงได้แก่ 
•สภาพคล่องทางการเงิน เมื่อใดก็ตามที่เกิดปัญหาสภาพคล่องทางการเงิน หมายความว่าธุรกิจหรือกิจการทั้งหลาย ขาดเงินหมุนเวียนที่จะใช้ในการดำเนินงาน ย่อมก่อให้เกิดปัญหาอื่น ๆ ตามมา 
•อัตราดอกเ บี้ย เมื่อเกิดปัญหาสภาพคล่องทางการเงิน อัตราดอกเบี้ยจะขยับตัวสูงขึ้น ทำให้ต้นทุนการผลิตขอ ง กิจการ หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ สูงขึ้นตามไปด้วย ในทางตรงกันข้าม หากสภาพคล่องทางการเงินมีมาก อัตรา ดอกเบี้ยจะลดต่ำลง ผู้คนในสังคมจะมีกำลังซื้อมากขึ้น ส่งผลให้อุตสาหกรรมขยายตัว ธุรกิจต่าง ๆ รวมถึงการลงทุน ในหลักทรัพย์ก็จะได้รับผลดีตามไปด้วย 
•อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศหรือค่าเงิน ปัญหาอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ จะเกิดขึ้นเฉพาะอุตสาหกรรม ที่ต้องพึ่งพาวัตถุดิบจากต่างประเทศ หากค่าของเงินบาทอ่อนตัวลง ย่อมทำให้ ค่าใช้จ่าย ในการสั่งสินค้าเข้ามาผลิตหรือจำหน่ายสูงขึ้นตามไปด้วย แต่สำหรับกิจการที่ส่งออกสินค้า หรือบริการ อาจได้รับผลดี อย่างไรก็ตาม สำหรับประเทศไทยซึ่งอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่ต้องพึ่งพาการนำเข้าวัตถุดิบ และมี ภาระหนี้สินต่างประเทศค่อนข้างมาก ค่าเงินบาทที่อ่อนตัวลง จะส่งผลในทางลบแก่ธุรกิจ 
•การผลิต ซึ่งภาพโดยกว้างอาจหมายรวมไปถึงตลาดการค้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปัจจุบันคือ ตลาดต่างประเทศ หากอุตสาหกรรมภาคการผลิต และบริการของเรา สามารถผลิตและจำหน่ายสินค้า ที่ตรงตามความต้องการ ของประเทศคู่ค้าได้ ทั้งยังมีราคาและคุณภาพเหมาะสมหรือดีกว่าสินค้า จากประเทศคู่แข่ง มีต้นทุนการผลิตที่ต่ำ ได้รับการสนับสนุนที่เข้มแข็งจากภาครัฐ ปัจจัยเหล่านี้ ก็จะส่งผลให้สามารถจำหน่ายสินค้าหรือบริการได้ดีขึ้น นำเงินตราจากต่างประเทศเข้ามาเสริมสร้างสภาพคล่องได้มากขึ้น และกำลังซื้อของประชาชนที่มีมากขึ้น จะกระจายผลดีไปยังกิจการอื่น ๆ ภายในประเทศได้ 
•ภาวะเศรษฐกิจต่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาวะเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้า หากอยู่ในสภาพดี ความต้องการ สินค้าย่อมมีมากขึ้น ส่งผลดีต่อยอดขายและเม็ดเงินที่กลับเข้ามาในประเทศไทยในทางตรงข้าม หากเศรษฐกิจของ ประเทศคู่ค้าประสบปัญหา จะทำให้ยอดจำหน่ายสินค้า และบริการของอุตสาหกรรมต่าง ๆ ของประเทศลดน้อยลง ซึ่งจะก่อให้เกิดผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศโดยรวม  
2.ปัจจัยทางการเมือง
เป็นปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อราคาหุ้นได้อย่างรวดเร็วและรุนแรง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ปัจจัย การเมืองในประเทศ เนื่องจากรัฐบาลเป็นผู้กำหนดนโยบายต่าง ๆ ที่มีผลกระทบโดยตรงต่อเศรษฐกิจ ไม่ว่าจะเป็น การกำหนดอัตราภาษี การส่งเสริมการลงทุน การหาตลาดต่างประเทศ เป็นต้น 
3.ปัจจัยอื่น ๆ
เช่น ปัจจัยจากธรรมชาติอันได้แก่ ฝนแล้ง น้ำท่วม แผ่นดินไหว หรือภัยพิบัติต่าง ๆ รวมทั้งความไม่สงบ ภายในประเทศหรือบริเวณชายแดนกับประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อภาวะทางเศรษฐกิจด้านอื่น ๆ 
4.ปัจจัยเกี่ยวกับตลาดหลักทรัพย์หรือตัวหลักทรัพย์
เช่น การเกิดข่าวลือการเก็งกำไรที่มากเกินไป จนปัจจัยพื้นฐาน รองรับไม่ไหว กฎระเบียบที่เข้มงวดหรือหย่อนยานจนเกินไป อัตรามาร์จิน (Margin) และดอกเบี้ยที่ไม่เอื้อต่อนักลงทุน เหล่านี้คือปัจจัยทางลบของตลาด ส่วนปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับตัวหลักทรัพย์ เช่น ผลกำไร ฐานะการเงินของบริษัทจดทะเบียน การประกาศเพิ่มทุน การประกาศจ่ายเงินปันผล หรือแม้แต่ข่าว เกี่ยวกับผู้บริหารของบริษัทจดทะเบียน ก็อาจส่งผลกระทบ ต่อราคาหลักทรัพย์ได้ทั้งสิ้น 
การวิเคราะห์การลงทุนในหลักทรัพย์โดยอาศัยปัจจัยต่าง ๆ ที่กล่าว มาข้างต้น เรียกว่า "การวิเคราะห์โดยใช้ปัจจัย พื้นฐาน" (Fundamental Analysis) อย่างไรก็ตาม ผู้ลงทุนอาจเคยได้ยินคำว่า "การวิเคราะห์ทางเทคนิค" (Technical Analysis) ซึ่งเป็นการวิเคราะห์หุ้นโดยอาศัยข้อมูลตัวเลข การเคลื่อนไหวของราคาหุ้น และมูลค่าการ ซื้อขายหุ้นในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ๆ มาคาดคะเนแนวโน้มของหุ้น ในอนาคต การวิเคราะห์ในลักษณะนี้ มีรายละเอียดและ วิธีการที่ซับซ้อน ผู้สนใจต้องศึกษาเพิ่มเติม จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น

แบบฝึกหักบทที่4

9. เส้นผลตอบแทนมีลักษณะใดบ้าง แต่ละลักษณะอธิบายผลตอบแทนที่แตกต่างกันอย่างไรบ้าง

มี 4 ลักษณะ ได้แก่

1.เส้นผลตอบแทนเพิ่มขึ้น Ascending yield curveมีลักษณะเป็นเส้นลาดชันขึ้นจากซ้ายไปขวา  คือ Yieldของพันธบัตรที่มีอายุคงเหลือสั้นจะต่ำกว่า Yieldของพันธบัตรที่มีอายุคงเหลือยาว  แสดงให้เห็นว่า ผู้ลงทุนต้องการผลตอบแทนที่สูงขึ้นเมื่อลงทุนในตราสารหนี้ที่มีอายุยาวขึ้น

2. เส้นผลตอบแทนลดลง Descending yield curveเป็นเส้นกราฟลาดลงจากซ้ายไปขวา พันธบัตรที่มีอายุคงเหลือยาวจะมีอัตราผลตอบแทนต่ำกว่าพันธบัตรที่มีอายุสั้น ซึ่ง Yield curveลักษณะนี้จะพบเมื่อตลาดคาดการณ์ว่าอัตราดอกเบี้ยในตลาดมีแนวโน้มลดลง

3. เส้นผลตอบแทนคงที่ Flat yield curveเป็นลักษณะของอัตราผลตอบแทนที่เท่ากันทุกช่วงอายุของตราสารหนี้

4.เส้นผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้นและลดลง Humped yield curveเส้นจะลาดชันขึ้นจากซ้ายไปขวาและวกต่ำลงเมื่ออายุคงเหลือของตราสารหนี้เพิ่มขึ้น

10.ท่านคิดว่าผู้ลงทุนในธุรกิจไม่ควรขยายการลงทุนเพราะเหตุใด

1)ความเสี่ยงทางธุรกิจ (Business Risk) คือ ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงความสามารถในทำกำไรของบริษัท อันเป็นเหตุให้ผู้ลงทุนต้องสูญเสียรายได้ หรือเงินลงทุน ประกอบด้วย ความเสี่ยงทางการเงิน ความเสี่ยงด้านการบริหารจัดการ และความเสี่ยงในระดับอุตสาหกรรม

2)ความเสี่ยงทางตลาด (Market Risk) คือ การสูญเสียเงินลงทุนอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงราคาของหลักทรัพย์ที่ลงทุน ซึ่งเป็นไปตามอุปสงค์ และอุปทานของตลาด

3)ความเสี่ยงในอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate Risk)คือ ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราดอกเบี้ยในตลาด

4)ความเสี่ยงจากอำนาจซื้อ (Purchasing Power Risk)คือ ความเสี่ยงทีเกิดจากอำนาจซื้อของเงินที่ลดลง ซึ่งสาเหตุสำคัญที่ส่งผลต่ออำนาจซื้อ คือ ภาวะเงินเฟ้อ

 

คำถามประจำบทที่ 4  

 9. เส้นผลตอบแทนมีลักษณะใดบ้าง แต่ละลักษณะอธิบายผลตอบแทนที่แตกต่างกันอย่างไรบ้าง

ตอบ 1.เส้นผลตอบแทนเพิ่มขึ้น (ascending yield curve) จะมีลักษณะโค้งขึ้น (Upward sloping) ซึ่งแสดงให้เห็นว่า อัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ระยะยาวจะสูงกว่าอัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ระยะสั้น Yield Curve ในลักษณะนี้เป็นแบบที่พบบ่อย

2.เส้นผลตอบแทนลดลง (descending yield curve)   มีลักษณะลาดลงจากซ้ายไปขวา ( ((999-0--( ( (Downward sloping) ซึ่งแสดงให้เห็นว่าอัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ระยะสั้นจะสูงกว่าอัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ระยะยาว Yield Curve ในลักษณะนี้จะพบในภาวะที่ตลาดคาดการณ์ว่าอัตราผลตอบแทนมีแนวโน้มลดลงเรื่อยๆ

3. เส้นผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้นแล้วลดลง (Humped Yield Curve) แสดงถึงอัตราผลตอบแทนจะเพิ่มขึ้นตามอายุคงเหลือของตราสารหนี้จนถึงระดับหนึ่ง จากนั้นจะลดลงเมื่ออายุของตราสารหนี้เพิ่มขึ้น

4.เส้นผลตอบแทนคงที่( Flat Yield Curve) แสดงถึงอัตราผลตอบแทนที่เท่ากันในทุกช่วงอายุคงเหลือของตราสารหนี้

10.ท่านคิดว่าผู้ลงทุนในธุรกิจไม่ควรขยายการลงทุนเพราะเหตุใด

ตอบ ควรขยายการลงทุน เพราะ การลงทุนคือการขยายธุรกิจ ถ้าตลาดหุ้นหรือฐานกำลังการซื้อขายหรือพวกปัญหาทางการเมืองเกิดขึ้นในประเทศที่เราจะลงทุน มันก็จะส่งผลเสียต่อเรา ทำให้ขาดทุน หุ้นตก ขยายออกไปมากๆๆเข้า แต่ไม่ได้กำไร หรือกำไรน้อยกว่าที่ควร เราจะอยู่ยาก บริหารงานไม่คล่อง สภาวะการบริหารฝืดเคือง การลงทุนต้องมีความมั่นคงสูง เพื่อไม่ให้สูญเสียผลกำไรเกินกว่าที่กำหนด

ข้อ 9 เส้นอัตราผลตอบแทนมีลักษณะใดบ้าง แต่ละลักษณะอธิบายผลตอบแทนที่แตกต่างกันอย่างไร

1. เส้นผลตอบแทนเพิ่มขึ้น (ascending yield curve) จะมีลักษณะโค้งขึ้น (Upward sloping) ซึ่งแสดงให้เห็นว่า อัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ระยะยาวจะสูงกว่าอัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ระยะสั้น Yield Curve ในลักษณะนี้เป็นแบบที่พบบ่อย

2. เส้นผลตอบแทนลดลง (descending yield curve) มีลักษณะลาดลงจากซ้ายไปขวา ( Downward sloping) ซึ่งแสดงให้เห็นว่าอัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ระยะสั้นจะสูงกว่าอัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ระยะยาว Yield Curve ในลักษณะนี้จะพบในภาวะที่ตลาดคาดการณ์ว่าอัตราผลตอบแทนมีแนวโน้มลดลงเรื่อยๆ

3. เส้นผลตอบแทนคงที่ (flat yield curve) แสดงถึงอัตราผลตอบแทนที่เท่ากันในทุกช่วงอายุคงเหลือของตราสารหนี้

4. เส้นผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้นแล้วลดลง (Humped Yield Curve) แสดงถึงอัตราผลตอบแทนจะเพิ่มขึ้นตามอายุคงเหลือของตราสารหนี้จนถึงระดับหนึ่ง จากนั้นจะลดลงเมื่ออายุของตราสารหนี้เพิ่มขึ้น

10.ท่านคิดว่าผู้ลงทุนในธุรกิจไม่ควรขยายการลงทุนเพราะเหตุใด

เพราะ ถ้าหากผู้ลงทุนต้องการขยายการลงทุน ถือว่าความเสี่ยงของเงินทุนหรือหลักทรัพย์ต่างๆของผู้ลงทุนก็ยิ่งมีมากขึ้น เนื่องมาจาก ความเสี่ยงจากการขาดสภาพคล่องของการซื้อขาย ความเสี่ยงทางตลาด การสูญเสียเงินลงทุนอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงราคาของหลักทรัพย์ที่ลงทุน ซึ่งเป็นไปตามอุปสงค์ และอุปทานของตลาด และความเสี่ยงทางธุรกิจ  เกิดจากการเปลี่ยนแปลงความสามารถในทำกำไรของบริษัท เป็นเหตุให้ผู้ลงทุนต้องสูญเสียรายได้ หรือเงินลงทุน ประกอบด้วย ความเสี่ยงทางการเงิน ความเสี่ยงด้านการบริหารจัดการ จึงเป็นเหตุผลผู้ลงทุนในธุรกิจไม่ควรขยายการลงทุน

คำถามประจำบทที่ 4  

ข้อ 9. เส้นผลตอบแทนมีลักษณะใดบ้างแต่ละลักษณะอธิบายผลตอบแทนที่ต่างกันอย่างไรบ้าง

ตอบ1. เส้นผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้น (ascending yield curve) อัตราดอกเบี้ยระยะสั้นในอนาคตจะสูงขึ้น อัตราผลตอบแทนระยะยาวคือค่าเฉลี่ยของอัตราปัจจุบันกับอัตราระยะสั้นในอนาคตนั้นจะอยู่เหนืออัตราปัจจุบัน ทำให้เส้นผลตอบแทนทอดขึ้นจากซ้ายไปขวา

 2. เส้นผลตอบแทนลดลง (descending yield curve) อัตราดอกเบี้ยระยะสั้นในอนาคตลดลง อัตราผลตอบแทนระยะยาวจะอยู่ต่ำกว่าอัตราระยะสั้นปัจจุบัน ทำให้เส้นผลตอบแทนทอดลงจากซ้ายไปขวา

3. เส้นผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้นแล้วลดลง (Humped Yield Curve) แสดงถึงอัตราผลตอบแทนจะเพิ่มขึ้นตามอายุคงเหลือของตราสารหนี้จนถึงระดับหนึ่ง จากนั้นจะลดลงเมื่ออายุของตราสารหนี้เพิ่มขึ้น

4.เส้นผลตอบแทนคงที่( Flat Yield Curve) แสดงถึงอัตราผลตอบแทนที่เท่ากันในทุกช่วงอายุคงเหลือของตราสารหนี้

10.ท่านคิดว่าผู้ลงทุนในธุรกิจไม่ควรขยายการลงทุนเพราะเหตุใด

ตอบ เพราะ ผู้ลงทุนต้องศึกษาองค์ประกอบของธุรกิจนั้น ๆว่าจะสมควรลงทุนต่อหรือไม่ อย่างละเอียดถี่ถ้วน และสิ่งที่ขาดไม่ได้คือ ต้องถามตัวเองว่าทำไมถึงคิดจะลงทุนในธุรกิจนี้เพิ่ม โดยพิจารณาจากประสบการณ์ตั้งแต่เปิดธุรกิจ สภาพแวดล้อมต่างๆ การศึกษา และที่สำคัญคือเงินทุน ประกอบด้วย และควรจะประเมินจากเส้นผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้น เส้นผลตอบแทนลดลง  เส้นผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้นแล้วลดลง เส้นผลตอบแทนคง เป็นหลัก

รหัส 55127326054

คำถามประจำบทที่ 4  

ข้อ 9. เส้นผลตอบแทนมีลักษณะใดบ้างแต่ละลักษณะอธิบายผลตอบแทนที่ต่างกันอย่างไรบ้าง

ตอบ เส้นอัตราผลตอบแทน หรือ ที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า Yield curve คือ เส้นที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างอัตราผลตอบแทนกับอายุคงเหลือ(Time to maturity) ของตราสารหนี้แต่ละจุดบน Yield curve จะบอกให้เราทราบว่า อัตราผลตอบแทหรือ Yield ที่ตลาดต้องการสำหรับตราสารหนี้แต่ละช่วงอายุเป็นเท่าไรโดยปกติเราจะใช้อัตราผลตอบแทนของพันธบัตรรัฐบาล ณ ช่วงอายุต่างๆ มาสร้างเป็น เส้นอัตราผลตอบแทนที่ปราศจากความเสี่ยงของการผิดนัดชำระหนี้ที่เรียกว่า Risk-free yield curve ซึ่งเป็นอัตราผลตอบแทนพื้นฐานที่สามารถนำไปใช้คำนวณอัตราผลตอบแทนสำหรับตราสารหนี้ที่มีความเสี่ยงต่างๆได้เส้นอัตราผลตอบแทนที่ ThaiBMA จัดทำและเผยแพร่ คือ ThaiBMA Government bond yield curve โดยจะเผยแพร่ในเวลาประมาณ 16.00 น. ของทุกวันทำการ และถือเป็นข้อมูลพื้นฐานที่ตลาดตราสารหนี้นำไปใช้อ้างอิงและใช้กันอย่างแพร่หลายโดยสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในงานต่างๆ เช่น การกำหนดอัตราดอกเบี้ยของพันธบัตรและหุ้นกู้เพื่อจำหน่ายในตลาดแรกการใช้เป็นเครื่องมือการคำนวณเพื่อหามูลค่ายุติธรรมในการบันทึกบัญชี รวมทั้งเพื่อเป็นข้อมูลในการตัดสินใจดำเนินนโยบายและกลยุทธ์การลงทุน
รูปร่างของเส้นอัตราผลตอบแทน ปัจจัยทางเศรษฐกิจต่างๆ เช่น ภาวะเงินเฟ้อนโยบายทางการเงินของรัฐบาล สภาพคล่องในระบบการเงินมีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงของเส้น Yield curve และจะทำให้Yield curve มีรูปร่างที่แตกต่างกันไปในแต่ละช่วงเวลา โดยรูปร่างของYield curve สามารถแบ่งออกเป็น 4 รูปแบบดังนี้
1. แบบปกติ (Normal yield curve or Upward slopingyield curve) มีลักษณะเป็นเส้นลาดชันขึ้นจากซ้ายไปขวา คือ Yieldของพันธบัตรที่มีอายุคงเหลือสั้นจะต่ำกว่า Yield ของพันธบัตรที่มีอายุคงเหลือยาว แสดงให้เห็นว่า ผู้ลงทุนต้องการผลตอบแทนที่สูงขึ้นเมื่อลงทุนในตราสารหนี้ที่มีอายุยาวขึ้นซึ่งเป็นเรื่องปกติ เราจึงเรียกว่าเส้นอัตราผลตอบแทนแบบนี้ว่า แบบปกติ
2. แบบลาดลง (Inverted yield curve or Downward sloping yield curve) มีลักษณะตรงข้ามกับแบบปกติ
คือ เป็นเส้นกราฟลาดลงจากซ้ายไปขวา พันธบัตรที่มีอายุคงเหลือยาวจะมีอัตราผลตอบแทนต่ำกว่าพันธบัตรที่มีอายุสั้นซึ่ง Yield curve ลักษณะนี้จะพบเมื่อตลาดคาดการณ์ว่าอัตราดอกเบี้ยในตลาดมีแนวโน้มลดลง
3. แบบหลังเขา (Humped yield curve) เส้นจะลาดชันขึ้นจากซ้ายไปขวาและวกต่ำลงเมื่ออายุคงเหลือของตราสารหนี้เพิ่มขึ้น
4. แบบแบนราบ (Flatted yield curve) เป็นลักษณะของอัตราผลตอบแทนที่เท่ากันทุกช่วงอายุของตราสารหนี้

ข้อ 10 .ท่านคิดว่าผู้ลงทุนในธุรกิจไม่ควรขยายการลงทุนเพราะเหตุใด
ตอบ ไม่ควร เพราะ
ความเสี่ยงทางธุรกิจ (Business Risk) คือ ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงความสามารถในทำกำไรของบริษัท อันเป็นเหตุให้ผู้ลงทุนต้องสูญเสียรายได้ หรือเงินลงทุน ประกอบด้วย ความเสี่ยงทางการเงิน ความเสี่ยงด้านการบริหารจัดการ และความเสี่ยงในระดับอุตสาหกรรม
ความเสี่ยงทางตลาด (Market Risk) คือ การสูญเสียเงินลงทุนอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงราคาของหลักทรัพย์ที่ลงทุน ซึ่งเป็นไปตามอุปสงค์ และอุปทานของตลาด
ความเสี่ยงในอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate Risk) คือ ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราดอกเบี้ยในตลาด
ความเสี่ยงจากอำนาจซื้อ (Purchasing Power Risk) คือ ความเสี่ยงทีเกิดจากอำนาจซื้อของเงินที่ลดลง ซึ่งสาเหตุสำคัญที่ส่งผลต่ออำนาจซื้อ คือ ภาวะเงินเฟ้อ

คำถามประจำบทที่ 4  

ข้อ 9. เส้นผลตอบแทนมีลักษณะใดบ้างแต่ละลักษณะอธิบายผลตอบแทนที่ต่างกันอย่างไรบ้าง

เส้นอัตราผลตอบแทน (Yield Curve)

  การวิเคราะห์อัตราผลตอบแทนมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการลงทุนในตราสารหนี้  เนื่องจากอัตราผลตอบแทนและราคาของตราสารหนี้นั้นมีความสัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ เมื่ออัตราผลตอบแทนหรือ Yield ในตลาดมีการเปลี่ยนแปลงก็จะส่งผลให้เกิดความผันผวนของราคา ซึ่งจะส่งผลต่อการตัดสินใจและการวางกลยุทธ์ในการลงทุน ในขณะที่ผู้ออกตราสารหนี้ก็สามารถใช้ประโยชน์จากเส้นอัตราผลตอบแทน ในการพิจารณาต้นทุนการออกตราสารหนี้ของตนเปรียบเทียบกับเส้นอัตราผลตอบแทน 

  • เส้นอัตราผลตอบแทน (Yield Curve) คืออะไร 

  เส้นอัตราผลตอบแทน หรือ ที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า Yield curve คือ เส้นที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างอัตราผลตอบแทนกับอายุคงเหลือ (Time to maturity)  ของตราสารหนี้  แต่ละจุดบน Yield curve จะบอกให้เราทราบว่า  อัตราผลตอบแทน หรือ Yield ที่ตลาดต้องการสำหรับตราสารหนี้แต่ละช่วงอายุเป็นเท่าไร  โดยปกติเราจะใช้อัตราผลตอบแทนของพันธบัตรรัฐบาล ณ ช่วงอายุต่างๆ มาสร้างเป็น เส้นอัตราผลตอบแทนที่ปราศจากความเสี่ยงของการผิดนัดชำระหนี้ ที่เรียกว่า Risk-free yield curve ซึ่งเป็นอัตราผลตอบแทนพื้นฐานที่สามารถนำไปใช้คำนวณอัตราผลตอบแทนสำหรับตราสารหนี้ที่มีความเสี่ยงต่างๆได้ 

  เส้นอัตราผลตอบแทนที่ ThaiBMA จัดทำและเผยแพร่ คือ ThaiBMA Government bond yield curve โดยจะเผยแพร่ในเวลาประมาณ 16.00 น. ของทุกวันทำการ และถือเป็นข้อมูลพื้นฐานที่ตลาดตราสารหนี้นำไปใช้อ้างอิงและใช้กันอย่างแพร่หลาย โดยสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในงานต่างๆ เช่น การกำหนดอัตราดอกเบี้ยของพันธบัตรและหุ้นกู้เพื่อจำหน่ายในตลาดแรก การใช้เป็นเครื่องมือการคำนวณเพื่อหามูลค่ายุติธรรมในการบันทึกบัญชี  รวมทั้งเพื่อเป็นข้อมูลในการตัดสินใจดำเนินนโยบายและกลยุทธ์การลงทุน 

  • รูปร่างของเส้นอัตราผลตอบแทน 

  ปัจจัยทางเศรษฐกิจต่างๆ  เช่น ภาวะเงินเฟ้อ นโยบายทางการเงินของรัฐบาล สภาพคล่องในระบบการเงิน มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงของเส้น Yield curve และจะทำให้ Yield curve มีรูปร่างที่แตกต่างกันไปในแต่ละช่วงเวลา โดยรูปร่างของ Yield curve สามารถแบ่งออกเป็น 4 รูปแบบดังนี้ 

1. แบบปกติ (Normal yield curve or Upward sloping yield curve) มีลักษณะเป็นเส้นลาดชันขึ้นจากซ้ายไปขวา  คือ Yield ของพันธบัตรที่มีอายุคงเหลือสั้นจะต่ำกว่า Yield ของพันธบัตรที่มีอายุคงเหลือยาว  แสดงให้เห็นว่า ผู้ลงทุนต้องการผลตอบแทนที่สูงขึ้นเมื่อลงทุนในตราสารหนี้ที่มีอายุยาวขึ้น  ซึ่งเป็นเรื่องปกติ  เราจึงเรียกว่าเส้นอัตราผลตอบแทนแบบนี้ว่า  แบบปกติ 

2. แบบลาดลง (Inverted yield curve or Downward sloping yield curve) มีลักษณะตรงข้ามกับแบบปกติ คือ เป็นเส้นกราฟลาดลงจากซ้ายไปขวา พันธบัตรที่มีอายุคงเหลือยาวจะมีอัตราผลตอบแทนต่ำกว่าพันธบัตรที่มีอายุสั้น ซึ่ง Yield curve ลักษณะนี้จะพบเมื่อตลาดคาดการณ์ว่าอัตราดอกเบี้ยในตลาดมีแนวโน้มลดลง  2. แบบลาดลง (Inverted yield curve or Downward sloping yield curve) มีลักษณะตรงข้ามกับแบบปกติ คือ เป็นเส้นกราฟลาดลงจากซ้ายไปขวา พันธบัตรที่มีอายุคงเหลือยาวจะมีอัตราผลตอบแทนต่ำกว่าพันธบัตรที่มีอายุสั้น ซึ่ง Yield curve ลักษณะนี้จะพบเมื่อตลาดคาดการณ์ว่าอัตราดอกเบี้ยในตลาดมีแนวโน้มลดลง 

3. แบบหลังเขา (Humped yield curve)  เส้นจะลาดชันขึ้นจากซ้ายไปขวาและวกต่ำลงเมื่ออายุคงเหลือของตราสารหนี้เพิ่มขึ้น 

4. แบบแบนราบ (Flatted yield curve) เป็นลักษณะของอัตราผลตอบแทนที่เท่ากันทุกช่วงอายุของตราสารหนี้ 

ข้อ 10 .ท่านคิดว่าผู้ลงทุนในธุรกิจไม่ควรขยายการลงทุนเพราะเหตุใด

ทำให้เกิดความเสี่ยงต่างๆที่เกิดจากการลงทุนในเศรษฐกิจนั้น ๆ อาจจะเกิดได้จาก

1. ความเสี่ยงของการเปลี่ยนแปลงราคาที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยในตลาด (Interest Rate Risk หรือ Price Risk หรือ Market Risk)

เนื่องจากราคาของตราสารหนี้จะเปลี่ยนแปลงในทิศทางตรงกันข้ามกับอัตราดอกเบี้ยในตลาด ดังนั้น เมื่อนักลงทุนต้องการขายตราสารหนี้ก่อนครบกำหนด หากอัตราดอกเบี้ยในตลาดในขณะที่จะขาย สูงกว่าอัตราดอกเบี้ยของตราสารหนี้ที่ถืออยู่ นักลงทุนอาจจะต้องยอมขายในราคาที่ต่ำกว่าราคาตรา

2. ความเสี่ยงจากการผิดนัดชำระหนี้หรือไม่สามารถชำระหนี้เมื่อครบกำหนดไถ่ถอน (Credit Risk หรือ Default Risk)

เป็นความเสี่ยงที่เกิดขึ้นในกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้ผิดนัดชำระหรือไม่สามารถชำระหนี้ได้ ซึ่งรวมถึงความเสี่ยงจากการถูกลดความน่าเชื่อถือในระหว่างที่ตราสารหนี้ยังไม่ครบกำหนดไถ่ถอน ตราสารหนี้ภาครัฐถือได้ว่าเป็นตราสารหนี้ที่มีความเสี่ยงชนิดนี้ต่ำมาก ดังนั้นอัตราผลตอบแทนที่ได้รับจึงมักต่ำกว่าตราสารหนี้ภาคเอกชน

3. ความเสี่ยงจากการขาดสภาพคล่อง (Liquidity Risk)

คือ ความเสี่ยงจากการขาดสภาพคล่องของการซื้อขายตราสารหนี้ ทำให้ไม่สามารถซื้อขายตราสารหนี้ในจังหวะเวลาและราคาที่เหมาะสมได้ หรือหากต้องการจะซื้อขายจริงอาจจะต้องมีการเพิ่มหรือลดราคา เพื่อดึงดูดให้มีการตกลงซื้อขายเกิดขึ้น แต่ถ้าผู้ลงทุนถือตราสารหนี้ไปจนถึงวันครบกำหนดไถ่ถอนก็จะไม่มีความเสี่ยงชนิดนี้เกิดขึ้น

4. ความเสี่ยงจากภาวะเงินเฟ้อ (Inflation Risk)

คือ ความเสี่ยงอันเนื่องมาจากการลดลงของอำนาจซื้อ โดยปกติอัตราดอกเบี้ยส่วนใหญ่มีการกำหนดเอาไว้คงที่ ซึ่งผลของเงินเฟ้อจะลดค่าของเงินลงทั้งดอกเบี้ยที่ได้รับในแต่ละงวดและเงินต้นที่จะได้รับคืนในงวดสุดท้าย 

นโยบายเศรษฐกิจรัฐบาลนายกยิ่งลักษณ์ ที่เตรียมแถลงต่อสภาในวันที่ 23 สิงหาคม 2554

โดย Friends of Yingluck เมื่อ 19 สิงหาคม 2011 เวลา 14:28 น. ·

หมายเหตุ -ส่วนหนึ่งของนโยบายด้าน เศรษฐกิจของรัฐบาล น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ที่จะแถลงต่อรัฐสภา ในการประชุมรัฐสภา วันที่ 23 สิงหาคม 2554

นโยบายเศรษฐกิจมหภาค

1.ดำเนิน การให้มีการกระจายรายได้ที่เป็นธรรมให้แก่คนส่วนใหญ่ของประเทศ และให้เศรษฐกิจสามารถเจริญเติบโตในอัตราสูงอย่างมีเสถียรภาพ โดยดำเนินนโยบายเศรษฐกิจที่สนับสนุนการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม และก่อให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน มีการจ้างงานเต็มที่ ระดับราคามีเสถียรภาพ ระมัดระวังความเสี่ยงจากความผันผวนของการเคลื่อนย้ายเงินทุนระหว่างประเทศ

2.ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุนที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการที่หลากหลายได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม

3.พัฒนา ระบบสถาบันการเงินในประเทศให้รับผิดชอบต่อคนส่วนใหญ่และผู้ด้อยโอกาส สามารถให้บริการที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของนวัตกรรมการเงินและความ ต้องการที่เปลี่ยนไปตามสภาวะเศรษฐกิจและสังคมด้วยค่าบริการที่ต่ำและการ บริการที่มีประสิทธิภาพ

4.ปรับโครงสร้างภาษีอากรทั้งระบบ เพื่อสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ สร้างความเป็นธรรมในสังคม ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างฐานรายได้ภาษีที่ยั่งยืนในระยะยาว รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้ทั้งจากภาษีและที่มิใช่ภาษี

5.ส่ง เสริมและรักษาวินัยการคลัง โดยปรับปรุงองค์ประกอบและโครงสร้างงบประมาณให้เหมาะสม มีระบบบริหารความเสี่ยงทางการคลังที่มีประสิทธิภาพ

6.ปรับปรุง โครงสร้างของรัฐวิสาหกิจ โดยมุ่งเน้นประสิทธิภาพการให้บริการ การบริหารทรัพย์สินให้เกิดประโยชน์สูงสุด และเร่งฟื้นฟูรัฐวิสาหกิจที่มีปัญหาฐานะการเงิน

7.บริหารสินทรัพย์ ของประเทศที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์และความมั่นคงทางเศรษฐกิจ รวมทั้งพิจารณาการจัดตั้งกองทุนที่สามารถใช้ในการบริหารสินทรัพย์ของชาติให้ เป็นประโยชน์ เช่น กองทุนมั่งคั่งแห่งชาติ กองทุนน้ำมันเชื้อเพลิงสำรองแห่งชาติ และกองทุนความมั่นคงทางอาหาร เป็นต้น

นโยบายสร้างรายได้

1.ส่ง เสริมการท่องเที่ยวจากทั้งภายนอกและภายในประเทศ จัดให้มีการพัฒนาการท่องเที่ยวและแหล่งท่องเที่ยว ให้มีรายได้จากนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น 2 เท่าตัวในเวลา 5 ปี

2.ขยาย บทบาทให้ธุรกิจการเกษตรและอาหารซึ่งเป็นแหล่งรายได้และการจ้างงานในประเทศมา เป็นเวลานานให้ก้าวข้ามไปสู่การเป็นศูนย์กลางการผลิตและการค้าอาหารคุณภาพ สูง เป็นที่ต้องการของผู้บริโภคที่มีฐานะและรสนิยมเฉพาะตัว การพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางตลาดซื้อขายล่วงหน้าสินค้าเกษตรและอาหาร จะทำให้เป้าหมายการเป็นครัวที่มีคุณภาพของโลกสัมฤทธิผลรวดเร็วยิ่งขึ้น

3.ส่ง เสริมและผลักดันให้อุตสาหกรรมพลังงานปิโตรเลียมและพลังงานทดแทนสามารถสร้าง รายได้จากความต้องการภายในประเทศ รวมทั้งสร้างการจ้างงานให้แก่ประเทศโดยถือเป็นอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ใหม่

4.ยก ระดับความสามารถในการแข่งขันและขยายช่องทางการตลาดของธุรกิจอุตสาหกรรม ธุรกิจบริการในประเทศ และธุรกิจวิสาหกิจชุมชนให้เข้าสู่ระบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในการผลิตสินค้าและ บริการที่มีคุณค่าและคุณภาพสูง

5.ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการขยายการ ลงทุนไปประเทศเพื่อนบ้านซึ่งมีความพร้อมทางด้านแรงงานและวัตถุดิบเพื่อสร้าง ความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจให้แก่ประเทศและภูมิภาค

6.ดึงดูดการลงทุน เข้าสู่ประเทศในสาขาที่เป็นการผลิตสินค้าและบริการที่มีพื้นฐานทางเทคโนโลยี มีมูลค่าสูง เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมถึงการลงทุนในการสร้างเมืองใหม่ในพื้นที่ที่เหมาะสม และโครงสร้างพื้นฐานสาธารณะ

7.เสริมสร้างกระบวนการสร้างอาชีพ สร้างงานที่มีคุณภาพและมีรายได้สูงให้แก่ประชาชนอย่างทั่วถึง

8.ส่งเสริมการขยายความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจการค้า การลงทุน และการเงิน ภายใต้ประโยชน์ร่วมกันของกรอบความร่วมมือและข้อตกลงทางการค้า

นโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ

ภาคเกษตร

1.ส่ง เสริมสนับสนุนให้สภาเกษตรกรแห่งชาติเป็นกลไกของเกษตรกรในการสื่อสารกับ รัฐบาลและร่วมกันพัฒนาเกษตรกรด้วยตนเองตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย

2.เพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตพืช โดยการวิจัยและพัฒนาสายพันธุ์ พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเพื่อให้ได้ผลผลิตสูง ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูพืช ใช้ปุ๋ยตามคุณสมบัติของดินแต่ละชนิด เพื่อลดต้นทุนการผลิตและพัฒนาคุณภาพผลผลิต

3.เพิ่มศักยภาพกระบวนการ ผลิตด้านปศุสัตว์ให้ได้มาตรฐาน ปลอดภัย เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพียงพอกับความต้องการภายในประเทศและการส่งออก

4.พัฒนาการประมง ทั้งในการเพาะเลี้ยงและในแหล่งน้ำธรรมชาติ โดยการฟื้นฟูทรัพยากรประมงและจัดระเบียบการทำประมงให้สมดุลกับศักยภาพการ ผลิตตามธรรมชาติ ขยายพื้นที่อนุรักษ์เพื่อการประมงทะเลพื้นบ้าน ส่งเสริมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเศรษฐกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม แสวงหาลู่ทางการทำประมงในน่านน้ำต่างประเทศที่ไม่ขัดต่อระเบียบขององค์การ ระหว่างประเทศและประเทศที่นำเข้า

5.เสริมสร้างฐานรากของครัวเรือน เกษตรกรให้เข้มแข็งโดยการเพิ่มประสิทธิภาพการเพาะปลูก ลดต้นทุนการผลิต พัฒนาระบบการผลิตที่เป็นขั้นตอน

6.จัดทำระบบทะเบียนครัวเรือน เกษตรกรที่มีข้อมูลการเกษตรของครัวเรือนครบถ้วน สามารถเชื่อมโยงกับบัตรเครดิตสำหรับเกษตรกรและมีการปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่ เสมอ

7.เร่งรัดพัฒนาธุรกิจการเกษตร โดยการพัฒนาสถาบันเกษตรกรในด้านธุรกิจ สร้างเกษตรกรรุ่นใหม่จากโครงการกองทุนตั้งตัวได้

8.พัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรมูลค่าเพิ่มเพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันในตลาดโลก

9.ส่ง เสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ ดำเนินการฟื้นฟูสภาพแวดล้อม สร้างความเข้มแข็งภาคเกษตรและสร้างความมั่นคงทางอาหารเพื่อเผชิญกับวิกฤต อาหารโลก

ภาคอุตสาหกรรม

1.ยกระดับความสามารถในการ แข่งขันของภาคอุตสาหกรรมในประเทศด้วยการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ลดต้นทุนของผู้ประกอบการ และยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล ตลอดจนส่งเสริมให้มีการสร้างตราสินค้าไทย

2.ยกระดับภาคอุตสาหกรรม เข้าสู่อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ที่ใช้ปัญญา ใช้เทคโนโลยี และใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทดแทนอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเป็นหลัก

3.พัฒนา และส่งเสริมอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปบนฐานความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และนวัตกรรมเพื่อเพิ่มมูลค่าและยกระดับสินค้าให้มีคุณภาพ มีความปลอดภัยตามมาตรฐานสากล และมีโอกาสในการขยายตลาด

4.สร้างความเข้มแข็งให้แก่วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยสนับสนุนช่องทางการเข้าถึงแหล่งสินเชื่อผ่านสถาบันการเงินต่างๆ

5.กำหนดมาตรฐานและคุณภาพขั้นพื้นฐานของสินค้าอุตสาหกรรมเมื่อมีการเปิดเสรีการค้ามากขึ้น เพื่อป้องกันสินค้านำเข้าที่ไม่ได้คุณภาพ

6.พัฒนา พื้นที่อุตสาหกรรมแห่งใหม่ รวมทั้งการพัฒนาสะพานเศรษฐกิจระหว่างฝั่งอันดามันและฝั่งอ่าวไทยสำหรับ รองรับอุตสาหกรรมที่ไม่ก่อมลพิษและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน

7.เร่งพัฒนาภาคอุตสาหกรรมให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความรับผิดชอบต่อสังคม และอยู่ร่วมกับชุมชนได้

8.ส่ง เสริมและจัดให้มีมาตรการทางภาษีและมาตรการอื่นที่เกี่ยวข้องในการพัฒนา อุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิดการประหยัดพลังงาน การใช้พลังงานทดแทน และการใช้พลังงานจากภาคเกษตร

9.สนับสนุนให้ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมทุกสาขาการผลิตเข้าประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรม

10.เร่งรัด สำรวจและแสวงหาแหล่งแร่สำคัญ เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ และพัฒนาอุตสาหกรรมต่อยอดเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มโดยให้ความสำคัญกับการกำกับ ดูแลผลกระทบสิ่งแวดล้อมและชุมชน

การตลาด การค้า และการลงทุน

1.ส่ง เสริมนโยบายการแข่งขันอย่างเสรีและเป็นธรรม เพื่อป้องกันการผูกขาดตัดตอน ส่งเสริมและพัฒนาบทบาทขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภคทั้ง ภาครัฐและเอกชน แก้ไขปรับปรุงกฎหมาย มาตรการต่างๆ เพื่อสร้างความเป็นธรรมให้แก่ผู้บริโภค

2.สร้างความเชื่อมั่นให้นัก ลงทุนทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยปรับปรุงพัฒนากฎหมายและกฎระเบียบที่ส่งเสริมการค้าการลงทุนที่ครอบคลุม การลงทุนด้านเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ และปรับปรุงมาตรการบริหารการนำเข้าเพื่อป้องกันการค้าที่ไม่เป็นธรรม

3.สนับสนุน การลงทุนในต่างประเทศในสาขาที่ผู้ประกอบการไทยมีศักยภาพ ส่งเสริมและสนับสนุนการเปิดร้านอาหารไทยของคนไทยตามนโยบายครัวไทยสู่ครัวโลก และนโยบายไทยเป็นครัวอาหารโลก

4.ปรับปรุงมาตรการการส่งเสริมการ ลงทุนให้ครอบคลุมการให้สิทธิประโยชน์แก่ธุรกิจในภาคเกษตร อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว การกีฬา และบริการ

5.ส่งเสริมการขยายตลาดเชิงรุก เพื่อรักษาตลาดเดิมและสร้างตลาดใหม่ เพื่อลดการพึ่งพาการส่งออกไปตลาดหลัก โดยส่งเสริมการส่งออกสินค้าและบริการในตลาดใหม่ ได้แก่ จีน อินเดีย ตะวันออกกลาง แอฟริกา และยุโรปตะวันออก

6.พัฒนาสินค้าและบริการที่สร้างโอกาสใหม่ในการหารายได้ การผลิตสินค้าและบริการอันเป็นที่ต้องการของผู้บริโภคในตลาดโลก

7.ขยายความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจการค้าการลงทุน และการตลาดภายใต้กรอบความร่วมมือและข้อตกลงการค้าเสรีในระบบพหุภาคีและทวิภาคี

8.เร่งรัด จัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษบริเวณพื้นที่ที่มีศักยภาพ โดยให้ความสำคัญต่อจังหวัดชายแดน เพื่อส่งเสริมการค้า การตลาด การลงทุน การจ้างงาน และการใช้วัตถุดิบจากประเทศเพื่อนบ้าน

จากจุดเริ่มต้นด้านความเหลื่อมล้ำในสังคมและวัตถุประสงค์ในการดำเนินนโยบายที่มีเป้าหมายแตกต่างกันระหว่างรัฐบาลและธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) " นโยบายการเงินและความเป็นอิสระของธนาคารกลาง" ถือเป็นประเด็นร้อนที่ถูกหยิบยกขึ้นมาพูดคุยเสมอไม่ว่ารัฐบาลยุคไหนสมัยไหน  เพราะนโยบายทั้ง 2 ส่วนถือเป็นหัวใจสำคัญในการสร้างเสถียรภาพและผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (จีดีพี)

  มาถึงรัฐบาลยุคนายกรัฐมนตรีหญิงคนแรก " ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร" ความร้อนแรงได้ปะทุอีกระลอก ตั้งแต่อดีตรัฐมนตรี (รมว.) ว่าการกระทรวงการคลัง "ธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล" ที่ยื่นการบ้าน 4 ข้อให้กับ "ประสาร ไตรรัตน์วรกุล" ผู้ว่าการ ธปท. ประเด็นการตั้งกองทุนความมั่งคั่ง ตามด้วยการแก้ปัญหาหนี้กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน (เอฟไอดีเอฟ) การเข้าไปกำกับดูแลการออกตั๋วสัญญาใช้เงินระยะสั้น บี/อี ของธนาคารพาณิชย์ รวมถึงการสั่งให้ทบทวนกรอบเงินเฟ้อ

         กิตติรัตน์ ณ ระนอง  กระทั่ง "กิตติรัตน์ ณ ระนอง" ขึ้นควบรองนายกรัฐมนตรีและรมว.คลัง จึงสัมฤทธิผลด้วยการมัดมือธนาคารพาณิชย์ร่วมวงแก้หนี้เอฟไอดีเอฟจนสำเร็จ  โดยเพิ่มเก็บเงินนำส่งในอัตรา  0.47% จากระดับ 0.4% แถมครอบคลุมตั๋วแลกเงินหรือตั๋วบี/อี ด้วย  แม้จะแลกด้วยการเก็บผ่านทางธนาคารเฉพาะกิจของรัฐก็ตาม 
   ถัดมาเมื่อ "วีรพงษ์ รามางกูร" เข้ารับตำแหน่งประธานคณะกรรมการ ธปท. (กุนซือของรัฐบาล)ที่ออกมาทิ้งระเบิด ด้วยการวิพากษ์นโยบายการเงิน โดยเฉพาะกรอบเป้าหมายเงินเฟ้อ (Inflation Targeting)นั้น "ใช้ไม่ได้แล้ว" เพราะความเชื่อมโยงกันทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศมีมากขึ้น ราคาสินค้าในโลกถูกกำหนดด้วยอุปสงค์และอุปทานของโลก ไม่ใช่นโยบายการเงินของประเทศเล็กๆ อย่างประเทศไทย และประเทศไทยน่าจะเหมาะกับการดำเนินนโยบายการเงินแบบเป้าหมายอัตราแลกเปลี่ยน (Exchange rate targeting) มากกว่า และนโยบายการเงินมีหน้าที่สนับสนุนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ไม่ใช่ดูแลเงินเฟ้ออีกต่อไป  รวมถึงความพยายามในการเข้าไปแตะเงินสำรองระหว่างประเทศ โดยอ้างเป็นเงินออมของคนไทย
    วิวาทะบนหน้าสื่อที่โต้ตอบนั้น สะท้อนแนวคิดที่แตกต่างระหว่างทางของการบริหารประเทศ แต่หากพิจารณาจุดมุ่งหมายหลักแล้ว ค่อนข้างมีความคล้ายคลึงคือ เน้นความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชนหวังลดความเหลื่อมล้ำ เพิ่มศักยภาพการแข่งขันภาคเอกชน และการเติบโตของเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน  โดยนโยบายด้านการคลังยังเน้นจุดยืนเพื่อปรับสมดุลเศรษฐกิจประเทศ สังคม สิ่งแวดล้อม พร้อมเพิ่มศักยภาพเพื่อสร้างมูลค่ารองรับการเปลี่ยนแปลงของโลก
   ทั้งนี้การดำเนินนโยบายการคลังปี 2556 มียุทธศาสตร์ 3 ด้าน คือ  ด้านแรก การลดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจและสังคม ด้วยการเพิ่มโอกาสให้กับคนฐานรากและการสร้างระบบสวัสดิการพื้นฐานอย่างทั่วถึง การกระจายรายได้ รวมถึงการถือครองทรัพย์สินเพื่อทำกินอย่างเป็นธรรม
   ด้านที่สอง สนับสนุนศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขัน ผ่านการสนับสนุนในการจัดตั้งธุรกิจ การพัฒนาศักยภาพเอกชนให้เกิดมูลค่าเพิ่ม การเชื่อมโยงธุรกิจเพื่อก้าวสู่เศรษฐกิจระดับภูมิภาคและระดับโลก รวมทั้งการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อเพิ่มการแข่งขันให้แก่ภาคเอกชน และด้านที่สาม การรักษาความยั่งยืนทางการคลัง ด้วยการเสริมสร้างความมั่นคงทางการคลัง การส่งเสริมความโปร่งใสในการดำเนินงานของภาครัฐและการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
   ขณะเดียวกันยังเดินหน้าปรับฐานะการคลังเข้าสู่สมดุลในปี 2560 โดยงบประมาณปี 2556 กำหนดจะขาดดุล 3 แสนล้านบาทลดลงจากปี 2555 ที่ขาดดุล 4 แสนล้านบาท และถัดไปในปี 2557 หวังลดยอดขาดดุลให้เหลือที่ 2.25 แสนล้านบาท ถือว่าอยู่ในระดับน้อยกว่า 2% ของจีดีพีหรือลดลง 1 ใน4 จากปี 2556  ซึ่งเน้นการใช้จ่ายภายในประเทศ เดินหน้าลงทุนโครงสร้างพื้นฐานตามพ.ร.บ. 2 ล้านล้านบาท และจัดเก็บภาษีให้ได้ตามเป้า
   สำหรับฟากนโยบายการเงินร่ายยาวยุทธศาสตร์ 5 ปี (2555-2559) กำหนดทิศโดยมุ่งเน้นการสร้างความเป็นอยู่ที่ดีอย่างยั่งยืนของคนไทย และหวังให้ประเทศหลุดพ้นจากกับดักประเทศรายได้ปานกลาง โดยจะร่วมมือกับภาครัฐ ซึ่งยุทธศาสตร์ปี 2556 กำหนดไว้ 4 ด้าน ประกอบด้วยด้านแรก การเชื่อมโยงระบบเศรษฐกิจการเงินกับต่างประเทศ (Connectivity) เพื่อสร้างโอกาสในการเติบโตจากภายนอก โดยเฉพาะเวทีอาเซียน+6 และกลุ่มประเทศCLMV (กัมพูชา ลาว พม่า เวียดนาม)
   ด้านที่สอง การยกระดับศักยภาพการแข่งขัน (High Value-added economy) เพื่อสร้างโอกาสการเติบโตจากภายใน ทั้งการร่วมมือกับภาครัฐในการสร้างความเข้มแข็งให้เอสเอ็มอีทั่วประเทศ ปรับระบบการติดตามผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยน ด้านที่สาม สนับสนุนการเข้าถึงบริการทางการเงินพื้นฐานอย่างทั่วถึง เพื่อลดความเหลื่อมล้ำ (Financial Inclusion) โดยธปท.ยังคงเดินหน้าโครงการไมโครไฟแนนซ์ เพื่อให้บริการทางการเงินกับประชาชนในระดับรากหญ้า และเพิ่มบทบาทศูนย์คุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงิน (ศศง.) เพื่อดูแลผู้บริโภคจากการคิดค่าธรรมเนียมและดอกเบี้ยโหด รวมทั้งมีนโยบายสนับสนุนให้คนไทยหันมาใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น เพื่อลดต้นทุนในการจัดการเงินสด
   สุดท้ายคือ การสร้างเสถียรภาพระบบเศรษฐกิจการเงิน (Economic/Financial Stability) เพื่อเตรียมตัวรองรับความเสี่ยงที่มาพร้อมกับการเติบโตในอนาคต โดย ธปท.จะดำเนินการปรับระบบการติดตามของการไหลเข้า-ออกเงินตราต่างประเทศ โดยถือเป็นเรื่องท้าทายที่ต้องผสมผสานเครื่องมือในการดูแลค่าเงินบาท ในจังหวะเวลาที่เหมาะสม
   ขณะที่ "กิตติรัตน์" ระบุว่า แม้หน้าที่หลักธปท.ต้องดูแลอัตราแลกเปลี่ยนให้มีเสถียรภาพและสร้างฐานะทางการเงินให้แข็งแกร่ง แต่การกำหนดอัตราดอกเบี้ยต้องสะท้อนความเป็นจริง  ซึ่งผลขาดทุนสะสมของธปท.เป็นผลพวงจากที่ต้องออกพันธบัตรมากทะลุ 5 แสนล้านบาทแล้ว สุดท้ายจะกระทบต่องบประมาณแผ่นดินในอนาคต  ซึ่งรัฐบาลอาจจะต้องตั้งงบขาดดุลเพื่อช่วยเหลือ  เพราะธปท.ไม่มีสิทธิ์ที่จะพิมพ์เงินออกมาใช้ตามใจชอบ
   อย่างไรก็ตาม ที่ผ่านมาคณะรัฐมนตรี(ครม.)มีมติคงกรอบเป้าหมายเงินเฟ้อพื้นฐานไว้ที่ 0.5-3.0%ตามที่กระทรวงการคลังได้ตกลงร่วมกับธปท.  ดังนั้นความเสี่ยงทางการเติบโตของเศรษฐกิจจึงมีมากกว่าเงินเฟ้อ ซึ่งการดำเนินนโยบายการเงินผ่อนคลายจึงต้องมีต่อเนื่อง และอัตราดอกเบี้ยนโยบายยังสามารถปรับลดลงจากปัจจุบันจากระดับ 2.75% 
   ส่วน "ประสาร" แสดงความเห็นว่า  ส่วนตัวเข้าใจเป้าหมายภาคการเมืองที่ต้องการเห็นความคึกคักในระบบเศรษฐกิจ ประชาชนพึงพอใจในระยะสั้น แต่ ธปท.นั้นอยากเห็นเศรษฐกิจมีเสถียรภาพในระยะยาว ดังนั้น การสร้างวิสัยทัศน์ การสื่อสาร การอธิบาย การเปิดเผยข้อมูลเป็นสิ่งสำคัญ  ถ้าคนส่วนใหญ่เชื่อและเข้าใจจะทำให้ประเทศไทยเดินต่อไปได้
   "ตลอดปี 2555 ผมต้องให้เวลากับภารกิจนี้ค่อนข้างมาก เวลาที่มีโอกาสได้คุยกับนายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีด้านเศรษฐกิจ ซึ่งเห็นว่าการใช้จ่ายของรัฐบาลมีประโยชน์ แต่มีการใช้จ่าย 2 แบบ แบบที่ 1 ทำให้ประเทศเข้มแข็ง แบบที่ 2 ทำให้ประเทศอ่อนแอ แต่สุดท้ายก็ต้องทำต่อไป อย่าคิดท้อถอยว่ารัฐบาลจะฟังหรือไม่ เพราะคงฟังบ้าง ดีกว่า ธปท.ไม่พูดเสียเลย"
   "ผู้ว่าการธปท." ขยายความให้ฟังอีกว่า  ที่ผ่านมาได้เห็นถึงความพยายามในการรักษาวินัยการคลังของรัฐบาล ที่พยายามลดการขาดดุลทางการคลังผ่านการตั้งเป้างบประมาณสมดุล  ซึ่งถ้านโยบายการคลังทำได้ตามเป้า เชื่อว่าจะแบ่งเบาภาระออกจากทางนโยบายการเงิน และไม่ต้องห่วงว่าอัตราดอกเบี้ยจะสูง หรือห่วงเรื่องเงินเฟ้อ ในทางกลับกันถ้านโยบายการคลังทุ่มลงไปมากคงหนีไม่พ้นนโยบายการเงินที่ต้องเข้มงวดและในที่สุดจะสร้างภาระข้างเคียงได้


 

คณะรัฐมนตรีพิจารณาเป้าหมายของนโยบายการเงินประจำปี 2556 แล้วมีมติอนุมัติเป้าหมายของนโยบายการเงินประจำปี 2556 ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ ทั้งนี้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง (กค.) รายงานว่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและคณะคณะกรรมการนโยบายการเงินได้เห็นชอบร่วมกันในการเสนอเป้าหมายของนโยบายการเงินประจำปี 2556 ต่อคณะรัฐมนตรี โดยมีสาระสำคัญ ดังนี้

1. กำหนดเป้าหมายของนโยบายการเงินประจำปี 2556 ไว้ที่อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานเฉลี่ยรายไตรมาสระหว่างร้อยละ 0.5 — 3.0 ต่อปี เช่นเดียวกับเป้าหมายของนโยบายการเงินประจำปี 2555 ซึ่งคณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติเมื่อวันที่ 17 เมษายน 2555

2. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยในฐานะประธานคณะกรรมการนโยบายการเงินได้ลงนามในข้อตกลงร่วมกันในการกำหนดเป้าหมายของนโยบายการเงินประจำปี 2556 โดยข้อตกลงดังกล่าวมีสาระสำคัญ ดังนี้

2.1 เป้าหมายของนโยบายการเงิน ประจำปี 25556   อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานเฉลี่ยรายไตรมาสระหว่างร้อยละ 0.5 — 3.0 ต่อปี

2.2 การติดตามความเคลื่อนไหวของเป้าหมายของนโยบายการเงิน

เพื่อให้สามารถบรรลุเป้าหมายของนโยบายการเงินอย่างมีประสิทธิภาพ กค. และธนาคารแห่งประเทศไทยจะจัดให้มีการหารือร่วมกันเป็นประจำทุกไตรมาส และเมื่อมีเหตุจำเป็นอันใดตามที่ทั้งสองหน่วยงานจะเห็นสมควร

2.3 การเคลื่อนไหวของอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานออกนอกเป้าหมาย

กรณีอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานเคลื่อนไหวออกนอกช่วงเป้าหมายตามที่ตกลงร่วมกันไว้ ให้คณะกรรมการนโยบายการเงินชี้แจงสาเหตุ แนวทางแก้ไขและระยะเวลาที่คาดว่าอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานจะกลับเข้าสู่ช่วงที่กำหนดไว้โดยเร็ว รวมทั้งให้รายงานความคืบหน้าของการแก้ไขปัญหาเป็นระยะตามสมควร

2.4 การแก้ไขเป้าหมายของนโยบายการเงิน

ในกรณีที่มีเหตุอันสมควรหรือจำเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและคณะกรรมการนโยบายการเงินอาจตกลงร่วมกันเพื่อแก้ไขเป้าหมายของนโยบายการเงินได้ก่อนนำเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณา

 

--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี นางสาวยิ่งลักษณ์  ชินวัตร (นายกรัฐมนตรี) วันที่ 11 ธันวาคม 2555

รัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร แถลงนโยบายต่อรัฐสภา เมื่อวันอังคารที่ 23 สิงหาคม 2554

ถึงวันนี้ ขาดเพียงหนึ่งเดือนก็จะครบขวบปี เห็นหน้าเห็นหลัง เพียงพอที่จะประเมินการทำหน้าที่ของรัฐบาลว่าเป็นไปตามนโยบายที่ตนเองเคยแถลงไว้ต่อรัฐสภามากน้อยเพียงใด

พิจารณาเฉพาะนโยบายที่รัฐบาลยิ่งลักษณ์แถลงว่าเป็นเรื่องเร่งด่วน จะดำเนินการภายใน 1 ปีแรก

ปรากฏว่า มีอย่างน้อย 10 เรื่อง ดังต่อไปนี้

1) ค่าแรงขั้นต่ำ 300 บาทต่อวัน เงินเดือนปริญญาตรี 15,000 บาทต่อเดือน

ใช้หลอกล่อเอาคะแนนเสียงจากประชาชน ทั้งๆ ที่ เป็นนโยบายที่ไม่ควรทำ ถูกเตือนว่าทำไม่ได้และจะเกิดผลเสียมีปัญหาทางปฏิบัติมากมาย

หาเสียงไว้อย่าง แถลงในรัฐสภาพยายามกลบเกลื่อนบิดเบือนไปอีกอย่าง

วันแถลงต่อรัฐสภา อ้างว่า “ดำเนินการให้แรงงานมีรายได้เป็นวันละไม่น้อยกว่า 300 บาท และผู้ที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรีมีรายได้เดือนละไม่น้อยกว่า 15,000 บาท อย่างสอดคล้องกับผลิตภาพและประสิทธิภาพของบุคลากร”

เปลี่ยนคำว่า “ค่าแรงขั้นต่ำ” และ “เงินเดือน” เป็นรายได้

แต่ถึงกระนั้น ประชาชนก็ยังไม่ได้รับผลประโยชน์ตามคำมั่นสัญญา

ค่าแรง 300 บาท ได้ไม่กี่จังหวัด ส่วนเงินเดือนปริญญาตรีจบใหม่ 15,000 บาท ก็ได้เฉพาะภาครัฐที่จัดสรรเงินเพิ่มพิเศษมาสมทบให้ (ไม่ใช่เงินเดือนจริงๆ)

เหมือนขายผ้าเอาหน้ารอดไปเรื่อยๆ

2) กระชากค่าครองชีพ

ประกาศกลางสภาว่า “จะแก้ไขปัญหาค่าครองชีพโดยการดูแลราคาสินค้าและการมีรายได้เพื่อเพิ่มกำลังซื้อสุทธิของประชาชนโดยป้องกันและแก้ไขการผูกขาดทั้งทางตรงและทางอ้อม”

ถึงวันนี้ ของแพงทั้งแผ่นดิน

รัฐบาลแก้ไข โดยอ้างว่า ประชาชนคิดไปเอง

ยิ่งกว่านั้น ยังเน้นการสร้างภาพมากกว่าจะไปแก้ปัญหาราคาสินค้า โดยการเปิดร้านถูกใจ เอาเงินภาษีประชาชนไปอุดหนุนให้ดำเนินการขายของราคาถูกกว่าท้องตลาด โดยที่ประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศไม่ได้รับประโยชน์จากร้าน
ถูกใจเลย

3) ยกเลิกกองทุนน้ำมัน

เคยประกาศหาเสียงชัดเจนว่า จะยกเลิกกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง ด้วยความเขลา ไม่รู้จริงว่าถ้ายกเลิกแล้วจะมีผลกระทบ
ตามมาอย่างไร

แต่ถึงวันแถลงนโยบายต่อสภา พยายามพลิกลิ้น บอกว่า “ชะลอการเก็บเงินเข้ากองทุนน้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับน้ำมันเชื้อเพลิงบางประเภทชั่วคราวเพื่อให้ราคาน้ำมันเชื้อเพลิงลดลงทันที และปรับโครงสร้างราคาพลังงานทั้งระบบให้มุ่งสู่การสะท้อนราคาต้นทุนพลังงาน”

แต่ถึงกระนั้น ประชาชนก็ยังไม่ได้รับผลประโยชน์ตามคำมั่นสัญญา

ราคาน้ำมันขึ้นเอาๆ เฉพาะในเดือนก.ค. ยังไม่สิ้นเดือน ขึ้นไปแล้ว 6 ครั้ง!

ยิ่งกว่านั้น ที่คุยโม้ว่าจะปรับโครงสร้างราคาพลังงานทั้งระบบก็ทำไม่ได้จริง ซ้ำร้าย กลับยิ่งทำให้โครงสร้างราคาพลังงานถูกบิดเบือนไปในทางที่ทำร้ายประชาชนผู้บริโภคยิ่งกว่าเดิม ทำลายพลังงานเอทานอลที่สามารถผลิตได้ในประเทศ

4) ยกระดับราคาสินค้าเกษตร

รัฐบาลยิ่งลักษณ์แถลงคุยโม้กลางสภาว่า “ยกระดับราคาสินค้าเกษตรและให้เกษตรกรเข้าถึงแหล่งเงินทุน โดยดูแลราคาสินค้าเกษตรให้มีเสถียรภาพที่เหมาะสม คำนึงถึงกลไกราคาตลาดโลก โดยใช้วิธีบริหารจัดการทางการตลาดและกลไกตลาดซื้อขายล่วงหน้า”

ถึงวันนี้ ราคาพืชผลการเกษตรตกต่ำอย่างหนัก ชาวสวนผลไม้ ชาวไร่ยางพารา สับปะรด เกษตรกรรายย่อยเดือดร้อนหนัก ต้องออกมาเทผลผลิตประท้วงในหลายพื้นที่

ยางพารา เคยขาย กก.ละ 200 บาท ตกลงมาเหลือไม่ถึง 100 บาท

ในขณะเดียวกัน การใช้นโยบายรับจำนำข้าวราคาแพงกว่าตลาดโลกก็ทำลายกลไกราคาอย่างพินาศ ทำลายระบบ
การค้า ระบบการผลิตและการส่งออกข้าวไทยอย่างย่อยยับ ทำให้ไทยเสียแชมป์ส่งออกข้าวในตลาดโลก และรอเวลาขายข้าวในสต๊อกของรัฐที่จะขาดทุนมหาศาล

5) แจกแท็บเลตเด็กนักเรียน

พรรคเพื่อไทยเคยหาเสียงว่า จะแจกแท็บเลตแก่เด็กนักเรียนทั่วประเทศ ต่อมาก็พยายามกลบเกลื่อนโดยอ้างว่าจะแจกเฉพาะเด็กชั้น ป.1 ก่อน

วันแถลงนโยบาย รัฐบาลยิ่งลักษณ์ ก็กลบเกลื่อนบิดเบือนกลายเป็น “จัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์แท็บเลตให้แก่โรงเรียน โดยเริ่มทดลองดำเนินการในโรงเรียนนำร่องสำหรับระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา พ.ศ.2555”

ปรากฏว่า ถึงวันนี้ การดำเนินการก็เป็นไปได้เพียงไม่กี่จังหวัด

แถมคุณภาพแท็บเลตยังคงมีปัญหาอื้อฉาวในขั้นตอนตรวจรับ เลื่อนแล้วเลื่อนอีก กระทั่งปรากฏแท็บเลตด้อยคุณภาพบางส่วนก็ยังเร่งรีบตรวจรับของเพื่อนำมาแจกสร้างภาพ

6) ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ

รัฐบาลยิ่งลักษณ์แถลงต่อสภาว่าการป้องกันและปราบปราม การทุจริตเป็นเรื่องด่วนภายในปีแรก บอกว่า “ป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐอย่างจริงจัง โดยยึดหลักความโปร่งใสและมีธรรมาภิบาลที่เป็นสากลเพื่อให้การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาประเทศเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์ต่อประเทศโดยรวมอย่างแท้จริง”

ขวบปีผ่านไป ไม่มีอะไรเป็นชิ้นเป็นอัน

ตรงกันข้าม หอการค้าไทยได้ทำการสำรวจพบว่า มีการจ่ายเงินใต้โต๊ะในการทำสัญญากับหน่วยงานของรัฐเพิ่มสูงขึ้นเป็น 30-35 เปอร์เซ็นต์ ของมูลค่าโครงการ!

นอกจากนี้ รัฐบาลยังใช้วิธีจัดซื้อจัดจ้างแบบพิเศษในหลายโครงการที่มีมูลค่ามหาศาล ทำให้ขาดความโปร่งใส รวมไปถึงการใช้เงินนอกงบประมาณ และใช้เงินธนาคารของรัฐดำเนินนโยบายที่ส่อว่าจะมีปัญหาการขาดทุนแน่นอน

7) สร้างคุณธรรม จริยธรรม

แถลงต่อรัฐสภาว่า “ขยายการบังคับใช้บทบัญญัติเรื่องการห้ามการกระทำที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ให้ครอบคลุมผู้ใช้อำนาจรัฐในตำแหน่งสำคัญและตำแหน่งระดับสูงอย่างทั่วถึง เข้มงวดในการบังคับใช้กฎหมายเพื่อแก้ไขปัญหาการทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่รัฐ เสริมสร้างมาตรฐานด้านคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลของบุคลากรภาครัฐ ตลอดจนปลูกฝังจิตสำนึกและค่านิยมของสังคมให้ยึดมั่นในความซื่อสัตย์สุจริตและถูกต้องชอบธรรม”

ขวบปีผ่านไป ปรากฏว่า รัฐบาลยิ่งลักษณ์แต่งตั้งบุคคลที่มีปัญหาด้านจริยธรรมคุณธรรมเข้ามาดำรงตำแหน่งในรัฐบาลมากมาย ไม่ว่าจะตำแหน่งรัฐมนตรี อย่างกรณีนายณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ นางนลินี ทวีสิน รวมไปถึงตำแหน่งทางการเมืองอื่นๆ ที่ปูนบำเหน็จรางวัลแก่แกนนำเสื้อแดงที่มีคดีร้ายแรงติดตัว เช่น นายเจ๋ง ดอกจิก นายอารี ไกรนรา ฯลฯ

ยิ่งกว่านั้น ตัวนายกรัฐมนตรี นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และคนในตระกูลชินวัตรบางคน ก็ยังมีผลประโยชน์ทับซ้อนโดยตรงกับการผลักดันการออกกฎหมายเพื่อให้มีผลล้มล้างความผิดในคดีทุจริตโกงกินของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร

8) โครงการบริหารจัดการน้ำ

เคยแถลงต่อรัฐสภาว่าจะทำภายในปีแรก “ส่งเสริมให้มีการบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการและเร่งรัดขยายเขตพื้นที่ชลประทาน โดยเร่งให้มีการบริหารจัดการน้ำในระดับประเทศอย่างมีประสิทธิภาพให้สามารถป้องกันปัญหาอุทกภัยและภัยแล้งได้ รวมทั้งสนับสนุนภาคการเกษตรด้วยการก่อสร้างระบบชลประทานขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก ฟื้นฟูการขุดลอกคูคลอง และแหล่งน้ำธรรมชาติที่มีอยู่เดิม ขยายเขตการสูบน้ำด้วยไฟฟ้า จัดสร้างคลองส่งน้ำขนาดเล็กเข้าสู่ไร่นา และขยายเขตการจัดรูปที่ดิน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำและการผลิต ส่งเสริมการใช้น้ำให้เกิดประโยชน์สูงสุดและเหมาะสมกับชนิดพืช และจัดหาแหล่งน้ำในระดับไร่นาและชุมชนอย่างทั่วถึง

รัฐบาลยิ่งลักษณ์เร่งรีบรวบรัด อ้างสถานการณ์เร่งด่วน ออก พ.ร.ก.เพื่อขอกู้เงินมูลค่ากว่า 3 แสนล้านบาท คุยโม้จะรีบไปทำโครงการแก้ปัญหาน้ำท่วม

แต่จนบัดนี้ เงินกู้ที่ออกเป็น พ.ร.ก.ดังกล่าว ก็มีการเบิกจ่ายไปเพียงไม่ถึงครึ่ง

แถมโครงการที่เหลือ ก็ยังไม่ปรากฏรายละเอียด ไม่มีการเสนอการประเมินความคุ้มค่าของโครงการ หรือนำเสนอผลการศึกษาผลกระทบใดๆ ทั้งสิ้น

ถึงวันนี้ โครงการบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการยังมีแต่อากาศ

ไม่มีผลสำเร็จเป็นรูปธรรม

แต่ภาระหนี้สินของประเทศที่เกิดจากการกู้ของรัฐบาลปัจจุบัน และเตรียมจะกู้อีกกว่า 2 ล้านล้านบาทนับว่ามากมายมหาศาลเกินกว่าตัวนายกรัฐมนตรีจะรับผิดชอบไหว

ดีแต่กู้ตัวจริง!

9) หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า

รัฐบาลยิ่งลักษณ์แถลงคุยโม้ว่า “เพิ่มประสิทธิภาพของระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 30 บาทรักษาทุกโรคเพื่อให้ประชาชนทุกคนได้รับบริการอย่างมีคุณภาพ สะดวก รวดเร็ว และเป็นธรรม”

ปรากฏว่า รัฐบาลกลับปรับลดงบเหมาจ่ายรายหัวที่จะนำไปใช้ดูแลประชาชนลง 141 บาทต่อหัว หรือลดลง 4.9% และลดงบส่งเสริมป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 6.3% 

นพ.เกรียงศักดิ์ วัชรนุกูลเกียรติ ประธานชมรมแพทย์ชนบทถึงกับออกมาวิพากษ์วิจารณ์ “เป็นครั้งแรกในรอบ 10 ปีของระบบบัตรทองที่งบเหมาจ่ายรายหัวลดลง จะสร้างปัญหาให้กับหน่วยบริการและทำให้เป็นระบบสำหรับผู้ป่วยอนาถาเหมือนในอดีตสวนทางกับนโยบายรัฐบาล”

10) ปัญหาความปรองดองสมานฉันท์

แทบไม่ต้องพูดถึงกรณีปัญหาสถานการณ์ความแตกแยก ความวุ่นวายทางการเมือง ที่เกิดขึ้นจากการใช้อำนาจรัฐผลักดันวาระทางการเมืองเพื่อนิรโทษกรรมและลบล้างความผิดแก่ทักษิณ ชินวัตร

ขัดแย้งกับที่สัญญาว่าจะสร้างความปรองดองสมานฉันท์

รัฐบาลยิ่งลักษณ์เคยแถลงต่อรัฐสภาว่า “สร้างความปรองดองสมานฉันท์ของคนในชาติและฟื้นฟูประชาธิปไตย โดยการเสริมสร้างความเข้าใจร่วมกันของประชาชนในชาติให้เกิดความสมัครสมานสามัคคีเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข”

กลับพยายามออกกฎหมายล้างผิดให้คนโกง คนฆ่าทหาร-ฆ่าประชาชน

ให้ท้ายขบวนการอันธพาลทางการเมืองเสื้อแดง ไล่ล่า ขัดขวางการแสดงออกของคนที่คิดต่าง

ส่งเสริมการจัดตั้งหมู่บ้านเสื้อแดงที่เป็นการสร้างความแตกแยก เพิ่มรอยร้าวในระดับชุมชน

ปล่อยให้มีการจาบจ้วง ล่วงละเมิด ดูหมิ่นสถาบันเบื้องสูง ละเว้นไม่ดำเนินคดีกับคนในเครือข่ายการเมืองของรัฐบาล มีการสั่งไม่ฟ้องนายจักรภพ เพ็ญแข นายจตุพร พรหมพันธุ์ เป็นต้น

ก้าวที่สองรัฐบาล'ยิ่งลักษณ์'

ก้าวที่สองรัฐบาล'ยิ่งลักษณ์' ลดประชานิยม-เดินนโยบายบนโลกความจริง : คอลัมน์สัมภาษณ์พิเศษ : โดย...ณัฐฎ์ชิตา เกิดแดง

 ในวันที่ 23 สิงหาคมนี้ รัฐบาลของ น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร จะแถลงผลงานที่นั่งเก้าอี้มาครบ 1 ปี ซึ่งส่วนใหญ่เน้นไปที่นโยบายเร่งด่วน หรือนโยบายประชานิยมเป็นหลัก ขณะที่กระทรวงการคลังนั้น ถือได้ว่ามีบทบาทสำคัญในการผลักดันหลายๆ นโยบายในช่วงที่ผ่านมา โดย "ทนุศักดิ์ เล็กอุทัย" รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ชี้แจงและประเมินผลการดำเนินงานในรอบปีว่า ส่วนใหญ่ล้วนเป็นไปตามเป้าหมายที่รัฐบาลวางไว้

  "นโยบายเร่งด่วน 10 ด้าน รัฐบาลทำได้ทั้งหมด ส่วนนโยบายจำเป็นที่ประชาชนต้องการเราก็ทำได้ แม้ว่ารัฐบาลจะเริ่มงานจริงๆ ได้ล่าช้า เพราะติดปัญหาน้ำท่วมช่วงปลายปีก่อน จึงถือได้ว่าปีแรกของรัฐบาลนายกฯ ยิ่งลักษณ์มีปัญหาอุปสรรคมากมาย แต่เราก็ผ่านมาได้ด้วยดี เชื่อว่าในช่วงเวลาที่เหลือต่อไปการทำงานจะยิ่งมีประสิทธิภาพมากขึ้น"

  นายทนุศักดิ์กล่าวว่า ได้รับมอบหมายให้เข้ามาดูแลรับผิดชอบนโยบายของพรรคที่เกี่ยวข้องกับประชาชนส่วนใหญ่ หรือรากหญ้า ซึ่งรากหญ้าก็ต้องยอมรับว่ามีหลายระดับ ส่วนหนึ่งคงเป็นเพราะตนเป็นตัวแทนมาจากต่างจังหวัด มีความเข้าใจชาวบ้าน ผู้มีรายได้น้อย เมื่อเข้ามาจึงตั้งใจมาผลักดันโครงการต่างๆ อย่างเต็มที่ เพื่อให้สอดรับกับสโลแกนของพรรคที่ว่า "ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ขยายโอกาส"

ผลักดันลดภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

  รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลังระบุว่า จริงๆ แล้วรัฐบาลเริ่มดำเนินการกับคนกลุ่มบนก่อน คือ การลดภาษีต่างๆ เพื่อลดรายจ่าย เช่น การปรับลดภาษีเงินได้นิติบุคคลจาก 30% เหลือ 23% ในปีนี้ และเหลือ 20% ในปีหน้า การให้ค่าลดหย่อนทางภาษีเพิ่มเติม เช่น การซื้อบ้านหลังแรก ล่าสุดอยู่ระหว่างพิจารณาเรื่องการแยกยื่นภาษีระหว่างสามีภรรยา และในอนาคตก็จะนำไปสู่การปรับโครงสร้างภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

  ทั้งนี้ กรมสรรพากรได้เสนอมาแล้วในเบื้องต้น เกี่ยวกับการปรับโครงสร้างภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเพื่อให้มีความเป็นธรรมมากขึ้น โดยอาจจะมีการซอยอัตราภาษีให้ถี่มากขึ้น และขยายฐานรายได้ขั้นสุดท้ายที่ได้รับการยกเว้นภาษีมากขึ้น เช่น จากเดิมผู้มีรายได้ 1.5 แสนบาทต่อปี จะได้รับการยกเว้นภาษี ก็อาจจะขยับเป็นรายได้ไม่เกิน 2 แสนบาทไม่ต้องเสียภาษี  ซึ่งจะทำให้มนุษย์เงินเดือนที่ไม่ต้องเสียภาษีมีจำนวนมากขึ้น

  จากนั้นก็ซอยขั้นรายได้และอัตราภาษีให้ถี่ขึ้นจากปัจจุบันแต่ละขั้นห่างกันที่ 10% ก็จะห่างกันแค่ 5% จนกระทั่งสูงสุดจะปรับลดจาก 37% เหลือ 35% เพราะอยากให้รางวัลคนกลุ่มนี้ ซึ่งเป็นผู้เสียภาษีรายใหญ่ โดยปีหน้าอาจจะมีการผลักดันเรื่องนี้ชัดเจนขึ้น เพราะนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังไม่ต้องการเพิ่มภาระให้แก่ประชาชน แต่หากเป็นการลดภาระก็ไม่น่าจะมีปัญหา ซึ่งแน่นอนว่าอาจทำให้รายได้ของกรมสรรพากรหายไปในช่วงแรก ส่วนในระยะยาวเชื่อว่ารายได้ของกรมจะกลับคืนมา

  นายทนุศักดิ์ระบุว่า เหตุที่มองว่ารายได้ของรัฐจะกลับคืนมา เนื่องจากก่อนหน้านี้ตนสั่งการให้ 3 กรมภาษีทำงานอย่างบูรณาการมากขึ้น เพื่อให้มีรายได้เข้ามาเต็มเม็ดเต็มหน่วย แต่ไม่ได้หมายความว่าไปไล่บี้รีดภาษีจากกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง โดยจะเน้นไปกลุ่มที่ยังเสียภาษีไม่ถูกต้อง และขยายไปยังธุรกิจใหม่ๆ ที่ยังอยู่นอกระบบมากกว่า ซึ่งกรมสรรพากรก็มีแผนพัฒนาการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บอยู่แล้วและของบประมาณลงทุนด้านระบบ บุคลากรเข้ามา ซึ่งกระทรวงการคลังไม่ขัดข้อง แต่ขอให้จัดทำแผนเสนอมาให้ชัดเจนอีกครั้ง หากสรรพากรทำได้ตามที่วางแผนไว้ก็จะทำให้สามารถเก็บรายได้เพิ่มขึ้นอีกเท่าตัว หรือจากที่ปัจจุบันจัดเก็บได้ 1.6 ล้านล้านบาท อาจเพิ่มเป็น 2-3 ล้านล้านบาท ในอนาคต ก็จะทำให้รัฐไม่ต้องขาดดุลงบประมาณ เป็นต้น

ก้าวที่สองเน้นช่วยเหลือผ่านกองทุน

  "รัฐบาลให้ความสำคัญกับประชาชนระดับรองลงมา หรือกลุ่มรากหญ้าผ่านโครงการพักหนี้ บัตรเครดิตชาวนาที่ถือเป็นโครงการที่ประกาศไว้และต้องทำเร่งด่วน แต่ต่อไปการทำงานของรัฐบาลจะเน้นให้ความช่วยเหลือด้านเงินทุนผ่านไปยังกองทุนต่างๆ โดยที่ประชาชน รัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องร่วมมือกัน ซึ่งจะไม่ใช่เงินให้เปล่า หรือทำในลักษณะ ลด แลก แจก แถม เหมือนในปีแรกที่รัฐบาลต้องออกตัว แต่ปีต่อไปที่ทำอะไรต้องอยู่บนโลกของความเป็นจริง เช่น กองทุนตั้งตัวที่กำลังเดินหน้าอยู่ในขณะนี้"

  นายทนุศักดิ์ชี้แจงว่า แม้รัฐบาลจะเน้นนโยบายประชานิยม แต่ถือเป็นประชานิยมแบบสร้างสรรค์ อย่างการดำเนินนโยบายผ่านกองทุนต่างๆ เช่น การเพิ่มเงินให้กองทุนหมู่บ้านจาก 1 ล้านเป็น 2 ล้าน กองทุนสตรี จนมาถึงกองทุนตั้งตัว ล้วนไม่ใช่การแจกเงินฟรี และตัวกองทุนจะคงอยู่มีเงินทุนหมุนเวียนต่อไปโดยที่ไม่ได้ใช้เงินจากภาครัฐเพิ่ม อย่างเช่นกองทุนตั้งตัวก็จะดึงธนาคารกรุงไทยเข้ามาร่วมสมทบปล่อยเงินกู้ให้นักศึกษาจบใหม่ที่ต้องการเป็นเจ้าของธุรกิจด้วยในอัตรา 50% จึงต้องมีการคัดเลือกโครงการที่เหมาะสม การพิจารณาสินเชื่อต้องค่อนข้างรัดกุม ทำให้มั่นใจว่าจะไม่กลายเป็นหนี้เสียในอนาคต และยังเป็นช่องทางที่สร้างโอกาสให้เด็กไทยได้มีโอกาสเป็นเถ้าแก่น้อยได้มากขึ้น

สานต่อโครงการเดิมเพิ่มประสิทธิภาพ

  นอกจากการดำเนินงานภายใต้หลักความเป็นจริงที่ต้องพิจารณาความจำเป็นความเหมาะสมและภาระงบประมาณของภาครัฐแล้ว ในปีต่อไปรัฐบาลก็ยังต้องสานต่อนโยบายเดิม แต่อาจมีการปรับปรุงแก้ปัญหาหรือติดตามความสำเร็จของโครงการเป็นระยะๆ ทั้งโครงการรถคันแรก การรับจำนำข้าว การพักหนี้ดีและบัตรเครดิตชาวนา

  สำหรับโครงการรถคันแรกนั้น จนถึงวันนี้นายทนุศักดิ์ยืนยันว่า ประสบความสำเร็จอย่างดี มียอดขอคืนภาษีเข้ามาแล้วกว่าแสนคัน และจากข้อมูลของกรมขนส่งทางบกมีรถยนต์รอจดทะเบียนอีกกว่า 2 แสนคัน รวมแล้วน่าจะเกือบ 4 แสนคัน ที่เข้าข่ายได้สิทธิคืนภาษี และหลังจากรัฐบาลขยายสิทธิในส่วนของการส่งมอบรถออกไปไม่มีกำหนด ซึ่งอาจจะเป็นปี 2556 หรือปี 2557 แต่ยังต้องจองภายในสิ้นปีนี้ก็น่าจะทำให้มีจำนวนรถเข้าโครงการมากกว่า 5 แสนคัน และใช้เงินคืนภาษีมากกว่า 3 หมื่นล้านบาท

  "ถ้าโครงการประสบความสำเร็จด้วยดี รัฐพร้อมจะจ่ายเพิ่ม เพราะเป็นการทยอยจ่ายตามการถือครองครบ 1 ปี ไม่ได้ใช้เงินภายในปีเดียว ซึ่งการขยายสิทธิรับรถก็เพื่อเป็นการชดเชยในช่วงเวลาน้ำท่วมปลายปีก่อนที่อาจทำให้บริษัทรถยนต์ส่งมอบไม่ทันปีนี้ โดยยืนยันว่า หลังจากนี้จะไม่มีการขยายเวลาการจองรถออกไปอีกอย่างแน่นอน"

  นายทนุศักดิ์กล่าวถึงโครงการพักหนี้ส่วนของลูกหนี้ที่ดีด้วยว่า ขณะนี้อาจจะมีปัญหาอยู่บ้างในส่วนของธนาคารออมสินที่มีลูกหนี้มาแสดงความจำนงเข้าโครงการน้อยจากผู้มีสิทธิ 3.8 แสนกว่าราย แต่มียื่นขอเข้าโครงการประมาณหมื่นกว่ารายเท่านั้น จึงเกรงว่าหลังปิดโครงการจะไม่สามารถเดินไปสู่เป้าหมายได้เหมือนธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การกษตร (ธ.ก.ส.) ที่มีลูกค้าเป้าหมาย 2.7 ล้านราย และเข้าโครงการแล้ว 2.1 ล้านราย ซึ่งที่เหลือเชื่อว่าน่าจะเข้าโครงการทั้งหมด

  ทั้งนี้ จากการประชุมของผู้บริหารกระทรวงการคลัง พร้อมด้วยนายกิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เมื่อ 2 สัปดาห์ก่อน มีแนวคิดว่า การพักหนี้มี 2 แนวทางคือ พักเงินต้นและลดดอกเบี้ยกับไม่พักเงินต้นแต่ลดดอกเบี้ย ดังนั้น เพื่อประโยชน์ของประชาชนหรือลูกหนี้ทุกราย หากไม่เลือกพักเงินต้นก็ควรให้สิทธิได้รับดอกเบี้ยอัตโนมัติทุกราย โดยขณะนี้กระทรวงการคลังกำลังดูในแง่ระเบียบกฎเกณฑ์และมติครม.ก่อนหน้านี้ว่า หากปรับเปลี่ยนแล้วจะมีปัญหาหรือไม่ ซึ่งเรื่องนี้จะมีการหารือกันอีกครั้งในวันที่ 20 สิงหาคมนี้ หลังปิดโครงการ

เชื่อไม่สร้างหนี้เสียให้แบงก์รัฐเพิ่ม

  "มั่นใจว่าการพักหนี้ให้ลูกหนี้ที่ดีรวมแล้วเกือบ 3 ล้านคนนี้ ไม่น่าจะทำให้เกิดหนี้เสียของแบงก์รัฐมากขึ้น เพราะในปี 2544-2545 ที่รัฐบาลเคยพักหนี้ให้เกษตรกรก็มีหนี้เสียเพียงแค่ 1% เท่านั้น ทั้งที่ตอนนั้นเราไม่พร้อมทำโครงการ แต่ตอนนี้เรามีความพร้อม มีประสบการณ์ จึงมั่นใจว่าจะไม่เกิดความเสียหาย เพราะไม่ได้เป็นการพักหนี้เฉยๆ แต่มีการฝึกอบรม สอนทำบัญชี ฝึกอาชีพ ติดตามอย่างใกล้ชิด อีกทั้งคนต่างจังหวัด ชาวนาชาวไร่ส่วนใหญ่มีวินัยทางการเงินค่อนข้างดี"

  นอกจากนี้ ในส่วนของบัตรเครดิตชาวนาก็ต้องเดินหน้าต่อไปและต้องปรับปรุงให้ดีขึ้น รวมถึงขยายบัตรให้ครอบคลุมไปสู่กลุ่มอื่นมากขึ้น จากที่ก่อนหน้านี้ได้ผลักดันการใช้บัตรสินเชื่อเกษตรกรให้สามารถรูดซื้อสินค้าจำเป็น เมล็ดพันธุ์ ปุ๋ย ยาปราบศัตรูพืช และขยายไปสู่น้ำมันได้ โดยเกษตรกรจะได้รับประโยชน์จากการปลอดดอกเบี้ยนานถึง 5 เดือน ขณะนี้ธ.ก.ส.อยู่ระหว่างเร่งแจกจ่ายบัตรให้ถึงมือชาวนาจำนวน 2 ล้านใบ ภายในสิ้นเดือนสิงหาคมนี้ และหลังจากนั้นจะขยายไปสู่มือของเกษตรกรผู้ปลูกพืชชนิดอื่นต่อไป โดย ธ.ก.ส.ประเมินว่า หากทำเต็มที่จะมียอดของบัตรรวมทั้งสิ้น 4 ล้านใบ

 ส่วนของกลุ่มอื่นทราบมาว่า ธนาคารออมสินก็พร้อมทำบัตรเครดิตเจาะกลุ่มคนมีรายได้น้อยหรือไม่ได้มีรายได้ประจำในเร็วๆ นี้ ถือเป็นนโยบายที่ดีมาเสริมต่อสวนนี้ได้ เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มได้รับประโยชน์ โดยยืนยันว่านโยบายของรัฐบาลไม่ได้ส่งเสริมให้ประชาชนเป็นหนี้เพิ่มขึ้น เพราะจะมีการควบคุมและจำกัดการใช้วงเงิน

............................................................
(ก้าวที่สองรัฐบาล'ยิ่งลักษณ์' ลดประชานิยม-เดินนโยบายบนโลกความจริง : คอลัมน์สัมภาษณ์พิเศษ : โดย...ณัฐฎ์ชิตา เกิดแดง)


ยิ่งลักษณ์ชี้เพิ่มค่าแรงไม่กระทบการเงิน

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ว่าที่นายกรัฐมนตรี กล่าวถึง นโยบายค่าแรงขั้นต่ำ 300 บาท ว่า นโยบายนี้ไม่ได้หายไปจากเรื่องเร่งด่วนของพรรคเพื่อไทย แต่อยู่ในขั้นตอนการศึกษารายละเอียด ที่อาจจะต้องเริ่ม ในวันที่ 1 มกราคม ปี 2555 เนื่องจากต้องเชื่อมกับนโยบายลดภาษีส่วนบุคคล รวมทั้งต้องหารือระหว่างไตรภาคี ทั้งนี้ ภาษีนิติบุคคลที่ลดลงไป จะมีเงินมาเพิ่มในส่วนของค่าจ้างขั้นต่ำ แต่หากทำเพียงเรื่องใดเรื่องหนึ่ง จะเป็นการผลักภาระให้กับบริษัท 

นางสาวยิ่งลักษณ์ ยืนยันด้วยว่า นโยบายทั้งหมดของพรรคเพื่อไทยจะไม่ทำให้เสียวินัยการเงินการคลัง ส่วนนโยบายการยกเลิกการเก็บกองทุนน้ำมันนั้น นางสาวยิ่งลักษณ์ กล่าวว่า ในหลักการ จะยกเลิกการจัดเก็บเฉพาะ 3 ตัว คือ เบนซิน 95 เบนซิน 91 และ ดีเซล แต่ในส่วนอื่นยังปกติอยู่ ทั้งนี้ แนวนโยบายดังกล่าว จะไม่เป็นการผลักภาระให้กับประชาชน แต่ระยะยาว จะมีการพิจารณาเป็นช่วงๆ ซึ่งหากเศรษฐกิจดีขึ้น อาจจะขอปรับให้มีการเก็บคือเหมือนเดิม ขณะที่นโยบายทั้งหมด จะดำเนินการทันที แต่คงต้องรอให้ทีมเศรษฐกิจพิจารณา ศึกษาถึงความเป็นไปได้ทั้งหมด ก่อนจะนำไปบรรจุในแผนงบประมาณ


นโยบายเศรษฐกิจ ของคณะรัฐมนตรี (นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร)

นโยบายเศรษฐกิจมหภาค

1.ดำเนิน การให้มีการกระจายรายได้ที่เป็นธรรมให้แก่คนส่วนใหญ่ของประเทศ และให้เศรษฐกิจสามารถเจริญเติบโตในอัตราสูงอย่างมีเสถียรภาพ โดยดำเนินนโยบายเศรษฐกิจที่สนับสนุนการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม และก่อให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน มีการจ้างงานเต็มที่ ระดับราคามีเสถียรภาพ ระมัดระวังความเสี่ยงจากความผันผวนของการเคลื่อนย้ายเงินทุนระหว่างประเทศ

2.ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุนที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการที่หลากหลายได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม

3.พัฒนา ระบบสถาบันการเงินในประเทศให้รับผิดชอบต่อคนส่วนใหญ่และผู้ด้อยโอกาส สามารถให้บริการที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของนวัตกรรมการเงินและความ ต้องการที่เปลี่ยนไปตามสภาวะเศรษฐกิจและสังคมด้วยค่าบริการที่ต่ำและการ บริการที่มีประสิทธิภาพ

4.ปรับโครงสร้างภาษีอากรทั้งระบบ เพื่อสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ สร้างความเป็นธรรมในสังคม ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างฐานรายได้ภาษีที่ยั่งยืนในระยะยาว รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้ทั้งจากภาษีและที่มิใช่ภาษี

5.ส่ง เสริมและรักษาวินัยการคลัง โดยปรับปรุงองค์ประกอบและโครงสร้างงบประมาณให้เหมาะสม มีระบบบริหารความเสี่ยงทางการคลังที่มีประสิทธิภาพ

6.ปรับปรุง โครงสร้างของรัฐวิสาหกิจ โดยมุ่งเน้นประสิทธิภาพการให้บริการ การบริหารทรัพย์สินให้เกิดประโยชน์สูงสุด และเร่งฟื้นฟูรัฐวิสาหกิจที่มีปัญหาฐานะการเงิน

7.บริหารสินทรัพย์ ของประเทศที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์และความมั่นคงทางเศรษฐกิจ รวมทั้งพิจารณาการจัดตั้งกองทุนที่สามารถใช้ในการบริหารสินทรัพย์ของชาติให้ เป็นประโยชน์ เช่น กองทุนมั่งคั่งแห่งชาติ กองทุนน้ำมันเชื้อเพลิงสำรองแห่งชาติ และกองทุนความมั่นคงทางอาหาร เป็นต้น

นโยบายสร้างรายได้

1.ส่ง เสริมการท่องเที่ยวจากทั้งภายนอกและภายในประเทศ จัดให้มีการพัฒนาการท่องเที่ยวและแหล่งท่องเที่ยว ให้มีรายได้จากนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น 2 เท่าตัวในเวลา 5 ปี

2.ขยาย บทบาทให้ธุรกิจการเกษตรและอาหารซึ่งเป็นแหล่งรายได้และการจ้างงานในประเทศมา เป็นเวลานานให้ก้าวข้ามไปสู่การเป็นศูนย์กลางการผลิตและการค้าอาหารคุณภาพ สูง เป็นที่ต้องการของผู้บริโภคที่มีฐานะและรสนิยมเฉพาะตัว การพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางตลาดซื้อขายล่วงหน้าสินค้าเกษตรและอาหาร จะทำให้เป้าหมายการเป็นครัวที่มีคุณภาพของโลกสัมฤทธิผลรวดเร็วยิ่งขึ้น

3.ส่ง เสริมและผลักดันให้อุตสาหกรรมพลังงานปิโตรเลียมและพลังงานทดแทนสามารถสร้าง รายได้จากความต้องการภายในประเทศ รวมทั้งสร้างการจ้างงานให้แก่ประเทศโดยถือเป็นอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ใหม่

4.ยก ระดับความสามารถในการแข่งขันและขยายช่องทางการตลาดของธุรกิจอุตสาหกรรม ธุรกิจบริการในประเทศ และธุรกิจวิสาหกิจชุมชนให้เข้าสู่ระบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในการผลิตสินค้าและ บริการที่มีคุณค่าและคุณภาพสูง

5.ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการขยายการ ลงทุนไปประเทศเพื่อนบ้านซึ่งมีความพร้อมทางด้านแรงงานและวัตถุดิบเพื่อสร้าง ความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจให้แก่ประเทศและภูมิภาค

6.ดึงดูดการลงทุน เข้าสู่ประเทศในสาขาที่เป็นการผลิตสินค้าและบริการที่มีพื้นฐานทางเทคโนโลยี มีมูลค่าสูง เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมถึงการลงทุนในการสร้างเมืองใหม่ในพื้นที่ที่เหมาะสม และโครงสร้างพื้นฐานสาธารณะ

7.เสริมสร้างกระบวนการสร้างอาชีพ สร้างงานที่มีคุณภาพและมีรายได้สูงให้แก่ประชาชนอย่างทั่วถึง

8.ส่งเสริมการขยายความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจการค้า การลงทุน และการเงิน ภายใต้ประโยชน์ร่วมกันของกรอบความร่วมมือและข้อตกลงทางการค้า

นโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ

ภาคเกษตร

1.ส่ง เสริมสนับสนุนให้สภาเกษตรกรแห่งชาติเป็นกลไกของเกษตรกรในการสื่อสารกับ รัฐบาลและร่วมกันพัฒนาเกษตรกรด้วยตนเองตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย

2.เพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตพืช โดยการวิจัยและพัฒนาสายพันธุ์ พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเพื่อให้ได้ผลผลิตสูง ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูพืช ใช้ปุ๋ยตามคุณสมบัติของดินแต่ละชนิด เพื่อลดต้นทุนการผลิตและพัฒนาคุณภาพผลผลิต

3.เพิ่มศักยภาพกระบวนการ ผลิตด้านปศุสัตว์ให้ได้มาตรฐาน ปลอดภัย เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพียงพอกับความต้องการภายในประเทศและการส่งออก

4.พัฒนาการประมง ทั้งในการเพาะเลี้ยงและในแหล่งน้ำธรรมชาติ โดยการฟื้นฟูทรัพยากรประมงและจัดระเบียบการทำประมงให้สมดุลกับศักยภาพการ ผลิตตามธรรมชาติ ขยายพื้นที่อนุรักษ์เพื่อการประมงทะเลพื้นบ้าน ส่งเสริมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเศรษฐกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม แสวงหาลู่ทางการทำประมงในน่านน้ำต่างประเทศที่ไม่ขัดต่อระเบียบขององค์การ ระหว่างประเทศและประเทศที่นำเข้า

5.เสริมสร้างฐานรากของครัวเรือน เกษตรกรให้เข้มแข็งโดยการเพิ่มประสิทธิภาพการเพาะปลูก ลดต้นทุนการผลิต พัฒนาระบบการผลิตที่เป็นขั้นตอน

6.จัดทำระบบทะเบียนครัวเรือน เกษตรกรที่มีข้อมูลการเกษตรของครัวเรือนครบถ้วน สามารถเชื่อมโยงกับบัตรเครดิตสำหรับเกษตรกรและมีการปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่ เสมอ

7.เร่งรัดพัฒนาธุรกิจการเกษตร โดยการพัฒนาสถาบันเกษตรกรในด้านธุรกิจ สร้างเกษตรกรรุ่นใหม่จากโครงการกองทุนตั้งตัวได้

8.พัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรมูลค่าเพิ่มเพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันในตลาดโลก

9.ส่ง เสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ ดำเนินการฟื้นฟูสภาพแวดล้อม สร้างความเข้มแข็งภาคเกษตรและสร้างความมั่นคงทางอาหารเพื่อเผชิญกับวิกฤต อาหารโลก

ภาคอุตสาหกรรม

1.ยกระดับความสามารถในการ แข่งขันของภาคอุตสาหกรรมในประเทศด้วยการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ลดต้นทุนของผู้ประกอบการ และยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล ตลอดจนส่งเสริมให้มีการสร้างตราสินค้าไทย

2.ยกระดับภาคอุตสาหกรรม เข้าสู่อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ที่ใช้ปัญญา ใช้เทคโนโลยี และใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทดแทนอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเป็นหลัก

3.พัฒนา และส่งเสริมอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปบนฐานความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และนวัตกรรมเพื่อเพิ่มมูลค่าและยกระดับสินค้าให้มีคุณภาพ มีความปลอดภัยตามมาตรฐานสากล และมีโอกาสในการขยายตลาด

4.สร้างความเข้มแข็งให้แก่วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยสนับสนุนช่องทางการเข้าถึงแหล่งสินเชื่อผ่านสถาบันการเงินต่างๆ

5.กำหนดมาตรฐานและคุณภาพขั้นพื้นฐานของสินค้าอุตสาหกรรมเมื่อมีการเปิดเสรีการค้ามากขึ้น เพื่อป้องกันสินค้านำเข้าที่ไม่ได้คุณภาพ

6.พัฒนา พื้นที่อุตสาหกรรมแห่งใหม่ รวมทั้งการพัฒนาสะพานเศรษฐกิจระหว่างฝั่งอันดามันและฝั่งอ่าวไทยสำหรับ รองรับอุตสาหกรรมที่ไม่ก่อมลพิษและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน

7.เร่งพัฒนาภาคอุตสาหกรรมให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความรับผิดชอบต่อสังคม และอยู่ร่วมกับชุมชนได้

8.ส่ง เสริมและจัดให้มีมาตรการทางภาษีและมาตรการอื่นที่เกี่ยวข้องในการพัฒนา อุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิดการประหยัดพลังงาน การใช้พลังงานทดแทน และการใช้พลังงานจากภาคเกษตร

9.สนับสนุนให้ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมทุกสาขาการผลิตเข้าประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรม

10.เร่งรัด สำรวจและแสวงหาแหล่งแร่สำคัญ เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ และพัฒนาอุตสาหกรรมต่อยอดเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มโดยให้ความสำคัญกับการกำกับ ดูแลผลกระทบสิ่งแวดล้อมและชุมชน

การตลาด การค้า และการลงทุน

1.ส่ง เสริมนโยบายการแข่งขันอย่างเสรีและเป็นธรรม เพื่อป้องกันการผูกขาดตัดตอน ส่งเสริมและพัฒนาบทบาทขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภคทั้ง ภาครัฐและเอกชน แก้ไขปรับปรุงกฎหมาย มาตรการต่างๆ เพื่อสร้างความเป็นธรรมให้แก่ผู้บริโภค

2.สร้างความเชื่อมั่นให้นัก ลงทุนทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยปรับปรุงพัฒนากฎหมายและกฎระเบียบที่ส่งเสริมการค้าการลงทุนที่ครอบคลุม การลงทุนด้านเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ และปรับปรุงมาตรการบริหารการนำเข้าเพื่อป้องกันการค้าที่ไม่เป็นธรรม

3.สนับสนุน การลงทุนในต่างประเทศในสาขาที่ผู้ประกอบการไทยมีศักยภาพ ส่งเสริมและสนับสนุนการเปิดร้านอาหารไทยของคนไทยตามนโยบายครัวไทยสู่ครัวโลก และนโยบายไทยเป็นครัวอาหารโลก

4.ปรับปรุงมาตรการการส่งเสริมการ ลงทุนให้ครอบคลุมการให้สิทธิประโยชน์แก่ธุรกิจในภาคเกษตร อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว การกีฬา และบริการ

5.ส่งเสริมการขยายตลาดเชิงรุก เพื่อรักษาตลาดเดิมและสร้างตลาดใหม่ เพื่อลดการพึ่งพาการส่งออกไปตลาดหลัก โดยส่งเสริมการส่งออกสินค้าและบริการในตลาดใหม่ ได้แก่ จีน อินเดีย ตะวันออกกลาง แอฟริกา และยุโรปตะวันออก

6.พัฒนาสินค้าและบริการที่สร้างโอกาสใหม่ในการหารายได้ การผลิตสินค้าและบริการอันเป็นที่ต้องการของผู้บริโภคในตลาดโลก

7.ขยายความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจการค้าการลงทุน และการตลาดภายใต้กรอบความร่วมมือและข้อตกลงการค้าเสรีในระบบพหุภาคีและทวิภาคี

8.เร่งรัด จัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษบริเวณพื้นที่ที่มีศักยภาพ โดยให้ความสำคัญต่อจังหวัดชายแดน เพื่อส่งเสริมการค้า การตลาด การลงทุน การจ้างงาน และการใช้วัตถุดิบจากประเทศเพื่อนบ้าน


นายกแถลงนโยบาย








  นโยบายเศรษฐกิจ

.๑  นโยบายเศรษฐกิจมหภาค

๑  ดำเนินการใหม่การกระจายรายได้ที่เป็นธรรมให้แก่ คนส่วนใหญ่ของประเทศและใหเศรษฐกิจสามารถเจริญเติบโตในอัตราส่งอย่างมีเสถียรภาพ โดยดำเนินนโยบายเศรษฐกิจที่สนับสนุนการกระจายรายได้ที่เป็นธรรมและก่อให้เกิด

การขยายตัวทางเศรษฐิกจอย่างยั่งยืนมีการจ้างงานเต็มที่ระดับราคามเสถียรภาพ ระมัดระวังความเสี่ยงจากความผันผวนของการเคลื่อนย้ายเงินุทนระหว่างประเทศ โดยการสร้างความเข้มแข็งและมีประสิทธภาพของตลาดเงินและตลาดทุนในประเทศรวมถึง การสร้างความร่วมมือในภูมิภาคเพื่อรองรับความผันผวนที่อาจเกิดขึ้น

๒  ส่งเสริมใหประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุนที่สามารถ

ตอบสนองต่อความต้องการที่หลากหลายได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรมโดยให้เป็นทั้งแหล่ง เงินทุนแก่ผู้ประกอบการและเป็นช่องทางการออมของประชาชนโดยเฉพาะในกลุ่ม ผู้มีรายได้น้อย รวมถึงการพัฒนาขีดความสามารถในการดำเนินงานขององค์กรทางการเงิน ชุมชนกลุ่มเกษตรกร กลุ่มอาชีพต่าง ๆ กลุ่มวิสาหกิจชุมชน และสหกรณ์ทุกระดับ พร้อมกับ การพัฒนาความรู้พื้นฐานทางการเงินแก่ประชาชน

๓  พัฒนาระบบสถาบันการเงินในประเทศให้รับผิดชอบ ต่อคนส่วนใหญ่และผู้ด้อยโอกาสสามารถใหบริการที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของ นวัตกรรมการเงินและความต้องการที่เปลี่ยนไปตามสภาวะเศรษฐกิจและสังคมด้วยค่าบริการที่ต่ำและการบริการที่่มีประสิทธิภาพการสร้างเสถียรภาพและความมั่นคง โดยการออกมาตรการที่จำเป็นและปรับปรุงกฎหมาย กฎระเบียบรวมถึงส่งเสริม หลักธรรมาภิบาลในระบบการเงิน ปรับปรุงระบบกำกับดูแลให้ได้มาตรฐานสากลเพื่อป้องกัน ความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นต่อระบบการเงินและระบบเศรษฐกิจของประเทศโดยรวม

๔  ปรับโครงสร้างภาษีอากรทัั้งระบบเพื่อสนับสนุน การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศสร้างความเป็นธรรมในสังคมส่งเสริม การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างฐานรายได้ภาษีที่ยั่งยืนในระยะยาวรวมทั้ง เพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้ทั้งจากภาษีและที่มิใช่ภาษี

๕  ส่งเสริมและรักษาวินัยการคลังโดยปรับปรุง องค์ประกอบและโครงสร้างงบประมาณให้เหมาะสมมีระบบบริหารความเสี่ยงทางการคลัง ที่มีประสิทธิภาพจัดลำดับความสำคัญของงบประมาณรายจ่ายให้สอดคล้องกับทิศทาง การพัฒนาและให้เป็นพื้นฐานของการพัฒนาในอนาคต  ส่งเสริมบทบาทภาคเอกชนในการ ร่วมลงทุนและดำเนินการในกิจการของรัฐตลอดจนส่งเสริมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้มีประสิทธิภาพในการบริหารและจัดการรายได้ในท้องถิ่นเพื่อลดการพึ่งพาเงินอุดหนุน จากส่วนกลาง

๖  ปรับปรุงโครงสร้างของรัฐวิสาหกิจโดยมุ่งเน้น ประสิทธิภาพการให้บริการการบริหารทรัพย์สินใหเกิดประโยชน์สูงสุดและเร่งฟื้นฟู รัฐวิสาหกิจที่มีปัญหาฐานะการเงินรวมทั้งปฏิรูประบบการกำกับดูแลการลงทุนและ

การดำเนินงานของรัฐวิสาหกิจโดยเฉพาะรัฐวสาหกิจที่มีสถานะเป็นบริษัทมหาชน เพื่อให้ รัฐวิสาหกิจเป็นกลไกที่สามารถสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาและการลงทุน ของประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพและทนต่อความเปลี่ยนแปลง

๗  บริหารสินทรัพย์ของประเทศที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์ และความมั่นคงทางเศรษฐกิจทั่งสินทรัพย์ของภาครัฐตลอดจนทุนในท้องถิ่นที่รวมถึง ภูมิปัญญาท้องถิ่นวิถีชีวิตวัฒนธรรมรวมทั้งพิจารณาการจัดตั้งกองทุนที่สามารถใช้ ในการบริหารสินทรัพย์ของชาติให้เป็นประโยชน์เช่นกองทุนมั่งคงแห่งชาติ  กองทุนน้ำมัน เชื้อเพลิงสำรองแห่งชาติและกองทุนความมั่นคงทางอาหารเป็นต้น


      นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังนายทนุศักดิ์ เล็กอุทัย รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลังนายวิรุฬ เตชะไพบูลย์รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลังนายอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม ปลัดกระทรวงการคลังนายสมชัย สัจจพงษ์ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลังในฐานะโฆษกกระทรวงการคลังร่วมด้วยผู้บริหารระดับสูงของกระทรวงการคลังได้ร่วมกันแถลงผลงานของกระทรวงการคลังตามนโยบายรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ในรอบ 1 ปี เมื่อวันที่ 10 กันยายน 2555 เวลา 12.00 น. ณ ห้องประชุม 401 กระทรวงการคลังโดยมีสาระสำคัญ ดังนี้

     นายกิตติรัตน์ฯ กล่าวว่า ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาเศรษฐกิจไทยได้เผชิญกับความท้าทายทางเศรษฐกิจในหลายด้าน ทั้งจากภาวะของเศรษฐกิจโลกที่เปราะบางจากปัญหาหนี้สาธารณะของยูโรโซนและผลกระทบจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ ซึ่งส่งผลให้เศรษฐกิจไทยในช่วงก่อนที่รัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงและอัตราเงินเฟ้อเริ่มปรับเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องรัฐบาลโดยกระทรวงการคลังจึงได้มีมาตรการเร่งด่วนเพื่อบรรเทาผลกระทบทางเศรษฐกิจดังกล่าวรัฐบาลได้เน้น 4 นโยบายหลักดังนี้

1. นโยบายแก้ไขปัญหาอุทกภัย เพื่อบรรเทา เยียวยา และป้องกันอุทกภัยในอนาคตโดยในระยะสั้นกระทรวงการคลังได้ขยายเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินดำเนินมาตรการช่วยเหลือทางการเงินผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจ มาตรการช่วยเหลือด้านภาษี รวมทั้งจัดตั้งกองทุนส่งเสริมประกันภัยพิบัติ และในระยะปานกลางถึงยาวกระทรวงการคลังได้สนับสนุนการลงทุนเพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้ำและสร้างอนาคตประเทศ 350,000 ล้านบาท

2. นโยบายลดรายจ่ายเพื่อบรรเทาภาระของประชาชนจากอัตราเงินเฟ้อที่สูงขึ้นในช่วงที่ผ่านมา ด้วยโครงการพักหนี้เกษตรกรรายย่อยและผู้มีรายได้น้อย การลดอัตราภาษีสรรพสามิตน้ำมันดีเซล การต่ออายุมาตรการค่าครองชีพ และบัตรเครดิตพลังงาน

3. นโยบายเพิ่มรายได้ เพื่อเสริมสร้างกำลังซื้อและความเป็นอยู่ของประชาชน ด้วยการปรับเพิ่มขึ้นค่าแรงขั้นต่ำเป็น 300 บาท/วัน และโครงการขึ้นเงินเดือนข้าราชการที่จบปริญญาตรีเป็น 15,000 บาท/เดือน และโครงการจำนำข้าวของ ธ.ก.ส. และ

4. นโยบายขยายโอกาส เพื่อเสริมสร้างศักยภาพของประชาชน ผู้ประกอบการ และประเทศ ด้วยการลดภาษีเงินได้นิติบุคคลจากร้อยละ 30 เป็นร้อยละ 23 ในปี 2555 และร้อยละ 20 ในปี 2556 โครงการรถคันแรก โครงการบ้านหลังแรก และกองทุนตั้งตัวได้

การดำเนินงานตาม 4 นโยบายดังกล่าว ได้ส่งผลให้เศรษฐกิจไทยกลับมาขยายตัวในอัตราที่สูงขึ้น และอัตราเงินเฟ้อปรับลดลงตามลำดับทั้งนี้ ในช่วงที่ผ่านมา รัฐบาลสามารถรักษาวินัยทางการคลังภายใต้กรอบความยั่งยืนทางการคลัง (สัดส่วนหนี้สาธารณะต่อจีดีพีต่ำกว่าร้อยละ 60) และสามารถสร้างกลไกการบริหารจัดการหนี้กองทุนฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินได้อย่างชัดเจน

นายทนุศักดิ์ฯ ได้กล่าวถึงผลงานของกรมจัดเก็บและรัฐวิสาหกิจที่ตนกำกับว่า ในช่วง 1 ปีที่ผ่านมา สามารถดำเนินนโยบายของรัฐบาลได้ดีโดยในส่วนของการกระตุ้นการบริโภคภาคเอกชน จากข้อมูลล่าสุด โครงการบัตรสินเชื่อเกษตรกรที่ได้อนุมัติแล้วทั้งสิ้น 844,347 ราย มียอดเงินใช้จ่ายผ่านบัตรทั้งสิ้น 621 ล้านบาท การคงอัตราภาษีมูลค่าเพิ่มไว้ที่ร้อยละ 7 เป็นส่วนสำคัญที่ได้ช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจผ่านการบริโภคภาคเอกชน โครงการพักหนี้ลูกหนี้ที่มีหนี้ค้างชำระ มีผู้ได้รับอนุมัติ 428,415 ราย คิดเป็นมูลหนี้ 52,304 ล้านบาท โครงการพักหนี้ลูกหนี้ที่มีภาระปกติ มีผู้สนใจมาลงทะเบียน 2,468,367 ราย คิดเป็นมูลหนี้ 281,089 ล้านบาท และโครงการรถคันแรกมีผู้ขอใช้สิทธิ์ 169,861คัน คิดเป็นยอดขอคืนเงินภาษีจำนวน12,191ล้านบาท

ในส่วนของการกระตุ้นการลงทุนภาคเอกชนกระทรวงการคลังได้ปรับลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลจากร้อยละ 30 เป็นร้อยละ 23 ในปี 2555 และร้อยละ 20 ในปี 2556 อันเป็นการเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของภาคเอกชนเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี 2558 และโครงการบ้านหลังแรกมีผู้ใช้สิทธิ์ 9,600 ราย คิดเป็นมูลค่าภาษี 224 ล้านบาท

ในส่วนของการดูแลอัตราเงินเฟ้อกระทรวงการคลังได้ขยายเวลาปรับลดอัตราภาษีสรรพสามิตน้ำมันดีเซลที่ 0.005 บาท/ลิตร ซึ่งสามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายของประชาชนและภาคธุรกิจในช่วงปีที่ผ่านมากว่า 108,000 ล้านบาทและ

ในส่วนของการส่งเสริมการแข่งขันเสรีกระทรวงการคลังได้ดำเนินโครงการจัดตั้งการให้บริการระบบเชื่อมโยงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (National Single Window) เพื่ออำนวยความสะดวกในการค้าระหว่างประเทศ โดยคาดว่าจะสามารถเชื่อมโยงข้อมูลเสร็จสมบูรณ์ปลายปี 2556 และจะสามารถเชื่อมโยงระบบกับประเทศอาเซียนอื่นๆ ได้ในปี 2557

นอกจากนี้กระทรวงการคลังได้ดำเนินโครงการ “รวมแรงไทย รักษาน้ำใสทุกคูคลอง” อันเป็นการสร้างความร่วมมือระหว่างภาคเอกชนเพื่อเสริมสร้างศักยภาพของชุมชนในการดูแลคูคลองของตนเอง และโครงการ “รัฐบาลพบประชาชน ทุนเพื่อคุณภาพชีวิต” เพื่อสร้างโอกาสให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งทุนและผลประโยชน์จากนโยบายของรัฐ

นายวิรุฬฯ ได้กล่าวถึงผลงานของหน่วยงานที่อยู่ในการกำกับดูแลใน 1 ปีที่ผ่านมา โดยแยกตามหน่วยงาน ดังนี้

กรมบัญชีกลางนอกจากแก้ไขปัญหาอุทกภัยด้วยการขยายวงเงินทดรองราชการ ในส่วนของนโยบายเพิ่มรายได้เพื่อกระตุ้นการบริโภคและส่งเสริมความเป็นอยู่ของประชาชน ยังได้ปรับค่าตอบแทนบุคลากรภาครัฐระดับปริญญาตรี 15,000 บาท และต่ำกว่าปริญญาตรี 9,000 บาทแล้วตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2555 อันเป็นการยกระดับรายได้และคุณภาพชีวิต และส่งผลต่อการกระตุ้นเศรษฐกิจโดยรวม นอกจากนี้ คณะผู้บริหารการคลังประจำจังหวัดและสถาบันการเงินเฉพาะกิจได้ร่วมกันติดตามการใช้จ่ายเงินที่ประหยัดได้จากโครงการพักหนี้เกษตรกรรายย่อยและผู้มีรายได้น้อยผ่านระบบฐานข้อมูลลูกหนี้ของกระทรวงการคลังและพัฒนาต้นแบบการดำเนินธุรกิจ (Business Model) จากเงินที่ประหยัดได้ดังกล่าว

ในส่วนของกรมธนารักษ์ในช่วงเวลาที่รัฐบาลเข้ามาทำงานในช่วง 1 ปีที่ผ่านมา ได้มีโอกาสมหามงคลที่สำคัญถึง 3 วาระ ซึ่งกระทรวงการคลังโดยกรมธนารักษ์ได้จัดทำเหรียญกษาปณ์ที่ระลึกและเหรียญที่ระลึกเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2555  เหรียญกษาปณ์ที่ระลึกและเหรียญที่ระลึกเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 12 สิงหาคม 2555 และเหรียญกษาปณ์ที่ระลึกเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 28 กรกฎาคม 2555 เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติและจัดจำหน่ายจ่ายแลกให้ประชาชนทั่วไปเพื่อมีไว้เป็นที่ระลึก นอกจากนี้ กรมธนารักษ์ได้นำที่ราชพัสดุที่ไม่ได้มีการใช้ประโยชน์ให้ผู้มีรายได้น้อยเช่าเพื่ออยู่อาศัยและทำกิน ตามโครงการรัฐเอื้อราษฎร์ ซึ่งปีที่ผ่านมาสามารถจัดให้เช่าได้จำนวนกว่า 6,200 ราย ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายถึงเท่าตัว หรือคิดเป็นเนื้อที่กว่า 16,000 ไร่ และยังมีการนำที่ราชพัสดุไปสนับสนุนด้านพลังงานของประเทศ ด้วยการให้เกษตรกรเช่าทำการเกษตรและปลูกพืชทดแทน โดยในปีที่ผ่านมา ได้ดำเนินการแล้วกว่า 3,200 ราย ครอบคลุมเนื้อที่ 39,000 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 92 ของเป้าหมายนอกจากนี้ ยังได้นำที่ราชพัสดุให้เช่าเพื่อเป็นสถานีบริการก๊าซธรรมชาติ NGV โดยได้ดำเนินการแล้ว 1 แห่ง และจะดำเนินการอีก 3 แห่งภายในปีนี้ รวมไปถึงการกิจในการยกระดับความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตได้จัดให้เช่าที่ราชพัสดุเพื่อสร้างสนามกีฬา เช่น สนามบาสเกตบอลชุมชนในเขตพระโขนง เป็นต้น

สำหรับสถาบันการเงินเฉพาะกิจในปีที่ผ่านมาสนับสนุนนโยบายของภาครัฐในการแก้ไขปัญหาอุทกภัย ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ และขยายโอกาสกระทรวงการคลังได้มีมาตรการต่าง ๆ ในการส่งเสริมให้ประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้อย่างทั่วถึงและเพียงพอผ่านทางสถาบันการเงินเฉพาะกิจ โดยในช่วง 7 เดือนแรกของปี 2555 สถาบันการเงินเฉพาะกิจได้อนุมัติสินเชื่ออยู่ในเกณฑ์ดีและสูงกว่าเป้าหมาย โดยอนุมัติสินเชื่อรายใหม่กว่า 6 ล้านราย คิดเป็นเงินจำนวน 1.17 ล้านล้านบาท อีกทั้ง  ในรอบปีที่ผ่านมา สถาบันการเงินเฉพาะกิจยังได้มีส่วนในการ (1) ยกระดับขีดความสามารถของประเทศ ผ่านมาตรการด้านสินเชื่อเพื่อเพิ่มขีดความสามารถของ SMEs ในวงเงิน 54,000 ล้านบาท (2) ยกระดับความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตประชาชน ผ่านทางโครงการต่างๆของภาครัฐ เช่น โครงการบ้านธนาคารอาคารสงเคราะห์เพื่อที่อยู่อาศัยแห่งแรกร้อยละ 0 เป็นระยะเวลา 3 ปี โครงการยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชนและชุมชนในพื้นที่พิเศษ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ และมาตรการช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยปี 2554 เป็นต้น และ (3) พัฒนาระบบตลาดการเงินไทย ผ่านทางโครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ตราสารหนี้เพื่อการระดมเงินจากตลาดทุน

ในส่วนของภาคการประกันภัย การจัดตั้งกองทุนส่งเสริมการประกันภัยพิบัติในวงเงิน 50,000 ล้านบาท ซึ่งประสบความสำเร็จในการฟื้นฟูระบบประกันวินาศภัยและสร้างความเชื่อมั่นให้ผู้รับประกันภัย และผลักดันให้เบี้ยประกันภัยพิบัติลดลงอย่างต่อเนื่อง ถือเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายแก้ไขปัญหาอุทกภัยของภาครัฐ ในด้านการขยายโอกาสและยกระดับคุณภาพชีวิต นับตั้งแต่ วันที่ 1 สิงหาคม 2555 ได้มีการนำระบบการจ่ายค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินกรณีประสบภัยจากรถผ่านระบบออนไลน์ (E-Claim) ทำให้ประชาชนสามารถเข้ารับการรักษาพยาบาลจากสถานพยาบาลทุกแห่งทั่วประเทศ โดยไม่ต้องสำรองค่ารักษาพยาบาลไปก่อน สุดท้ายเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตโดยลดอุบัติเหตุทางรถ ได้ส่งเสริมให้มีการจัดทำกรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์ปลอดแอลกอฮอล์ขึ้นซึ่งมีเบี้ยประกันลดจากอัตราปกติร้อยละ 10 เพื่อเป็นรางวัลให้ผู้ขับขี่ที่ไม่ดื่มแอลกอฮอล์ ซึ่งจะเป็นทางเลือกใหม่ให้กับประชาชนที่ไม่ดื่มสุรา และจะนำไปสู่การลดความเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุทางรถในที่สุด

นายกิตติรัตน์ฯ กล่าวว่า ในระยะต่อไป เพื่อรองรับกระบวนทัศน์ใหม่ของการพัฒนาประเทศ ทั้งในด้านการสร้างมูลค่า การปรับสมดุลทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการเสริมสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจในประเทศและภูมิภาคกระทรวงการคลังได้วางเป้าหมายยุทธศาสตร์ 3 ประการ ได้แก่

1. การลดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจและสังคม ด้วยการเพิ่มโอกาสทางเศรษฐกิจให้แก่คนฐานราก การสร้างระบบสวัสดิการพื้นฐานให้ทั่วถึงและมีคุณภาพ และการกระจายรายได้และการถือครองทรัพย์สินอย่างเป็นธรรม

2. การสนับสนุนศักยภาพและเพิ่มความสามารถการแข่งขัน ด้วยการสนับสนุนการจัดตั้งธุรกิจ การพัฒนาภาคเอกชนให้เกิดการสร้างมูลค่า การเชื่อมโยงธุรกิจเพื่อก้าวสู่เศรษฐกิจระดับภูมิภาคและระดับโลก และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน และ

3. การรักษาความยั่งยืนทางการคลัง ด้วยการเสริมสร้างความมั่นคงทางการคลัง การส่งเสริมความโปร่งใสในการดำเนินงานของภาครัฐ และการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของกระทรวงการคลัง

ในส่วนของความยั่งยืนทางการคลัง นายกิตติรัตน์ฯ กล่าวว่ากระทรวงการคลังวางแผนที่จะปรับฐานะทางการคลังให้เข้าสู่สมดุลภายในปี 2560 โดยในปีงบประมาณ 2556 จะขาดดุลการคลังที่ 3 แสนล้านบาท ต่ำกว่าปีงบประมาณ 2555 ซึ่งขาดดุลที่ 4 แสนล้านบาท

นอกจากนี้ ในส่วนของการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน นายกิตติรัตน์ฯ กล่าวว่าประเทศไทยจำเป็นต้องลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานเพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศได้ โดยล่าสุดสถาบันการจัดการนานาชาติ (International Institute for Management Development: IMD) ได้จัดอันดับโครงสร้างพื้นฐานของประเทศไทยที่ 49 จาก 59 ประเทศ และเวิลด์ อีโคโนมิก ฟอรั่ม (World Economic Forum: WEF) ได้จัดอันดับโครงสร้างพื้นฐานของประเทศไทยที่ 46 จาก 144 ประเทศ ในเรื่องนี้กระทรวงการคลังมีนโยบายที่จะออก พ.ร.บ.เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานมูลค่า 2.2 ล้านล้านบาท ซึ่งครอบคลุมการขนส่งทางบก ทางน้ำ ทางอากาศ พลังงาน การสื่อสาร และสาธารณูปการ


  • สรุปนโยบายของคณะรัฐมนตรีของ น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร

ที่จะแถลงต่อรัฐสภาในระหว่างวันที่ 23-24 ส.ค.2554 โดยแบ่งเป็นนโยบาย 8 ด้าน คือ 

1.นโยบายเร่งด่วนที่จะดำเนินการในปีแรก 

2.นโยบายความมั่นคงแห่งรัฐ 

3.นโยบายเศรษฐกิจ

4.นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต 

5.นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

6.นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีการวิจัย และนวัตกรรม 

7.นโยบายการต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ และ

8.นโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

   สำหรับนโยบายเร่งด่วนที่จะดำเนินการในปีแรก มี 16 เรื่อง ดังนี้ 

  1.สร้างความปรองดองสมานฉันท์ของคนในชาติและฟื้นฟูประชาธิปไตย ได้แก่ 

1.1 เสริมสร้างความเข้าใจร่วมกันของคนในชาติให้เกิดความสมัครสมานสามัคคีเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันและยึดมั่นใจการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

1.2 เยียวยาและฟื้นฟูอย่างต่อเนื่องแก่บุคคลทุกฝ่าย เช่น ประชาชน เจ้าหน้าที่รัฐ และผู้ประกอบการภาคเอกชน ที่ได้รับผลกระทบอันเนื่องมาจากความเห็นที่แตกต่างและความรุนแรงที่ก่อตัวขึ้นตั้งแต่ช่วงปลายของการใช้รัฐธรรมนูญปี 2540 

1.3 สนับสนุนให้คณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื่อการปรองดองแห่งชาติ(คอป.) ดำเนินการอย่างเป็นอิสระและได้ รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายอย่างเต็มที่ในการตรวจสอบและค้นหาความจริงจากกรณีความรุนแรงทางการเมือง การละเมิดสิทธิมนุษยชน การสูญเสียชีวิต บาดเจ็บทางร่างกายและจิตใจรวมทั้งความเสียหายทางทรัพย์สิน

2.กำหนดให้ การแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติดเป็น “วาระแห่งชาติ” 

3.ป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐอย่างจริงจัง 

4.ส่งเสริมให้มีการบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการและเร่งรัดขยายพื้นที่ชลประทาน 

5.เร่งนำสันติสุขและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนกลับมาสู่พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ 

6.เร่งฟื้นฟูความสัมพันธ์และพัฒนาความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านและนานาประเทศ 

7.แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนและผู้ประกอบการเนื่องจากภาวะเงินเฟ้อและราคาน้ำมันเชื้อเพลิง 

8.ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยเพิ่มกำลังซื้อภายในประเทศ สร้างสมดุลและความเข้มแข็งอย่างมีคุณภาพให้แก่ระบบเศรษฐกิจมหภาค 

9.ปรับลดภาษีเงินได้นิติบุคคล 

10.ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุน

11.ยกระดับราคาสินค้าเกษตรกรและให้เกษตรกรเข้าถึงแหล่งเงินทุน 

12.เร่งเพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยวทั้งในและนอกประเทศ โดยจะประกาศให้ปี 2554-55 เป็นปี“มหัศจรรย์ไทยแลนด์” Miracle Thailand Year 

13.สนับสนุนการพัฒนางานศิลปหัตถกรรมและผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อการสร้างเอกลักษณ์และการผลิตสินค้าในท้องถิ่น 

14.พัฒนาระบบประกันสุขภาพ

15.จัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์แท๊บเล็ตให้แก่โรงเรียน โดยเริ่มทดลองด าเนินการในโรงเรียนนำร่องสำหรับเด็กระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา พ.ศ.2554 

16.เร่งรัดและผลักดันการปฎิรูปการเมืองที่ประชาชนมีส่วนร่วมอย่างกว้างขวาง โดยมีสภาร่างรัฐธรรมนูญที่เป็นอิสระยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ โดยให้ประชาชนเห็นชอบผ่านการออกเสียงประชามติ.

  ส่วนนโยบายที่ต้องดำเนินการ 4 ปี มี 7 ข้อ คือ 

1.นโยบายความมั่นคง อาทิ เทิดทูนสถาบัน พัฒนากองทัพให้มีศักยภาพ 

2.นโยบายด้านเศรษฐกิจ แบ่งเป็นขยายเศรษฐกิจมหาภาค สร้างรายได้ ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจภาคอุตสาหกรรม และภาคเกษตร ส่งเสริมระบบมวลชนพื้นฐาน 

3. นโยบายปฏิรูปการศึกษา แรงงาน พัฒนาสุขภาพประชาชน 

4. นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 

5.นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและนวตกรรม 

6.นโยบายการต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ และ

7.นโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

หมายเหตุ - ส่วนหนึ่งของนโยบายด้านเศรษฐกิจของรัฐบาล น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ที่จะแถลงต่อรัฐสภา ในการประชุมรัฐสภา วันที่ 23 สิงหาคม 2554

นโยบายเศรษฐกิจมหภาค

  1.ดำเนินการให้มีการกระจายรายได้ที่เป็นธรรมให้แก่คนส่วนใหญ่ของประเทศ และให้เศรษฐกิจสามารถเจริญเติบโตในอัตราสูงอย่างมีเสถียรภาพ โดยด าเนินนโยบายเศรษฐกิจที่สนับสนุนการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม และก่อให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน มีการจ้างงานเต็มที่ ระดับราคามีเสถียรภาพ ระมัดระวังความเสี่ยงจากความผันผวนของการเคลื่อนย้ายเงินทุนระหว่างประเทศ 

  2.ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุนที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการที่หลากหลายได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม 

  3.พัฒนาระบบสถาบันการเงินในประเทศให้รับผิดชอบต่อคนส่วนใหญ่และผู้ด้อยโอกาส สามารถให้บริการที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของนวัตกรรมการเงินและความต้องการที่เปลี่ยนไปตามสภาวะเศรษฐกิจและสังคมด้วยค่าบริการที่ต่ำและการบริการที่มีประสิทธิภาพ

  4.ปรับโครงสร้างภาษีอากรทั้งระบบ เพื่อสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ สร้างความเป็นธรรมในสังคม ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างฐานรายได้ภาษีที่ยั่งยืนในระยะยาว รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้ทั้งจากภาษีและที่มิใช่ภาษี 

  5.ส่งเสริมและรักษาวินัยการคลัง โดยปรับปรุงองค์ประกอบและโครงสร้างงบประมาณให้เหมาะสม มีระบบบริหารความเสี่ยงทางการคลังที่มีประสิทธิภาพ 

  6.ปรับปรุงโครงสร้างของรัฐวิสาหกิจ โดยมุ่งเน้นประสิทธิภาพการให้บริการ การบริหารทรัพย์สินให้เกิดประโยชน์สูงสุด และเร่งฟื้นฟูรัฐวิสาหกิจที่มีปัญหาฐานะการเงิน 

  7.บริหารสินทรัพย์ของประเทศที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์และความมั่นคงทางเศรษฐกิจ รวมทั้งพิจารณาการจัดตั้งกองทุนที่สามารถใช้ในการบริหารสินทรัพย์ของชาติให้เป็นประโยชน์ เช่น กองทุนมั่งคั่งแห่งชาติ กองทุนน้ำมันเชื้อเพลิงสำรองแห่งชาติ และกองทุนความมั่นคงทางอาหาร เป็นต้น

นโยบายสร้างรายได้

  1.ส่งเสริมการท่องเที่ยวจากทั้งภายนอกและภายในประเทศ จัดให้มีการพัฒนาการท่องเที่ยวและแหล่งท่องเที่ยว ให้มีรายได้จากนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น 2 เท่าตัวในเวลา 5 ปี

  2.ขยายบทบาทให้ธุรกิจการเกษตรและอาหารซึ่งเป็นแหล่งรายได้และการจ้างงานในประเทศมาเป็นเวลานานให้ก้าวข้ามไปสู่การเป็นศูนย์กลางการผลิตและการค้าอาหารคุณภาพสูง เป็นที่ต้องการของผู้บริโภคที่มีฐานะและรสนิยมเฉพาะตัว การพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางตลาดซื้อขายล่วงหน้าสินค้าเกษตรและอาหาร จะทำให้เป้าหมายการเป็นครัวที่มีคุณภาพของโลกสัมฤทธิผลรวดเร็วยิ่งขึ้น

  3.ส่งเสริมและผลักดันให้อุตสาหกรรมพลังงานปิโตรเลียมและพลังงานทดแทนสามารถสร้างรายได้จากความต้องการภายในประเทศ รวมทั้งสร้างการจ้างงานให้แก่ประเทศโดยถือเป็นอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ใหม่

  4.ยกระดับความสามารถในการแข่งขันและขยายช่องทางการตลาดของธุรกิจอุตสาหกรรม ธุรกิจบริการในประเทศ และธุรกิจวิสาหกิจชุมชนให้เข้าสู่ระบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในการผลิตสินค้าและบริการที่มีคุณค่าและคุณภาพสูง

  5.ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการขยายการลงทุนไปประเทศเพื่อนบ้านซึ่งมีความพร้อมทางด้านแรงงานและวัตถุดิบเพื่อสร้างความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจให้แก่ประเทศและภูมิภาค

  6.ดึงดูดการลงทุนเข้าสู่ประเทศในสาขาที่เป็นการผลิตสินค้าและบริการที่มีพื้นฐานทางเทคโนโลยีมีมูลค่าสูง เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมถึงการลงทุนในการสร้างเมืองใหม่ในพื้นที่ที่เหมาะสมและโครงสร้างพื้นฐานสาธารณะ 

  7.เสริมสร้างกระบวนการสร้างอาชีพ สร้างงานที่มีคุณภาพและมีรายได้สูงให้แก่ประชาชนอย่างทั่วถึง 

  8.ส่งเสริมการขยายความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจการค้า การลงทุน และการเงิน ภายใต้ประโยชน์ร่วมกันของกรอบความร่วมมือและข้อตกลงทางการค้า

นโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ

ภาคเกษตร

  1.ส่งเสริมสนับสนุนให้สภาเกษตรกรแห่งชาติเป็นกลไกของเกษตรกรในการสื่อสารกับรัฐบาลและร่วมกันพัฒนาเกษตรกรด้วยตนเองตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย

  2.เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพืช โดยการวิจัยและพัฒนาสายพันธุ์ พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเพื่อให้ได้ผลผลิตสูง ต้ านทานต่อโรคและแมลงศัตรูพืช ใช้ ปุ๋ยตามคุณสมบัติของดินแต่ละชนิด เพื่อลดต้นทุนการผลิตและพัฒนาคุณภาพผลผลิต

  3.เพิ่มศักยภาพกระบวนการผลิตด้านปศุสัตว์ให้ได้มาตรฐาน ปลอดภัย เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพียงพอกับความต้องการภายในประเทศและการส่งออก 

  4.พัฒนาการประมง ทั้งในการเพาะเลี้ยงและในแหล่งน้ำธรรมชาติ โดยการฟื้นฟูทรัพยากรประมงและจัดระเบียบการท าประมงให้สมดุลกับศักยภาพการผลิตตามธรรมชาติ ขยายพื้นที่อนุรักษ์เพื่อการประมงทะเลพื้นบ้าน ส่งเสริมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเศรษฐกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม แสวงหาลู่ทางการทำประมงในน่านน้ำต่างประเทศที่ไม่ขัดต่อระเบียบขององค์การระหว่างประเทศและประเทศที่นำเข้า 

  5.เสริมสร้างฐานรากของครัวเรือนเกษตรกรให้เข้มแข็งโดยการเพิ่มประสิทธิภาพการเพาะปลูกลดต้นทุนการผลิต พัฒนาระบบการผลิตที่เป็นขั้นตอน 

  6.จัดทำระบบทะเบียนครัวเรือนเกษตรกรที่มีข้อมูลการเกษตรของครัวเรือนครบถ้วน สามารถเชื่อมโยงกับบัตรเครดิตส าหรับเกษตรกรและมีการปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่เสมอ

  7.เร่งรัดพัฒนาธุรกิจการเกษตร โดยการพัฒนาสถาบันเกษตรกรในด้านธุรกิจ สร้างเกษตรกรรุ่นใหม่จากโครงการกองทุนตั้งตัวได้

  8.พัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรมูลค่าเพิ่มเพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันในตลาดโลก

  9.ส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ ด าเนินการฟื้นฟูสภาพแวดล้อมสร้างความเข้มแข็งภาคเกษตรและสร้างความมั่นคงทางอาหารเพื่อเผชิญกับวิกฤตอาหารโลก 

ภาคอุตสาหกรรม

  1.ยกระดับความสามารถในการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรมในประเทศด้วยการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ลดต้นทุนของผู้ประกอบการ และยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล ตลอดจนส่งเสริมให้มีการสร้างตราสินค้าไทย

  2.ยกระดับภาคอุตสาหกรรมเข้าสู่อุตสาหกรรมสร้ างสรรค์ ที่ใช้ ปัญญา ใช้เทคโนโลยี และใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทดแทนอุตสาหกรรมที่ใช้ แรงงานเป็นหลัก

  3.พัฒนาและส่งเสริมอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปบนฐานความรู้  ความคิดสร้างสรรค์  ภูมิปัญญาท้องถิ่น และนวัตกรรมเพื่อเพิ่มมูลค่าและยกระดับสินค้าให้มีคุณภาพ มีความปลอดภัยตามมาตรฐานสากล และมีโอกาสในการขยายตลาด 

  4.สร้างความเข้มแข็งให้แก่วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยสนับสนุนช่องทางการเข้าถึงแหล่งสินเชื่อผ่านสถาบันการเงินต่างๆ 

  5.กำหนดมาตรฐานและคุณภาพขั้นพื้นฐานของสินค้าอุตสาหกรรมเมื่อมีการเปิดเสรีการค้ามากขึ้น เพื่อป้องกันสินค้านำเข้าที่ไม่ได้ คุณภาพ

  6.พัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรมแห่งใหม่ รวมทั้ งการพัฒนาสะพานเศรษฐกิจระหว่างฝั่งอันดามันและฝั่งอ่าวไทยสำหรับรองรับอุตสาหกรรมที่ไม่ก่อมลพิษและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน

  7.เร่งพัฒนาภาคอุตสาหกรรมให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความรับผิดชอบต่อสังคม และอยู่ร่วมกับชุมชนได้ 

  8.ส่งเสริมและจัดให้มีมาตรการทางภาษีและมาตรการอื่นที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิดการประหยัดพลังงาน การใช้พลังงานทดแทน และการใช้พลังงานจากภาคเกษตร 

  9.สนับสนุนให้ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมทุกสาขาการผลิตเข้าประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรม

  10.เร่งรัดสำรวจและแสวงหาแหล่งแร่สำคัญ เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ และพัฒนาอุตสาหกรรมต่อยอดเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มโดยให้ความสำคัญกับการกำกับดูแลผลกระทบสิ่งแวดล้อมและชุมชน

การตลาด การค้า และการลงทุน

  1.ส่งเสริมนโยบายการแข่งขันอย่างเสรีและเป็นธรรม เพื่อป้องกันการผูกขาดตัดตอน ส่งเสริมและพัฒนาบทบาทขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภคทั้งภาครัฐและเอกชน แก้ไขปรับปรุงกฎหมาย มาตรการต่างๆ เพื่อสร้างความเป็นธรรมให้แก่ผู้บริโภค 

  2.สร้างความเชื่อมั่นให้นักลงทุนทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยปรับปรุงพัฒนากฎหมายและกฎระเบียบที่ส่งเสริมการค้าการลงทุนที่ครอบคลุมการลงทุนด้านเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ และปรับปรุงมาตรการบริหารการน าเข้ าเพื่อป้องกันการค้ าที่ไม่เป็นธรรม 

  3.สนับสนุนการลงทุนในต่างประเทศในสาขาที่ผู้ประกอบการไทยมีศักยภาพ ส่งเสริมและสนับสนุนการเปิดร้านอาหารไทยของคนไทยตามนโยบายครัวไทยสู่ครัวโลก และนโยบายไทยเป็นครัวอาหารโลก

  4.ปรับปรุงมาตรการการส่งเสริมการลงทุนให้ครอบคลุมการให้สิทธิประโยชน์แก่ธุรกิจในภาคเกษตร อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว การกีฬา และบริการ 

  5.ส่งเสริมการขยายตลาดเชิงรุกเพื่อรักษาตลาดเดิมและสร้างตลาดใหม่ เพื่อลดการพึ่งพาการส่งออกไปตลาดหลัก โดยส่งเสริมการส่งออกสินค้าและบริการในตลาดใหม่ ได้แก่ จีน อินเดีย ตะวันออกกลาง แอฟริกา และยุโรปตะวันออก

  6.พัฒนาสินค้าและบริการที่สร้างโอกาสใหม่ในการหารายได้ การผลิตสินค้าและบริการอันเป็นที่ต้องการของผู้บริโภคในตลาดโลก 

  7.ขยายความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจการค้าการลงทุน และการตลาดภายใต้กรอบความร่วมมือและข้อตกลงการค้าเสรีในระบบพหุภาคีและทวิภาคี 

  8.เร่งรัดจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษบริเวณพื้นที่ที่มีศักยภาพ โดยให้ความส าคัญต่อจังหวัดชายแดน เพื่อส่งเสริมการค้า การตลาด การลงทุน การจ้างงาน และการใช้วัตถุดิบจากประเทศเพื่อนบ้าน


นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังนายทนุศักดิ์ เล็กอุทัย รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง นายวิรุฬ เตชะไพบูลย์รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง นายอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม ปลัดกระทรวงการคลังนายสมชัย สัจจพงษ์ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ในฐานะโฆษกกระทรวงการคลัง ร่วมด้วยผู้บริหารระดับสูงของกระทรวงการคลัง ได้ร่วมกันแถลงผลงานของกระทรวงการคลังตามนโยบายรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ในรอบ 1 ปี เมื่อวันที่ 10 กันยายน 2555 เวลา 12.00 น. ณ ห้องประชุม 401 กระทรวงการคลัง โดยมีสาระสำคัญ ดังนี้

นายกิตติรัตน์ฯ กล่าวว่า ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาเศรษฐกิจไทยได้เผชิญกับความท้าทายทางเศรษฐกิจในหลายด้าน ทั้งจากภาวะของเศรษฐกิจโลกที่เปราะบางจากปัญหาหนี้สาธารณะของยูโรโซนและผลกระทบจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ ซึ่งส่งผลให้เศรษฐกิจไทยในช่วงก่อนที่รัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงและอัตราเงินเฟ้อเริ่มปรับเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องรัฐบาลโดยกระทรวงการคลังจึงได้มีมาตรการเร่งด่วนเพื่อบรรเทาผลกระทบทางเศรษฐกิจดังกล่าวรัฐบาลได้เน้น 4 นโยบายหลักดังนี้
1. นโยบายแก้ไขปัญหาอุทกภัย เพื่อบรรเทา เยียวยา และป้องกันอุทกภัยในอนาคตโดยในระยะสั้น กระทรวงการคลังได้ขยายเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินดำเนินมาตรการช่วยเหลือทางการเงินผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจ มาตรการช่วยเหลือด้านภาษี รวมทั้งจัดตั้งกองทุนส่งเสริมประกันภัยพิบัติ และในระยะปานกลางถึงยาว กระทรวงการคลังได้สนับสนุนการลงทุนเพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้ำและสร้างอนาคตประเทศ 350,000 ล้านบาท
2. นโยบายลดรายจ่ายเพื่อบรรเทาภาระของประชาชนจากอัตราเงินเฟ้อที่สูงขึ้นในช่วงที่ผ่านมา ด้วยโครงการพักหนี้เกษตรกรรายย่อยและผู้มีรายได้น้อย การลดอัตราภาษีสรรพสามิตน้ำมันดีเซล การต่ออายุมาตรการค่าครองชีพ และบัตรเครดิตพลังงาน
3. นโยบายเพิ่มรายได้ เพื่อเสริมสร้างกำลังซื้อและความเป็นอยู่ของประชาชน ด้วยการปรับเพิ่มขึ้นค่าแรงขั้นต่ำเป็น 300 บาท/วัน และโครงการขึ้นเงินเดือนข้าราชการที่จบปริญญาตรีเป็น 15,000 บาท/เดือน และโครงการจำนำข้าวของ ธ.ก.ส. และ
4. นโยบายขยายโอกาส เพื่อเสริมสร้างศักยภาพของประชาชน ผู้ประกอบการ และประเทศ ด้วยการลดภาษีเงินได้นิติบุคคลจากร้อยละ 30 เป็นร้อยละ 23 ในปี 2555 และร้อยละ 20 ในปี 2556 โครงการรถคันแรก โครงการบ้านหลังแรก และกองทุนตั้งตัวได้

การดำเนินงานตาม 4 นโยบายดังกล่าว ได้ส่งผลให้เศรษฐกิจไทยกลับมาขยายตัวในอัตราที่สูงขึ้น และอัตราเงินเฟ้อปรับลดลงตามลำดับทั้งนี้ ในช่วงที่ผ่านมา รัฐบาลสามารถรักษาวินัยทางการคลังภายใต้กรอบความยั่งยืนทางการคลัง (สัดส่วนหนี้สาธารณะต่อจีดีพีต่ำกว่าร้อยละ 60) และสามารถสร้างกลไกการบริหารจัดการหนี้กองทุนฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินได้อย่างชัดเจน นายทนุศักดิ์ เล็กอุทัย ได้กล่าวถึงผลงานของกรมจัดเก็บและรัฐวิสาหกิจที่ตนกำกับว่า ในช่วง 1 ปีที่ผ่านมา สามารถดำเนินนโยบายของรัฐบาลได้ดีโดยในส่วนของการกระตุ้นการบริโภคภาคเอกชน จากข้อมูลล่าสุด โครงการบัตรสินเชื่อเกษตรกรที่ได้อนุมัติแล้วทั้งสิ้น 844,347 ราย มียอดเงินใช้จ่ายผ่านบัตรทั้งสิ้น 621 ล้านบาท การคงอัตราภาษีมูลค่าเพิ่มไว้ที่ร้อยละ 7 เป็นส่วนสำคัญที่ได้ช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจผ่านการบริโภคภาคเอกชน โครงการพักหนี้ลูกหนี้ที่มีหนี้ค้างชำระ มีผู้ได้รับอนุมัติ 428,415 ราย คิดเป็นมูลหนี้ 52,304 ล้านบาท โครงการพักหนี้ลูกหนี้ที่มีภาระปกติ มีผู้สนใจมาลงทะเบียน 2,468,367 ราย คิดเป็นมูลหนี้ 281,089 ล้านบาท และโครงการรถคันแรกมีผู้ขอใช้สิทธิ์ 169,861คัน คิดเป็นยอดขอคืนเงินภาษีจำนวน12,191ล้านบาท

ในส่วนของการกระตุ้นการลงทุนภาคเอกชน กระทรวงการคลังได้ปรับลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลจากร้อยละ 30 เป็นร้อยละ 23 ในปี 2555 และร้อยละ 20 ในปี 2556 อันเป็นการเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของภาคเอกชนเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี 2558 และโครงการบ้านหลังแรกมีผู้ใช้สิทธิ์ 9,600 ราย คิดเป็นมูลค่าภาษี 224 ล้านบาท

ในส่วนของการดูแลอัตราเงินเฟ้อ กระทรวงการคลังได้ขยายเวลาปรับลดอัตราภาษีสรรพสามิตน้ำมันดีเซลที่ 0.005 บาท/ลิตร ซึ่งสามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายของประชาชนและภาคธุรกิจในช่วงปีที่ผ่านมากว่า 108,000 ล้านบาทและในส่วนของการส่งเสริมการแข่งขันเสรี กระทรวงการคลังได้ดำเนินโครงการจัดตั้งการให้บริการระบบเชื่อมโยงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (National Single Window) เพื่ออำนวยความสะดวกในการค้าระหว่างประเทศ โดยคาดว่าจะสามารถเชื่อมโยงข้อมูลเสร็จสมบูรณ์ปลายปี 2556 และจะสามารถเชื่อมโยงระบบกับประเทศอาเซียนอื่นๆ ได้ในปี 2557

นอกจากนี้ กระทรวงการคลังได้ดำเนินโครงการ “รวมแรงไทย รักษาน้ำใสทุกคูคลอง” อันเป็นการสร้างความร่วมมือระหว่างภาคเอกชนเพื่อเสริมสร้างศักยภาพของชุมชนในการดูแลคูคลองของตนเอง และโครงการ “รัฐบาลพบประชาชน ทุนเพื่อคุณภาพชีวิต” เพื่อสร้างโอกาสให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งทุนและผลประโยชน์จากนโยบายของรัฐ

นายวิรุฬ เตซะไพบูลย์ ได้กล่าวถึงผลงานของหน่วยงานที่อยู่ในการกำกับดูแลใน 1 ปีที่ผ่านมา โดยแยกตามหน่วยงาน ดังนี้

กรมบัญชีกลางนอกจากแก้ไขปัญหาอุทกภัยด้วยการขยายวงเงินทดรองราชการ ในส่วนของนโยบายเพิ่มรายได้เพื่อกระตุ้นการบริโภคและส่งเสริมความเป็นอยู่ของประชาชน ยังได้ปรับค่าตอบแทนบุคลากรภาครัฐระดับปริญญาตรี 15,000 บาท และต่ำกว่าปริญญาตรี 9,000 บาทแล้วตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2555 อันเป็นการยกระดับรายได้และคุณภาพชีวิต และส่งผลต่อการกระตุ้นเศรษฐกิจโดยรวม นอกจากนี้ คณะผู้บริหารการคลังประจำจังหวัดและสถาบันการเงินเฉพาะกิจได้ร่วมกันติดตามการใช้จ่ายเงินที่ประหยัดได้จากโครงการพักหนี้เกษตรกรรายย่อยและผู้มีรายได้น้อยผ่านระบบฐานข้อมูลลูกหนี้ของกระทรวงการคลัง และพัฒนาต้นแบบการดำเนินธุรกิจ (Business Model) จากเงินที่ประหยัดได้ดังกล่าว

ในส่วนของกรมธนารักษ์ในช่วงเวลาที่รัฐบาลเข้ามาทำงานในช่วง 1 ปีที่ผ่านมา ได้มีโอกาสมหามงคลที่สำคัญถึง 3 วาระ ซึ่งกระทรวงการคลังโดยกรมธนารักษ์ได้จัดทำเหรียญกษาปณ์ที่ระลึกและเหรียญที่ระลึกเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2555 เหรียญกษาปณ์ที่ระลึกและเหรียญที่ระลึกเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 12 สิงหาคม 2555 และเหรียญกษาปณ์ที่ระลึกเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 28 กรกฎาคม 2555 เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติและจัดจำหน่ายจ่ายแลกให้ประชาชนทั่วไปเพื่อมีไว้เป็นที่ระลึก นอกจากนี้ กรมธนารักษ์ได้นำที่ราชพัสดุที่ไม่ได้มีการใช้ประโยชน์ให้ผู้มีรายได้น้อยเช่าเพื่ออยู่อาศัยและทำกิน ตามโครงการรัฐเอื้อราษฎร์ ซึ่งปีที่ผ่านมาสามารถจัดให้เช่าได้จำนวนกว่า 6,200 ราย ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายถึงเท่าตัว หรือคิดเป็นเนื้อที่กว่า 16,000 ไร่ และยังมีการนำที่ราชพัสดุไปสนับสนุนด้านพลังงานของประเทศ ด้วยการให้เกษตรกรเช่าทำการเกษตรและปลูกพืชทดแทน โดยในปีที่ผ่านมา ได้ดำเนินการแล้วกว่า 3,200 ราย ครอบคลุมเนื้อที่ 39,000 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 92 ของเป้าหมายนอกจากนี้ ยังได้นำที่ราชพัสดุให้เช่าเพื่อเป็นสถานีบริการก๊าซธรรมชาติ NGV โดยได้ดำเนินการแล้ว 1 แห่ง และจะดำเนินการอีก 3 แห่งภายในปีนี้ รวมไปถึงการกิจในการยกระดับความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตได้จัดให้เช่าที่ราชพัสดุเพื่อสร้างสนามกีฬา เช่น สนามบาสเกตบอลชุมชนในเขตพระโขนง เป็นต้น

สำหรับสถาบันการเงินเฉพาะกิจในปีที่ผ่านมาสนับสนุนนโยบายของภาครัฐในการแก้ไขปัญหาอุทกภัย ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ และขยายโอกาส กระทรวงการคลังได้มีมาตรการต่าง ๆ ในการส่งเสริมให้ประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้อย่างทั่วถึงและเพียงพอผ่านทางสถาบันการเงินเฉพาะกิจ โดยในช่วง 7 เดือนแรกของปี 2555 สถาบันการเงินเฉพาะกิจได้อนุมัติสินเชื่ออยู่ในเกณฑ์ดีและสูงกว่าเป้าหมาย โดยอนุมัติสินเชื่อรายใหม่กว่า 6 ล้านราย คิดเป็นเงินจำนวน 1.17 ล้านล้านบาท อีกทั้ง  ในรอบปีที่ผ่านมา สถาบันการเงินเฉพาะกิจยังได้มีส่วนในการ (1) ยกระดับขีดความสามารถของประเทศ ผ่านมาตรการด้านสินเชื่อเพื่อเพิ่มขีดความสามารถของ SMEs ในวงเงิน 54,000 ล้านบาท (2) ยกระดับความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตประชาชน ผ่านทางโครงการต่างๆของภาครัฐ เช่น โครงการบ้านธนาคารอาคารสงเคราะห์เพื่อที่อยู่อาศัยแห่งแรกร้อยละ 0 เป็นระยะเวลา 3 ปี โครงการยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชนและชุมชนในพื้นที่พิเศษ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ และมาตรการช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยปี 2554 เป็นต้น และ (3) พัฒนาระบบตลาดการเงินไทย ผ่านทางโครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ตราสารหนี้เพื่อการระดมเงินจากตลาดทุน
ในส่วนของภาคการประกันภัย การจัดตั้งกองทุนส่งเสริมการประกันภัยพิบัติในวงเงิน 50,000 ล้านบาท ซึ่งประสบความสำเร็จในการฟื้นฟูระบบประกันวินาศภัยและสร้างความเชื่อมั่นให้ผู้รับประกันภัย และผลักดันให้เบี้ยประกันภัยพิบัติลดลงอย่างต่อเนื่อง ถือเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายแก้ไขปัญหาอุทกภัยของภาครัฐ ในด้านการขยายโอกาสและยกระดับคุณภาพชีวิต นับตั้งแต่ วันที่ 1 สิงหาคม 2555 ได้มีการนำระบบการจ่ายค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินกรณีประสบภัยจากรถผ่านระบบออนไลน์ (E-Claim) ทำให้ประชาชนสามารถเข้ารับการรักษาพยาบาลจากสถานพยาบาลทุกแห่งทั่วประเทศ โดยไม่ต้องสำรองค่ารักษาพยาบาลไปก่อน สุดท้ายเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตโดยลดอุบัติเหตุทางรถ ได้ส่งเสริมให้มีการจัดทำกรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์ปลอดแอลกอฮอล์ขึ้นซึ่งมีเบี้ยประกันลดจากอัตราปกติร้อยละ 10 เพื่อเป็นรางวัลให้ผู้ขับขี่ที่ไม่ดื่มแอลกอฮอล์ ซึ่งจะเป็นทางเลือกใหม่ให้กับประชาชนที่ไม่ดื่มสุรา และจะนำไปสู่การลดความเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุทางรถในที่สุด
นายกิตติรัตน์ฯ กล่าวว่า ในระยะต่อไป เพื่อรองรับกระบวนทัศน์ใหม่ของการพัฒนาประเทศ ทั้งในด้านการสร้างมูลค่า การปรับสมดุลทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการเสริมสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจในประเทศและภูมิภาคกระทรวงการคลังได้วางเป้าหมายยุทธศาสตร์ 3 ประการ ได้แก่
1. การลดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจและสังคม ด้วยการเพิ่มโอกาสทางเศรษฐกิจให้แก่คนฐานราก การสร้างระบบสวัสดิการพื้นฐานให้ทั่วถึงและมีคุณภาพ และการกระจายรายได้และการถือครองทรัพย์สินอย่างเป็นธรรม
2. การสนับสนุนศักยภาพและเพิ่มความสามารถการแข่งขัน ด้วยการสนับสนุนการจัดตั้งธุรกิจ การพัฒนาภาคเอกชนให้เกิดการสร้างมูลค่า การเชื่อมโยงธุรกิจเพื่อก้าวสู่เศรษฐกิจระดับภูมิภาคและระดับโลก และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน และ
3. การรักษาความยั่งยืนทางการคลัง ด้วยการเสริมสร้างความมั่นคงทางการคลัง การส่งเสริมความโปร่งใสในการดำเนินงานของภาครัฐ และการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของกระทรวงการคลัง
ในส่วนของความยั่งยืนทางการคลัง นายกิตติรัตน์ฯ กล่าวว่า กระทรวงการคลังวางแผนที่จะปรับฐานะทางการคลังให้เข้าสู่สมดุลภายในปี 2560 โดยในปีงบประมาณ 2556 จะขาดดุลการคลังที่ 3 แสนล้านบาท ต่ำกว่าปีงบประมาณ 2555 ซึ่งขาดดุลที่ 4 แสนล้านบาท
นอกจากนี้ ในส่วนของการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง กล่าวว่าประเทศไทยจำเป็นต้องลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานเพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศได้ โดยล่าสุดสถาบันการจัดการนานาชาติ (International Institute for Management Development: IMD) ได้จัดอันดับโครงสร้างพื้นฐานของประเทศไทยที่ 49 จาก 59 ประเทศ และเวิลด์ อีโคโนมิก ฟอรั่ม (World Economic Forum: WEF) ได้จัดอันดับโครงสร้างพื้นฐานของประเทศไทยที่ 46 จาก 144 ประเทศ ในเรื่องนี้ กระทรวงการคลังมีนโยบายที่จะออก พ.ร.บ.เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานมูลค่า 2.2 ล้านล้านบาท ซึ่งครอบคลุมการขนส่งทางบก ทางน้ำ ทางอากาศ พลังงาน การสื่อสาร และสาธารณูปการ

การแถลงผลงานของกระทรวงการคลังตามนโยบายรัฐบาลในรอบ 1 ปี

ข่าวเศรษฐกิจ กระทรวงการคลัง -- อังคารที่ 11 กันยายน 2555 08:55:14 น.

นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง นายทนุศักดิ์ เล็กอุทัย รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง นายวิรุฬ เตชะไพบูลย์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง นายอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม ปลัดกระทรวงการคลัง นายสมชัย สัจจพงษ์ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ในฐานะโฆษกกระทรวงการคลัง ร่วมด้วยผู้บริหารระดับสูงของกระทรวงการคลัง ได้ร่วมกันแถลงผลงานของกระทรวงการคลังตามนโยบายรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ในรอบ 1 ปี เมื่อวันที่ 10 กันยายน 2555 เวลา 12.00 น. ณ ห้องประชุม 401 กระทรวงการคลัง โดยมีสาระสำคัญ ดังนี้

นายกิตติรัตน์ฯ กล่าวว่า ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาเศรษฐกิจไทยได้เผชิญกับความท้าทายทางเศรษฐกิจในหลายด้าน ทั้งจากภาวะของเศรษฐกิจโลกที่เปราะบางจากปัญหาหนี้สาธารณะของยูโรโซนและผลกระทบจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ ซึ่งส่งผลให้เศรษฐกิจไทยในช่วงก่อนที่รัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงและอัตราเงินเฟ้อเริ่มปรับเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องรัฐบาลโดยกระทรวงการคลังจึงได้มีมาตรการเร่งด่วนเพื่อบรรเทาผลกระทบทางเศรษฐกิจดังกล่าวรัฐบาลได้เน้น 4 นโยบายหลักดังนี้

1. นโยบายแก้ไขปัญหาอุทกภัย เพื่อบรรเทา เยียวยา และป้องกันอุทกภัยในอนาคตโดยในระยะสั้น กระทรวงการคลังได้ขยายเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินดำเนินมาตรการช่วยเหลือทางการเงินผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจ มาตรการช่วยเหลือด้านภาษี รวมทั้งจัดตั้งกองทุนส่งเสริมประกันภัยพิบัติ และในระยะปานกลางถึงยาว กระทรวงการคลังได้สนับสนุนการลงทุนเพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้ำและสร้างอนาคตประเทศ 350,000 ล้านบาท

2. นโยบายลดรายจ่ายเพื่อบรรเทาภาระของประชาชนจากอัตราเงินเฟ้อที่สูงขึ้นในช่วงที่ผ่านมา ด้วยโครงการพักหนี้เกษตรกรรายย่อยและผู้มีรายได้น้อย การลดอัตราภาษีสรรพสามิตน้ำมันดีเซล การต่ออายุมาตรการค่าครองชีพ และบัตรเครดิตพลังงาน

3. นโยบายเพิ่มรายได้ เพื่อเสริมสร้างกำลังซื้อและความเป็นอยู่ของประชาชน ด้วยการปรับเพิ่มขึ้นค่าแรงขั้นต่ำเป็น 300 บาท/วัน และโครงการขึ้นเงินเดือนข้าราชการที่จบปริญญาตรีเป็น 15,000 บาท/เดือน และโครงการจำนำข้าวของ ธ.ก.ส. และ

4. นโยบายขยายโอกาส เพื่อเสริมสร้างศักยภาพของประชาชน ผู้ประกอบการ และประเทศ ด้วยการลดภาษีเงินได้นิติบุคคลจากร้อยละ 30 เป็นร้อยละ 23 ในปี 2555 และร้อยละ 20 ในปี 2556 โครงการรถคันแรก โครงการบ้านหลังแรก และกองทุนตั้งตัวได้

นายกิตติรัตน์ฯ กล่าวว่า ในระยะต่อไป เพื่อรองรับกระบวนทัศน์ใหม่ของการพัฒนาประเทศ ทั้งในด้านการสร้างมูลค่า การปรับสมดุลทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการเสริมสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจในประเทศและภูมิภาค กระทรวงการคลังได้วางเป้าหมายยุทธศาสตร์ 3 ประการ ได้แก่

1. การลดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจและสังคม ด้วยการเพิ่มโอกาสทางเศรษฐกิจให้แก่คนฐานราก การสร้างระบบสวัสดิการพื้นฐานให้ทั่วถึงและมีคุณภาพ และการกระจายรายได้และการถือครองทรัพย์สินอย่างเป็นธรรม

2. การสนับสนุนศักยภาพและเพิ่มความสามารถการแข่งขัน ด้วยการสนับสนุนการจัดตั้งธุรกิจ การพัฒนาภาคเอกชนให้เกิดการสร้างมูลค่า การเชื่อมโยงธุรกิจเพื่อก้าวสู่เศรษฐกิจระดับภูมิภาคและระดับโลก และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน และ

3. การรักษาความยั่งยืนทางการคลัง ด้วยการเสริมสร้างความมั่นคงทางการคลัง การส่งเสริมความโปร่งใสในการดำเนินงานของภาครัฐ และการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของกระทรวงการคลัง

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร

แถลงต่อรัฐสภา วันอังคารที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๔

๑. นโยบายเร่งด่วนที่จะดำเนินการในปีแรก

๒. นโยบายความมั่นคงแห่งรัฐ

๓. นโยบายเศรษฐกิจ

๔. นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต

๕. นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

๖. นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัย และนวัตกรรม

๗. นโยบายการต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ

๘. นโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

ส่วนหนึ่งของนโยบายด้านเศรษฐกิจของรัฐบาล น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ที่จะแถลงต่อรัฐสภา ในการประชุมรัฐสภา วันที่ 23 สิงหาคม 2554

นโยบายเศรษฐกิจมหภาค

1.ดำเนินการให้มีการกระจายรายได้ที่เป็นธรรมให้แก่คนส่วนใหญ่ของประเทศ และให้เศรษฐกิจสามารถเจริญเติบโตในอัตราสูงอย่างมีเสถียรภาพ โดยดำเนินนโยบายเศรษฐกิจที่สนับสนุนการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม และก่อให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน มีการจ้างงานเต็มที่ ระดับราคามีเสถียรภาพ ระมัดระวังความเสี่ยงจากความผันผวนของการเคลื่อนย้ายเงินทุนระหว่างประเทศ

2.ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุนที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการที่หลากหลายได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม

3.พัฒนาระบบสถาบันการเงินในประเทศให้รับผิดชอบต่อคนส่วนใหญ่และผู้ด้อยโอกาส สามารถให้บริการที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของนวัตกรรมการเงินและความต้องการที่เปลี่ยนไปตามสภาวะเศรษฐกิจและสังคมด้วยค่าบริการที่ต่ำและการบริการที่มีประสิทธิภาพ

4.ปรับโครงสร้างภาษีอากรทั้งระบบ เพื่อสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ สร้างความเป็นธรรมในสังคม ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างฐานรายได้ภาษีที่ยั่งยืนในระยะยาว รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้ทั้งจากภาษีและที่มิใช่ภาษี

5.ส่งเสริมและรักษาวินัยการคลัง โดยปรับปรุงองค์ประกอบและโครงสร้างงบประมาณให้เหมาะสม มีระบบบริหารความเสี่ยงทางการคลังที่มีประสิทธิภาพ

6.ปรับปรุงโครงสร้างของรัฐวิสาหกิจ โดยมุ่งเน้นประสิทธิภาพการให้บริการ การบริหารทรัพย์สินให้เกิดประโยชน์สูงสุด และเร่งฟื้นฟูรัฐวิสาหกิจที่มีปัญหาฐานะการเงิน

7.บริหารสินทรัพย์ของประเทศที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์และความมั่นคงทางเศรษฐกิจ รวมทั้งพิจารณาการจัดตั้งกองทุนที่สามารถใช้ในการบริหารสินทรัพย์ของชาติให้เป็นประโยชน์ เช่น กองทุนมั่งคั่งแห่งชาติ กองทุนน้ำมันเชื้อเพลิงสำรองแห่งชาติ และกองทุนความมั่นคงทางอาหาร เป็นต้น

นโยบายสร้างรายได้

1.ส่งเสริมการท่องเที่ยวจากทั้งภายนอกและภายในประเทศ จัดให้มีการพัฒนาการท่องเที่ยวและแหล่งท่องเที่ยว ให้มีรายได้จากนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น 2 เท่าตัวในเวลา 5 ปี

2.ขยายบทบาทให้ธุรกิจการเกษตรและอาหารซึ่งเป็นแหล่งรายได้และการจ้างงานในประเทศมาเป็นเวลานานให้ก้าวข้ามไปสู่การเป็นศูนย์กลางการผลิตและการค้าอาหารคุณภาพสูง เป็นที่ต้องการของผู้บริโภคที่มีฐานะและรสนิยมเฉพาะตัว การพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางตลาดซื้อขายล่วงหน้าสินค้าเกษตรและอาหาร จะทำให้เป้าหมายการเป็นครัวที่มีคุณภาพของโลกสัมฤทธิผลรวดเร็วยิ่งขึ้น

3.ส่งเสริมและผลักดันให้อุตสาหกรรมพลังงานปิโตรเลียมและพลังงานทดแทนสามารถสร้างรายได้จากความต้องการภายในประเทศ รวมทั้งสร้างการจ้างงานให้แก่ประเทศโดยถือเป็นอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ใหม่

4.ยกระดับความสามารถในการแข่งขันและขยายช่องทางการตลาดของธุรกิจอุตสาหกรรม ธุรกิจบริการในประเทศ และธุรกิจวิสาหกิจชุมชนให้เข้าสู่ระบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในการผลิตสินค้าและบริการที่มีคุณค่าและคุณภาพสูง

5.ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการขยายการลงทุนไปประเทศเพื่อนบ้านซึ่งมีความพร้อมทางด้านแรงงานและวัตถุดิบเพื่อสร้างความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจให้แก่ประเทศและภูมิภาค

6.ดึงดูดการลงทุนเข้าสู่ประเทศในสาขาที่เป็นการผลิตสินค้าและบริการที่มีพื้นฐานทางเทคโนโลยีมีมูลค่าสูง เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมถึงการลงทุนในการสร้างเมืองใหม่ในพื้นที่ที่เหมาะสม และโครงสร้างพื้นฐานสาธารณะ

7.เสริมสร้างกระบวนการสร้างอาชีพ สร้างงานที่มีคุณภาพและมีรายได้สูงให้แก่ประชาชนอย่างทั่วถึง

8.ส่งเสริมการขยายความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจการค้า การลงทุน และการเงิน ภายใต้ประโยชน์ร่วมกันของกรอบความร่วมมือและข้อตกลงทางการค้า

นโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ

ภาคเกษตร

1.ส่งเสริมสนับสนุนให้สภาเกษตรกรแห่งชาติเป็นกลไกของเกษตรกรในการสื่อสารกับรัฐบาลและร่วมกันพัฒนาเกษตรกรด้วยตนเองตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย

2.เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพืช โดยการวิจัยและพัฒนาสายพันธุ์ พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเพื่อให้ได้ผลผลิตสูง ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูพืช ใช้ปุ๋ยตามคุณสมบัติของดินแต่ละชนิด เพื่อลดต้นทุนการผลิตและพัฒนาคุณภาพผลผลิต

3.เพิ่มศักยภาพกระบวนการผลิตด้านปศุสัตว์ให้ได้มาตรฐาน ปลอดภัย เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพียงพอกับความต้องการภายในประเทศและการส่งออก

4.พัฒนาการประมง ทั้งในการเพาะเลี้ยงและในแหล่งน้ำธรรมชาติ โดยการฟื้นฟูทรัพยากรประมงและจัดระเบียบการทำประมงให้สมดุลกับศักยภาพการผลิตตามธรรมชาติ ขยายพื้นที่อนุรักษ์เพื่อการประมงทะเลพื้นบ้าน ส่งเสริมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเศรษฐกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม แสวงหาลู่ทางการทำประมงในน่านน้ำต่างประเทศที่ไม่ขัดต่อระเบียบขององค์การระหว่างประเทศและประเทศที่นำเข้า

5.เสริมสร้างฐานรากของครัวเรือนเกษตรกรให้เข้มแข็งโดยการเพิ่มประสิทธิภาพการเพาะปลูก ลดต้นทุนการผลิต พัฒนาระบบการผลิตที่เป็นขั้นตอน

6.จัดทำระบบทะเบียนครัวเรือนเกษตรกรที่มีข้อมูลการเกษตรของครัวเรือนครบถ้วน สามารถเชื่อมโยงกับบัตรเครดิตสำหรับเกษตรกรและมีการปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่เสมอ

7.เร่งรัดพัฒนาธุรกิจการเกษตร โดยการพัฒนาสถาบันเกษตรกรในด้านธุรกิจ สร้างเกษตรกรรุ่นใหม่จากโครงการกองทุนตั้งตัวได้

8.พัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรมูลค่าเพิ่มเพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันในตลาดโลก

9.ส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ ดำเนินการฟื้นฟูสภาพแวดล้อม สร้างความเข้มแข็งภาคเกษตรและสร้างความมั่นคงทางอาหารเพื่อเผชิญกับวิกฤตอาหารโลก

ภาคอุตสาหกรรม

1.ยกระดับความสามารถในการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรมในประเทศด้วยการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ลดต้นทุนของผู้ประกอบการ และยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล ตลอดจนส่งเสริมให้มีการสร้างตราสินค้าไทย

2.ยกระดับภาคอุตสาหกรรมเข้าสู่อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ที่ใช้ปัญญา ใช้เทคโนโลยี และใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทดแทนอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเป็นหลัก

3.พัฒนาและส่งเสริมอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปบนฐานความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และนวัตกรรมเพื่อเพิ่มมูลค่าและยกระดับสินค้าให้มีคุณภาพ มีความปลอดภัยตามมาตรฐานสากล และมีโอกาสในการขยายตลาด

4.สร้างความเข้มแข็งให้แก่วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยสนับสนุนช่องทางการเข้าถึงแหล่งสินเชื่อผ่านสถาบันการเงินต่างๆ

5.กำหนดมาตรฐานและคุณภาพขั้นพื้นฐานของสินค้าอุตสาหกรรมเมื่อมีการเปิดเสรีการค้ามากขึ้น เพื่อป้องกันสินค้านำเข้าที่ไม่ได้คุณภาพ

6.พัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรมแห่งใหม่ รวมทั้งการพัฒนาสะพานเศรษฐกิจระหว่างฝั่งอันดามันและฝั่งอ่าวไทยสำหรับรองรับอุตสาหกรรมที่ไม่ก่อมลพิษและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน

7.เร่งพัฒนาภาคอุตสาหกรรมให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความรับผิดชอบต่อสังคม และอยู่ร่วมกับชุมชนได้

8.ส่งเสริมและจัดให้มีมาตรการทางภาษีและมาตรการอื่นที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิดการประหยัดพลังงาน การใช้พลังงานทดแทน และการใช้พลังงานจากภาคเกษตร

9.สนับสนุนให้ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมทุกสาขาการผลิตเข้าประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรม

10.เร่งรัดสำรวจและแสวงหาแหล่งแร่สำคัญ เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ และพัฒนาอุตสาหกรรมต่อยอดเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มโดยให้ความสำคัญกับการกำกับดูแลผลกระทบสิ่งแวดล้อมและชุมชน

การตลาด การค้า และการลงทุน

1.ส่งเสริมนโยบายการแข่งขันอย่างเสรีและเป็นธรรม เพื่อป้องกันการผูกขาดตัดตอน ส่งเสริมและพัฒนาบทบาทขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภคทั้งภาครัฐและเอกชน แก้ไขปรับปรุงกฎหมาย มาตรการต่างๆ เพื่อสร้างความเป็นธรรมให้แก่ผู้บริโภค

2.สร้างความเชื่อมั่นให้นักลงทุนทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยปรับปรุงพัฒนากฎหมายและกฎระเบียบที่ส่งเสริมการค้าการลงทุนที่ครอบคลุมการลงทุนด้านเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ และปรับปรุงมาตรการบริหารการนำเข้าเพื่อป้องกันการค้าที่ไม่เป็นธรรม

3.สนับสนุนการลงทุนในต่างประเทศในสาขาที่ผู้ประกอบการไทยมีศักยภาพ ส่งเสริมและสนับสนุนการเปิดร้านอาหารไทยของคนไทยตามนโยบายครัวไทยสู่ครัวโลก และนโยบายไทยเป็นครัวอาหารโลก

4.ปรับปรุงมาตรการการส่งเสริมการลงทุนให้ครอบคลุมการให้สิทธิประโยชน์แก่ธุรกิจในภาคเกษตร อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว การกีฬา และบริการ

5.ส่งเสริมการขยายตลาดเชิงรุกเพื่อรักษาตลาดเดิมและสร้างตลาดใหม่ เพื่อลดการพึ่งพาการส่งออกไปตลาดหลัก โดยส่งเสริมการส่งออกสินค้าและบริการในตลาดใหม่ ได้แก่ จีน อินเดีย ตะวันออกกลาง แอฟริกา และยุโรปตะวันออก

6.พัฒนาสินค้าและบริการที่สร้างโอกาสใหม่ในการหารายได้ การผลิตสินค้าและบริการอันเป็นที่ต้องการของผู้บริโภคในตลาดโลก

7.ขยายความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจการค้าการลงทุน และการตลาดภายใต้กรอบความร่วมมือและข้อตกลงการค้าเสรีในระบบพหุภาคีและทวิภาคี

8.เร่งรัดจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษบริเวณพื้นที่ที่มีศักยภาพ โดยให้ความสำคัญต่อจังหวัดชายแดน เพื่อส่งเสริมการค้า การตลาด การลงทุน การจ้างงาน และการใช้วัตถุดิบจากประเทศเพื่อนบ้าน


  นโยบายนายกยิ่งลักษณ์  ชินวัตร

นโยบายเศรษฐกิจมหภาค

1.ดำเนินการให้มีการกระจายรายได้ที่เป็นธรรมให้แก่คนส่วนใหญ่ของประเทศ และให้เศรษฐกิจสามารถเจริญเติบโตในอัตราสูงอย่างมีเสถียรภาพ โดยดำเนินนโยบายเศรษฐกิจที่สนับสนุนการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม และก่อให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน มีการจ้างงานเต็มที่ ระดับราคามีเสถียรภาพ ระมัดระวังความเสี่ยงจากความผันผวนของการเคลื่อนย้ายเงินทุนระหว่างประเทศ

2.ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุนที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการที่หลากหลายได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม

3.พัฒนาระบบสถาบันการเงินในประเทศให้รับผิดชอบต่อคนส่วนใหญ่และผู้ด้อยโอกาส สามารถให้บริการที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของนวัตกรรมการเงินและความต้องการที่เปลี่ยนไปตามสภาวะเศรษฐกิจและสังคมด้วยค่าบริการที่ต่ำและการบริการที่มีประสิทธิภาพ

4.ปรับโครงสร้างภาษีอากรทั้งระบบ เพื่อสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ สร้างความเป็นธรรมในสังคม ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างฐานรายได้ภาษีที่ยั่งยืนในระยะยาว รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้ทั้งจากภาษีและที่มิใช่ภาษี

5.ส่งเสริมและรักษาวินัยการคลัง โดยปรับปรุงองค์ประกอบและโครงสร้างงบประมาณให้เหมาะสม มีระบบบริหารความเสี่ยงทางการคลังที่มีประสิทธิภาพ

6.ปรับปรุงโครงสร้างของรัฐวิสาหกิจ โดยมุ่งเน้นประสิทธิภาพการให้บริการ การบริหารทรัพย์สินให้เกิดประโยชน์สูงสุด และเร่งฟื้นฟูรัฐวิสาหกิจที่มีปัญหาฐานะการเงิน

7.บริหารสินทรัพย์ของประเทศที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์และความมั่นคงทางเศรษฐกิจ รวมทั้งพิจารณาการจัดตั้งกองทุนที่สามารถใช้ในการบริหารสินทรัพย์ของชาติให้เป็นประโยชน์ เช่น กองทุนมั่งคั่งแห่งชาติ กองทุนน้ำมันเชื้อเพลิงสำรองแห่งชาติ และกองทุนความมั่นคงทางอาหาร เป็นต้น

นโยบายสร้างรายได้

1.ส่งเสริมการท่องเที่ยวจากทั้งภายนอกและภายในประเทศ จัดให้มีการพัฒนาการท่องเที่ยวและแหล่งท่องเที่ยว ให้มีรายได้จากนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น 2 เท่าตัวในเวลา 5 ปี

2.ขยายบทบาทให้ธุรกิจการเกษตรและอาหารซึ่งเป็นแหล่งรายได้และการจ้างงานในประเทศมาเป็นเวลานานให้ก้าวข้ามไปสู่การเป็นศูนย์กลางการผลิตและการค้าอาหารคุณภาพสูง เป็นที่ต้องการของผู้บริโภคที่มีฐานะและรสนิยมเฉพาะตัว การพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางตลาดซื้อขายล่วงหน้าสินค้าเกษตรและอาหาร จะทำให้เป้าหมายการเป็นครัวที่มีคุณภาพของโลกสัมฤทธิผลรวดเร็วยิ่งขึ้น

3.ส่งเสริมและผลักดันให้อุตสาหกรรมพลังงานปิโตรเลียมและพลังงานทดแทนสามารถสร้างรายได้จากความต้องการภายในประเทศ รวมทั้งสร้างการจ้างงานให้แก่ประเทศโดยถือเป็นอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ใหม่

4.ยกระดับความสามารถในการแข่งขันและขยายช่องทางการตลาดของธุรกิจอุตสาหกรรม ธุรกิจบริการในประเทศ และธุรกิจวิสาหกิจชุมชนให้เข้าสู่ระบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในการผลิตสินค้าและบริการที่มีคุณค่าและคุณภาพสูง

5.ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการขยายการลงทุนไปประเทศเพื่อนบ้านซึ่งมีความพร้อมทางด้านแรงงานและวัตถุดิบเพื่อสร้างความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจให้แก่ประเทศและภูมิภาค

6.ดึงดูดการลงทุนเข้าสู่ประเทศในสาขาที่เป็นการผลิตสินค้าและบริการที่มีพื้นฐานทางเทคโนโลยีมีมูลค่าสูง เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมถึงการลงทุนในการสร้างเมืองใหม่ในพื้นที่ที่เหมาะสม และโครงสร้างพื้นฐานสาธารณะ

7.เสริมสร้างกระบวนการสร้างอาชีพ สร้างงานที่มีคุณภาพและมีรายได้สูงให้แก่ประชาชนอย่างทั่วถึง

8.ส่งเสริมการขยายความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจการค้า การลงทุน และการเงิน ภายใต้ประโยชน์ร่วมกันของกรอบความร่วมมือและข้อตกลงทางการค้า

นโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ

ภาคเกษตร

1.ส่งเสริมสนับสนุนให้สภาเกษตรกรแห่งชาติเป็นกลไกของเกษตรกรในการสื่อสารกับรัฐบาลและร่วมกันพัฒนาเกษตรกรด้วยตนเองตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย

2.เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพืช โดยการวิจัยและพัฒนาสายพันธุ์ พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเพื่อให้ได้ผลผลิตสูง ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูพืช ใช้ปุ๋ยตามคุณสมบัติของดินแต่ละชนิด เพื่อลดต้นทุนการผลิตและพัฒนาคุณภาพผลผลิต

3.เพิ่มศักยภาพกระบวนการผลิตด้านปศุสัตว์ให้ได้มาตรฐาน ปลอดภัย เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพียงพอกับความต้องการภายในประเทศและการส่งออก

4.พัฒนาการประมง ทั้งในการเพาะเลี้ยงและในแหล่งน้ำธรรมชาติ โดยการฟื้นฟูทรัพยากรประมงและจัดระเบียบการทำประมงให้สมดุลกับศักยภาพการผลิตตามธรรมชาติ ขยายพื้นที่อนุรักษ์เพื่อการประมงทะเลพื้นบ้าน ส่งเสริมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเศรษฐกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม แสวงหาลู่ทางการทำประมงในน่านน้ำต่างประเทศที่ไม่ขัดต่อระเบียบขององค์การระหว่างประเทศและประเทศที่นำเข้า

 

5.เสริมสร้างฐานรากของครัวเรือนเกษตรกรให้เข้มแข็งโดยการเพิ่มประสิทธิภาพการเพาะปลูก ลดต้นทุนการผลิต พัฒนาระบบการผลิตที่เป็นขั้นตอน

6.จัดทำระบบทะเบียนครัวเรือนเกษตรกรที่มีข้อมูลการเกษตรของครัวเรือนครบถ้วน สามารถเชื่อมโยงกับบัตรเครดิตสำหรับเกษตรกรและมีการปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่เสมอ

7.เร่งรัดพัฒนาธุรกิจการเกษตร โดยการพัฒนาสถาบันเกษตรกรในด้านธุรกิจ สร้างเกษตรกรรุ่นใหม่จากโครงการกองทุนตั้งตัวได้

8.พัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรมูลค่าเพิ่มเพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันในตลาดโลก

9.ส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ ดำเนินการฟื้นฟูสภาพแวดล้อม สร้างความเข้มแข็งภาคเกษตรและสร้างความมั่นคงทางอาหารเพื่อเผชิญกับวิกฤตอาหารโลก

ภาคอุตสาหกรรม

1.ยกระดับความสามารถในการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรมในประเทศด้วยการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ลดต้นทุนของผู้ประกอบการ และยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล ตลอดจนส่งเสริมให้มีการสร้างตราสินค้าไทย

2.ยกระดับภาคอุตสาหกรรมเข้าสู่อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ที่ใช้ปัญญา ใช้เทคโนโลยี และใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทดแทนอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเป็นหลัก

3.พัฒนาและส่งเสริมอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปบนฐานความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และนวัตกรรมเพื่อเพิ่มมูลค่าและยกระดับสินค้าให้มีคุณภาพ มีความปลอดภัยตามมาตรฐานสากล และมีโอกาสในการขยายตลาด

4.สร้างความเข้มแข็งให้แก่วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยสนับสนุนช่องทางการเข้าถึงแหล่งสินเชื่อผ่านสถาบันการเงินต่างๆ

5.กำหนดมาตรฐานและคุณภาพขั้นพื้นฐานของสินค้าอุตสาหกรรมเมื่อมีการเปิดเสรีการค้ามากขึ้น เพื่อป้องกันสินค้านำเข้าที่ไม่ได้คุณภาพ

6.พัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรมแห่งใหม่ รวมทั้งการพัฒนาสะพานเศรษฐกิจระหว่างฝั่งอันดามันและฝั่งอ่าวไทยสำหรับรองรับอุตสาหกรรมที่ไม่ก่อมลพิษและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน

7.เร่งพัฒนาภาคอุตสาหกรรมให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความรับผิดชอบต่อสังคม และอยู่ร่วมกับชุมชนได้

8.ส่งเสริมและจัดให้มีมาตรการทางภาษีและมาตรการอื่นที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิดการประหยัดพลังงาน การใช้พลังงานทดแทน และการใช้พลังงานจากภาคเกษตร

9.สนับสนุนให้ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมทุกสาขาการผลิตเข้าประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรม

10.เร่งรัดสำรวจและแสวงหาแหล่งแร่สำคัญ เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ และพัฒนาอุตสาหกรรมต่อยอดเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มโดยให้ความสำคัญกับการกำกับดูแลผลกระทบสิ่งแวดล้อมและชุมชน

การตลาด การค้า และการลงทุน

1.ส่งเสริมนโยบายการแข่งขันอย่างเสรีและเป็นธรรม เพื่อป้องกันการผูกขาดตัดตอน ส่งเสริมและพัฒนาบทบาทขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภคทั้งภาครัฐและเอกชน แก้ไขปรับปรุงกฎหมาย มาตรการต่างๆ เพื่อสร้างความเป็นธรรมให้แก่ผู้บริโภค

2.สร้างความเชื่อมั่นให้นักลงทุนทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยปรับปรุงพัฒนากฎหมายและกฎระเบียบที่ส่งเสริมการค้าการลงทุนที่ครอบคลุมการลงทุนด้านเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ และปรับปรุงมาตรการบริหารการนำเข้าเพื่อป้องกันการค้าที่ไม่เป็นธรรม

3.สนับสนุนการลงทุนในต่างประเทศในสาขาที่ผู้ประกอบการไทยมีศักยภาพ ส่งเสริมและสนับสนุนการเปิดร้านอาหารไทยของคนไทยตามนโยบายครัวไทยสู่ครัวโลก และนโยบายไทยเป็นครัวอาหารโลก

4.ปรับปรุงมาตรการการส่งเสริมการลงทุนให้ครอบคลุมการให้สิทธิประโยชน์แก่ธุรกิจในภาคเกษตร อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว การกีฬา และบริการ

5.ส่งเสริมการขยายตลาดเชิงรุกเพื่อรักษาตลาดเดิมและสร้างตลาดใหม่ เพื่อลดการพึ่งพาการส่งออกไปตลาดหลัก โดยส่งเสริมการส่งออกสินค้าและบริการในตลาดใหม่ ได้แก่ จีน อินเดีย ตะวันออกกลาง แอฟริกา และยุโรปตะวันออก

6.พัฒนาสินค้าและบริการที่สร้างโอกาสใหม่ในการหารายได้ การผลิตสินค้าและบริการอันเป็นที่ต้องการของผู้บริโภคในตลาดโลก

7.ขยายความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจการค้าการลงทุน และการตลาดภายใต้กรอบความร่วมมือและข้อตกลงการค้าเสรีในระบบพหุภาคีและทวิภาคี

8.เร่งรัดจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษบริเวณพื้นที่ที่มีศักยภาพ โดยให้ความสำคัญต่อจังหวัดชายแดน เพื่อส่งเสริมการค้า การตลาด การลงทุน การจ้างงาน และการใช้วัตถุดิบจากประเทศเพื่อนบ้าน

 

นโยบายนายกยิ่งลักษณ์  ชินวัตร

นโยบายเศรษฐกิจมหภาค

1.ดำเนิน การให้มีการกระจายรายได้ที่เป็นธรรมให้แก่คนส่วนใหญ่ของประเทศ และให้เศรษฐกิจสามารถเจริญเติบโตในอัตราสูงอย่างมีเสถียรภาพ โดยดำเนินนโยบายเศรษฐกิจที่สนับสนุนการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม และก่อให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน มีการจ้างงานเต็มที่ ระดับราคามีเสถียรภาพ ระมัดระวังความเสี่ยงจากความผันผวนของการเคลื่อนย้ายเงินทุนระหว่างประเทศ

 

2.ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุนที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการที่หลากหลายได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม

 

3.พัฒนา ระบบสถาบันการเงินในประเทศให้รับผิดชอบต่อคนส่วนใหญ่และผู้ด้อยโอกาส สามารถให้บริการที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของนวัตกรรมการเงินและความ ต้องการที่เปลี่ยนไปตามสภาวะเศรษฐกิจและสังคมด้วยค่าบริการที่ต่ำและการ บริการที่มีประสิทธิภาพ

 

4.ปรับโครงสร้างภาษีอากรทั้งระบบ เพื่อสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ สร้างความเป็นธรรมในสังคม ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างฐานรายได้ภาษีที่ยั่งยืนในระยะยาว รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้ทั้งจากภาษีและที่มิใช่ภาษี

 

5.ส่ง เสริมและรักษาวินัยการคลัง โดยปรับปรุงองค์ประกอบและโครงสร้างงบประมาณให้เหมาะสม มีระบบบริหารความเสี่ยงทางการคลังที่มีประสิทธิภาพ

 

6.ปรับปรุง โครงสร้างของรัฐวิสาหกิจ โดยมุ่งเน้นประสิทธิภาพการให้บริการ การบริหารทรัพย์สินให้เกิดประโยชน์สูงสุด และเร่งฟื้นฟูรัฐวิสาหกิจที่มีปัญหาฐานะการเงิน

 

7.บริหารสินทรัพย์ ของประเทศที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์และความมั่นคงทางเศรษฐกิจ รวมทั้งพิจารณาการจัดตั้งกองทุนที่สามารถใช้ในการบริหารสินทรัพย์ของชาติให้ เป็นประโยชน์ เช่น กองทุนมั่งคั่งแห่งชาติ กองทุนน้ำมันเชื้อเพลิงสำรองแห่งชาติ และกองทุนความมั่นคงทางอาหาร เป็นต้น

 

นโยบายสร้างรายได้

 

1.ส่ง เสริมการท่องเที่ยวจากทั้งภายนอกและภายในประเทศ จัดให้มีการพัฒนาการท่องเที่ยวและแหล่งท่องเที่ยว ให้มีรายได้จากนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น 2 เท่าตัวในเวลา 5 ปี

 

2.ขยาย บทบาทให้ธุรกิจการเกษตรและอาหารซึ่งเป็นแหล่งรายได้และการจ้างงานในประเทศมา เป็นเวลานานให้ก้าวข้ามไปสู่การเป็นศูนย์กลางการผลิตและการค้าอาหารคุณภาพ สูง เป็นที่ต้องการของผู้บริโภคที่มีฐานะและรสนิยมเฉพาะตัว การพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางตลาดซื้อขายล่วงหน้าสินค้าเกษตรและอาหาร จะทำให้เป้าหมายการเป็นครัวที่มีคุณภาพของโลกสัมฤทธิผลรวดเร็วยิ่งขึ้น

 

3.ส่ง เสริมและผลักดันให้อุตสาหกรรมพลังงานปิโตรเลียมและพลังงานทดแทนสามารถสร้าง รายได้จากความต้องการภายในประเทศ รวมทั้งสร้างการจ้างงานให้แก่ประเทศโดยถือเป็นอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ใหม่

 

4.ยก ระดับความสามารถในการแข่งขันและขยายช่องทางการตลาดของธุรกิจอุตสาหกรรม ธุรกิจบริการในประเทศ และธุรกิจวิสาหกิจชุมชนให้เข้าสู่ระบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในการผลิตสินค้าและ บริการที่มีคุณค่าและคุณภาพสูง

 

5.ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการขยายการ ลงทุนไปประเทศเพื่อนบ้านซึ่งมีความพร้อมทางด้านแรงงานและวัตถุดิบเพื่อสร้าง ความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจให้แก่ประเทศและภูมิภาค

 

6.ดึงดูดการลงทุน เข้าสู่ประเทศในสาขาที่เป็นการผลิตสินค้าและบริการที่มีพื้นฐานทางเทคโนโลยี มีมูลค่าสูง เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมถึงการลงทุนในการสร้างเมืองใหม่ในพื้นที่ที่เหมาะสม และโครงสร้างพื้นฐานสาธารณะ

 

7.เสริมสร้างกระบวนการสร้างอาชีพ สร้างงานที่มีคุณภาพและมีรายได้สูงให้แก่ประชาชนอย่างทั่วถึง

 

8.ส่งเสริมการขยายความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจการค้า การลงทุน และการเงิน ภายใต้ประโยชน์ร่วมกันของกรอบความร่วมมือและข้อตกลงทางการค้า

 

นโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ

 

ภาคเกษตร

 

1.ส่ง เสริมสนับสนุนให้สภาเกษตรกรแห่งชาติเป็นกลไกของเกษตรกรในการสื่อสารกับ รัฐบาลและร่วมกันพัฒนาเกษตรกรด้วยตนเองตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย

 

2.เพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตพืช โดยการวิจัยและพัฒนาสายพันธุ์ พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเพื่อให้ได้ผลผลิตสูง ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูพืช ใช้ปุ๋ยตามคุณสมบัติของดินแต่ละชนิด เพื่อลดต้นทุนการผลิตและพัฒนาคุณภาพผลผลิต

 

3.เพิ่มศักยภาพกระบวนการ ผลิตด้านปศุสัตว์ให้ได้มาตรฐาน ปลอดภัย เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพียงพอกับความต้องการภายในประเทศและการส่งออก

 

4.พัฒนาการประมง ทั้งในการเพาะเลี้ยงและในแหล่งน้ำธรรมชาติ โดยการฟื้นฟูทรัพยากรประมงและจัดระเบียบการทำประมงให้สมดุลกับศักยภาพการ ผลิตตามธรรมชาติ ขยายพื้นที่อนุรักษ์เพื่อการประมงทะเลพื้นบ้าน ส่งเสริมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเศรษฐกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม แสวงหาลู่ทางการทำประมงในน่านน้ำต่างประเทศที่ไม่ขัดต่อระเบียบขององค์การ ระหว่างประเทศและประเทศที่นำเข้า

 

5.เสริมสร้างฐานรากของครัวเรือน เกษตรกรให้เข้มแข็งโดยการเพิ่มประสิทธิภาพการเพาะปลูก ลดต้นทุนการผลิต พัฒนาระบบการผลิตที่เป็นขั้นตอน

 

6.จัดทำระบบทะเบียนครัวเรือน เกษตรกรที่มีข้อมูลการเกษตรของครัวเรือนครบถ้วน สามารถเชื่อมโยงกับบัตรเครดิตสำหรับเกษตรกรและมีการปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่ เสมอ

 

7.เร่งรัดพัฒนาธุรกิจการเกษตร โดยการพัฒนาสถาบันเกษตรกรในด้านธุรกิจ สร้างเกษตรกรรุ่นใหม่จากโครงการกองทุนตั้งตัวได้

 

8.พัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรมูลค่าเพิ่มเพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันในตลาดโลก

 

9.ส่ง เสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ ดำเนินการฟื้นฟูสภาพแวดล้อม สร้างความเข้มแข็งภาคเกษตรและสร้างความมั่นคงทางอาหารเพื่อเผชิญกับวิกฤต อาหารโลก

 

ภาคอุตสาหกรรม

 

1.ยกระดับความสามารถในการ แข่งขันของภาคอุตสาหกรรมในประเทศด้วยการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ลดต้นทุนของผู้ประกอบการ และยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล ตลอดจนส่งเสริมให้มีการสร้างตราสินค้าไทย

 

2.ยกระดับภาคอุตสาหกรรม เข้าสู่อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ที่ใช้ปัญญา ใช้เทคโนโลยี และใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทดแทนอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเป็นหลัก

 

3.พัฒนา และส่งเสริมอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปบนฐานความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และนวัตกรรมเพื่อเพิ่มมูลค่าและยกระดับสินค้าให้มีคุณภาพ มีความปลอดภัยตามมาตรฐานสากล และมีโอกาสในการขยายตลาด

 

4.สร้างความเข้มแข็งให้แก่วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยสนับสนุนช่องทางการเข้าถึงแหล่งสินเชื่อผ่านสถาบันการเงินต่างๆ

 

5.กำหนดมาตรฐานและคุณภาพขั้นพื้นฐานของสินค้าอุตสาหกรรมเมื่อมีการเปิดเสรีการค้ามากขึ้น เพื่อป้องกันสินค้านำเข้าที่ไม่ได้คุณภาพ

 

6.พัฒนา พื้นที่อุตสาหกรรมแห่งใหม่ รวมทั้งการพัฒนาสะพานเศรษฐกิจระหว่างฝั่งอันดามันและฝั่งอ่าวไทยสำหรับ รองรับอุตสาหกรรมที่ไม่ก่อมลพิษและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน

 

7.เร่งพัฒนาภาคอุตสาหกรรมให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความรับผิดชอบต่อสังคม และอยู่ร่วมกับชุมชนได้

 

8.ส่ง เสริมและจัดให้มีมาตรการทางภาษีและมาตรการอื่นที่เกี่ยวข้องในการพัฒนา อุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิดการประหยัดพลังงาน การใช้พลังงานทดแทน และการใช้พลังงานจากภาคเกษตร

 

9.สนับสนุนให้ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมทุกสาขาการผลิตเข้าประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรม

 

10.เร่งรัด สำรวจและแสวงหาแหล่งแร่สำคัญ เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ และพัฒนาอุตสาหกรรมต่อยอดเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มโดยให้ความสำคัญกับการกำกับ ดูแลผลกระทบสิ่งแวดล้อมและชุมชน

 

การตลาด การค้า และการลงทุน

 

1.ส่ง เสริมนโยบายการแข่งขันอย่างเสรีและเป็นธรรม เพื่อป้องกันการผูกขาดตัดตอน ส่งเสริมและพัฒนาบทบาทขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภคทั้ง ภาครัฐและเอกชน แก้ไขปรับปรุงกฎหมาย มาตรการต่างๆ เพื่อสร้างความเป็นธรรมให้แก่ผู้บริโภค

 

2.สร้างความเชื่อมั่นให้นัก ลงทุนทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยปรับปรุงพัฒนากฎหมายและกฎระเบียบที่ส่งเสริมการค้าการลงทุนที่ครอบคลุม การลงทุนด้านเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ และปรับปรุงมาตรการบริหารการนำเข้าเพื่อป้องกันการค้าที่ไม่เป็นธรรม

 

3.สนับสนุน การลงทุนในต่างประเทศในสาขาที่ผู้ประกอบการไทยมีศักยภาพ ส่งเสริมและสนับสนุนการเปิดร้านอาหารไทยของคนไทยตามนโยบายครัวไทยสู่ครัวโลก และนโยบายไทยเป็นครัวอาหารโลก

 

4.ปรับปรุงมาตรการการส่งเสริมการ ลงทุนให้ครอบคลุมการให้สิทธิประโยชน์แก่ธุรกิจในภาคเกษตร อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว การกีฬา และบริการ

 

5.ส่งเสริมการขยายตลาดเชิงรุก เพื่อรักษาตลาดเดิมและสร้างตลาดใหม่ เพื่อลดการพึ่งพาการส่งออกไปตลาดหลัก โดยส่งเสริมการส่งออกสินค้าและบริการในตลาดใหม่ ได้แก่ จีน อินเดีย ตะวันออกกลาง แอฟริกา และยุโรปตะวันออก

 

6.พัฒนาสินค้าและบริการที่สร้างโอกาสใหม่ในการหารายได้ การผลิตสินค้าและบริการอันเป็นที่ต้องการของผู้บริโภคในตลาดโลก

 

7.ขยายความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจการค้าการลงทุน และการตลาดภายใต้กรอบความร่วมมือและข้อตกลงการค้าเสรีในระบบพหุภาคีและทวิภาคี

 

8.เร่งรัด จัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษบริเวณพื้นที่ที่มีศักยภาพ โดยให้ความสำคัญต่อจังหวัดชายแดน เพื่อส่งเสริมการค้า การตลาด การลงทุน การจ้างงาน และการใช้วัตถุดิบจากประเทศเพื่อนบ้าน

     นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง นายวิรุฬ เตชะไพบูลย์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง นายอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม ปลัดกระทรวงการคลัง นายสมชัย สัจจพงษ์ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ในฐานะโฆษกกระทรวงการคลัง ร่วมด้วยผู้บริหารระดับสูงของกระทรวงการคลัง ได้ร่วมกันแถลงผลงานของกระทรวงการคลังตามนโยบายรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ในรอบ 1 ปีวันนี้(10ก.ย.55)

 

 

นายกิตติรัตน์ฯ กล่าวว่า ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาเศรษฐกิจไทยได้เผชิญกับความท้าทายทางเศรษฐกิจในหลายด้าน ทั้งจากภาวะของเศรษฐกิจโลกที่เปราะบางจากปัญหาหนี้สาธารณะของยูโรโซนและผลกระทบจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ ซึ่งส่งผลให้เศรษฐกิจไทยในช่วงก่อนที่รัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงและอัตราเงินเฟ้อเริ่มปรับเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องรัฐบาลโดยกระทรวงการคลังจึงได้มีมาตรการเร่งด่วนเพื่อบรรเทาผลกระทบทางเศรษฐกิจดังกล่าวรัฐบาลได้เน้น 4 นโยบายหลักดังนี้

 

 

1. นโยบายแก้ไขปัญหาอุทกภัย เพื่อบรรเทา เยียวยา และป้องกันอุทกภัยในอนาคตโดยในระยะสั้น กระทรวงการคลังได้ขยายเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินดำเนินมาตรการช่วยเหลือทางการเงินผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจ มาตรการช่วยเหลือด้านภาษี รวมทั้งจัดตั้งกองทุนส่งเสริมประกันภัยพิบัติ และในระยะปานกลางถึงยาว กระทรวงการคลังได้สนับสนุนการลงทุนเพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้ำและสร้างอนาคตประเทศ 350,000 ล้านบาท

 

 

2. นโยบายลดรายจ่ายเพื่อบรรเทาภาระของประชาชนจากอัตราเงินเฟ้อที่สูงขึ้นในช่วงที่ผ่านมา ด้วยโครงการพักหนี้เกษตรกรรายย่อยและผู้มีรายได้น้อย การลดอัตราภาษีสรรพสามิตน้ำมันดีเซล การต่ออายุมาตรการค่าครองชีพ และบัตรเครดิตพลังงาน

 

 

3. นโยบายเพิ่มรายได้ เพื่อเสริมสร้างกำลังซื้อและความเป็นอยู่ของประชาชน ด้วยการปรับเพิ่มขึ้นค่าแรงขั้นต่ำเป็น 300 บาท/วัน และโครงการขึ้นเงินเดือนข้าราชการที่จบปริญญาตรีเป็น 15,000 บาท/เดือน และโครงการจำนำข้าวของ ธ.ก.ส. และ

 

4. นโยบายขยายโอกาส เพื่อเสริมสร้างศักยภาพของประชาชน ผู้ประกอบการ และประเทศ ด้วยการลดภาษีเงินได้นิติบุคคลจากร้อยละ 30 เป็นร้อยละ 23 ในปี 2555 และร้อยละ 20 ในปี 2556 โครงการรถคันแรก โครงการบ้านหลังแรก และกองทุนตั้งตัวได้

 

 

การดำเนินงานตาม 4 นโยบายดังกล่าว ได้ส่งผลให้เศรษฐกิจไทยกลับมาขยายตัวในอัตราที่สูงขึ้น และอัตราเงินเฟ้อปรับลดลงตามลำดับทั้งนี้ ในช่วงที่ผ่านมา รัฐบาลสามารถรักษาวินัยทางการคลังภายใต้กรอบความยั่งยืนทางการคลัง (สัดส่วนหนี้สาธารณะต่อจีดีพีต่ำกว่าร้อยละ 60) และสามารถสร้างกลไกการบริหารจัดการหนี้กองทุนฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินได้อย่างชัดเจน

 

 

นายกิตติรัตน์ ได้กล่าวถึงผลงานของกรมจัดเก็บและรัฐวิสาหกิจที่ตนกำกับว่า ในช่วง 1 ปีที่ผ่านมา สามารถดำเนินนโยบายของรัฐบาลได้ดีโดยในส่วนของการกระตุ้นการบริโภคภาคเอกชน จากข้อมูลล่าสุด โครงการบัตรสินเชื่อเกษตรกรที่ได้อนุมัติแล้วทั้งสิ้น 844,347 ราย มียอดเงินใช้จ่ายผ่านบัตรทั้งสิ้น 621 ล้านบาท การคงอัตราภาษีมูลค่าเพิ่มไว้ที่ร้อยละ 7 เป็นส่วนสำคัญที่ได้ช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจผ่านการบริโภคภาคเอกชน โครงการพักหนี้ลูกหนี้ที่มีหนี้ค้างชำระ มีผู้ได้รับอนุมัติ 428,415 ราย คิดเป็นมูลหนี้ 52,304 ล้านบาท โครงการพักหนี้ลูกหนี้ที่มีภาระปกติ มีผู้สนใจมาลงทะเบียน 2,468,367 ราย คิดเป็นมูลหนี้ 281,089 ล้านบาท และโครงการรถคันแรกมีผู้ขอใช้สิทธิ์ 169,861คัน คิดเป็นยอดขอคืนเงินภาษีจำนวน12,191ล้านบาท

 

 

ในส่วนของการกระตุ้นการลงทุนภาคเอกชน กระทรวงการคลังได้ปรับลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลจากร้อยละ 30 เป็นร้อยละ 23 ในปี 2555 และร้อยละ 20 ในปี 2556 อันเป็นการเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของภาคเอกชนเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี 2558 และโครงการบ้านหลังแรกมีผู้ใช้สิทธิ์ 9,600 ราย คิดเป็นมูลค่าภาษี 224 ล้านบาท

 

 

ในส่วนของการดูแลอัตราเงินเฟ้อ กระทรวงการคลังได้ขยายเวลาปรับลดอัตราภาษีสรรพสามิตน้ำมันดีเซลที่ 0.005 บาท/ลิตร ซึ่งสามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายของประชาชนและภาคธุรกิจในช่วงปีที่ผ่านมากว่า 108,000 ล้านบาทและ

ในส่วนของการส่งเสริมการแข่งขันเสรี กระทรวงการคลังได้ดำเนินโครงการจัดตั้งการให้บริการระบบเชื่อมโยงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (National Single Window) เพื่ออำนวยความสะดวกในการค้าระหว่างประเทศ โดยคาดว่าจะสามารถเชื่อมโยงข้อมูลเสร็จสมบูรณ์ปลายปี 2556 และจะสามารถเชื่อมโยงระบบกับประเทศอาเซียนอื่นๆ ได้ในปี 2557

 

 

นายวิรุฬฯ ได้กล่าวถึงผลงานของหน่วยงานที่อยู่ในการกำกับดูแลใน 1 ปีที่ผ่านมา โดยกรมบัญชีกลางนอกจากแก้ไขปัญหาอุทกภัยด้วยการขยายวงเงินทดรองราชการ ในส่วนของนโยบายเพิ่มรายได้เพื่อกระตุ้นการบริโภคและส่งเสริมความเป็นอยู่ของประชาชน ยังได้ปรับค่าตอบแทนบุคลากรภาครัฐระดับปริญญาตรี 15,000 บาท และต่ำกว่าปริญญาตรี 9,000 บาทแล้วตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2555 อันเป็นการยกระดับรายได้และคุณภาพชีวิต และส่งผลต่อการกระตุ้นเศรษฐกิจโดยรวม

 

 

นอกจากนี้ คณะผู้บริหารการคลังประจำจังหวัดและสถาบันการเงินเฉพาะกิจได้ร่วมกันติดตามการใช้จ่ายเงินที่ประหยัดได้จากโครงการพักหนี้เกษตรกรรายย่อยและผู้มีรายได้น้อยผ่านระบบฐานข้อมูลลูกหนี้ของกระทรวงการคลัง และพัฒนาต้นแบบการดำเนินธุรกิจ (Business Model) จากเงินที่ประหยัดได้ดังกล่าว

 

 

ในส่วนของกรมธนารักษ์ได้นำที่ราชพัสดุที่ไม่ได้มีการใช้ประโยชน์ให้ผู้มีรายได้น้อยเช่าเพื่ออยู่อาศัยและทำกิน ตามโครงการรัฐเอื้อราษฎร์ ซึ่งปีที่ผ่านมาสามารถจัดให้เช่าได้จำนวนกว่า 6,200 ราย ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายถึงเท่าตัว หรือคิดเป็นเนื้อที่กว่า 16,000 ไร่ และยังมีการนำที่ราชพัสดุไปสนับสนุนด้านพลังงานของประเทศ ด้วยการให้เกษตรกรเช่าทำการเกษตรและปลูกพืชทดแทน โดยในปีที่ผ่านมา ได้ดำเนินการแล้วกว่า 3,200 ราย ครอบคลุมเนื้อที่ 39,000 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 92 ของเป้าหมาย

 

 

นอกจากนี้ ยังได้นำที่ราชพัสดุให้เช่าเพื่อเป็นสถานีบริการก๊าซธรรมชาติ NGV โดยได้ดำเนินการแล้ว 1 แห่ง และจะดำเนินการอีก 3 แห่งภายในปีนี้ รวมไปถึงการกิจในการยกระดับความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตได้จัดให้เช่าที่ราชพัสดุเพื่อสร้างสนามกีฬา เช่น สนามบาสเกตบอลชุมชนในเขตพระโขนง เป็นต้น

 

 

สำหรับสถาบันการเงินเฉพาะกิจในปีที่ผ่านมาสนับสนุนนโยบายของภาครัฐในการแก้ไขปัญหาอุทกภัย ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ และขยายโอกาส กระทรวงการคลังได้มีมาตรการต่าง ๆ ในการส่งเสริมให้ประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้อย่างทั่วถึงและเพียงพอผ่านทางสถาบันการเงินเฉพาะกิจ โดยในช่วง 7 เดือนแรกของปี 2555 สถาบันการเงินเฉพาะกิจได้อนุมัติสินเชื่ออยู่ในเกณฑ์ดีและสูงกว่าเป้าหมาย โดยอนุมัติสินเชื่อรายใหม่กว่า 6 ล้านราย คิดเป็นเงินจำนวน 1.17 ล้านล้านบาท


อีกทั้ง ในรอบปีที่ผ่านมา สถาบันการเงินเฉพาะกิจยังได้มีส่วนในการ (1) ยกระดับขีดความสามารถของประเทศ ผ่านมาตรการด้านสินเชื่อเพื่อเพิ่มขีดความสามารถของ SMEs ในวงเงิน 54,000 ล้านบาท (2) ยกระดับความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตประชาชน ผ่านทางโครงการต่างๆของภาครัฐ เช่น โครงการบ้านธนาคารอาคารสงเคราะห์เพื่อที่อยู่อาศัยแห่งแรกร้อยละ 0 เป็นระยะเวลา 3 ปี โครงการยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชนและชุมชนในพื้นที่พิเศษ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ และมาตรการช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยปี 2554 เป็นต้น และ (3) พัฒนาระบบตลาดการเงินไทย ผ่านทางโครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ตราสารหนี้เพื่อการระดมเงินจากตลาดทุน

 

 

ในส่วนของภาคการประกันภัย การจัดตั้งกองทุนส่งเสริมการประกันภัยพิบัติในวงเงิน 50,000 ล้านบาท ซึ่งประสบความสำเร็จในการฟื้นฟูระบบประกันวินาศภัยและสร้างความเชื่อมั่นให้ผู้รับประกันภัย และผลักดันให้เบี้ยประกันภัยพิบัติลดลงอย่างต่อเนื่อง ถือเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายแก้ไขปัญหาอุทกภัยของภาครัฐ ในด้านการขยายโอกาสและยกระดับคุณภาพชีวิต นับตั้งแต่ วันที่ 1 สิงหาคม 2555 ได้มีการนำระบบการจ่ายค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉิน

กรณีประสบภัยจากรถผ่านระบบออนไลน์ (E-Claim) ทำให้ประชาชนสามารถเข้ารับการรักษาพยาบาลจากสถานพยาบาลทุกแห่งทั่วประเทศ โดยไม่ต้องสำรองค่ารักษาพยาบาลไปก่อน

 

 

สุดท้ายเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตโดยลดอุบัติเหตุทางรถ ได้ส่งเสริมให้มีการจัดทำกรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์ปลอดแอลกอฮอล์ขึ้นซึ่งมีเบี้ยประกันลดจากอัตราปกติร้อยละ 10 เพื่อเป็นรางวัลให้ผู้ขับขี่ที่ไม่ดื่มแอลกอฮอล์ ซึ่งจะเป็นทางเลือกใหม่ให้กับประชาชนที่ไม่ดื่มสุรา และจะนำไปสู่การลดความเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุทางรถในที่สุด

 

 

นายกิตติรัตน์ฯ กล่าวว่า ในระยะต่อไป เพื่อรองรับกระบวนทัศน์ใหม่ของการพัฒนาประเทศ ทั้งในด้านการสร้างมูลค่า การปรับสมดุลทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการเสริมสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจในประเทศและภูมิภาค กระทรวงการคลังได้วางเป้าหมายยุทธศาสตร์ 3 ประการ ได้แก่

 

 

1. การลดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจและสังคม ด้วยการเพิ่มโอกาสทางเศรษฐกิจให้แก่คนฐานราก การสร้างระบบสวัสดิการพื้นฐานให้ทั่วถึงและมีคุณภาพ และการกระจายรายได้และการถือครองทรัพย์สินอย่างเป็นธรรม

 

 

2. การสนับสนุนศักยภาพและเพิ่มความสามารถการแข่งขัน ด้วยการสนับสนุนการจัดตั้งธุรกิจ การพัฒนาภาคเอกชนให้เกิดการสร้างมูลค่า การเชื่อมโยงธุรกิจเพื่อก้าวสู่เศรษฐกิจระดับภูมิภาคและระดับโลก และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน และ

 

 

3. การรักษาความยั่งยืนทางการคลัง ด้วยการเสริมสร้างความมั่นคงทางการคลัง การส่งเสริมความโปร่งใสในการดำเนินงานของภาครัฐ และการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของกระทรวงการคลัง

 

 

ในส่วนของความยั่งยืนทางการคลัง นายกิตติรัตน์ฯ กล่าวว่า กระทรวงการคลังวางแผนที่จะปรับฐานะทางการคลังให้เข้าสู่สมดุลภายในปี 2560 โดยในปีงบประมาณ 2556 จะขาดดุลการคลังที่ 3 แสนล้านบาท ต่ำกว่าปีงบประมาณ 2555 ซึ่งขาดดุลที่ 4 แสนล้านบาท

 

 

นอกจากนี้ ในส่วนของการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน นายกิตติรัตน์ฯ กล่าวว่าประเทศไทยจำเป็นต้องลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานเพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศได้ โดยล่าสุดสถาบันการจัดการนานาชาติ (International Institute for Management Development: IMD) ได้จัดอันดับโครงสร้างพื้นฐานของประเทศไทยที่ 49 จาก 59 ประเทศ และเวิลด์ อีโคโนมิก ฟอรั่ม (World Economic Forum: WEF) ได้จัดอันดับโครงสร้างพื้นฐานของประเทศไทยที่ 46 จาก 144 ประเทศ ในเรื่องนี้ กระทรวงการคลังมีนโยบายที่จะออก พ.ร.บ.เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานมูลค่า 2.2 ล้านล้านบาท ซึ่งครอบคลุมการขนส่งทางบก ทางน้ำ ทางอากาศ พลังงาน การสื่อสาร และสาธารณูปการ

 

 

 

 

นโบายการเงิน ของ นายกยิ่งลักษณ์  ชินวัตร

1. พักหนี้ครัวเรือนของเกษตรกรรายย่อยและผู้มีรายได้น้อยที่มีหนี้ต่ำกว่า 5 แสนบาท อย่างน้อย 3 ปี และปรับโครงสร้างหนี้สำหรับผู้ที่มีหนี้เกิน 5 แสนบาท
2. เพิ่มรายได้รายวันสำหรับแรงงานเป็นวันละ 300 บาท และรายเดือนของผู้ที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรีเป็น 15,000 บาท
3. จัดให้มีเบี้ยยังชีพรายเดือนแบบขั้นบันไดสำหรับผู้สูงอายุ
4. ให้มีมาตรการภาษีเพื่อลดภาระการลงทุนสำหรับสิ่งจำเป็นในชีวิตของประชาชนทั่วไป ได้แก่บ้านหลังแรก
5. ปรับลดภาษีเงินได้นิติบุคคลให้เหลือร้อยละ 23 ในปี 2555 และลดลงร้อยละ 20 ในปี 2556 เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขันของภาคเอกชน ขยายฐานภาษีและรองรับเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558
6. ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุนสนับสนุนสินเชื่อรายย่อย
7. เพิ่มกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 1 ล้านบาท
8. จัดตั้งกองทุนพัฒนาศักยภาพสตรีเฉลี่ยจังหวัดละ 100 ล้านบาท
9. จัดตั้งกองทุนตั้งตัวได้วงเงินประมาณ 1 พันล้านต่อสถาบันอุดมศึกษา

รัฐบาลนำคำแถลงนโยบายที่ผ่านการพิจารณาของครม. แจกสื่อมวลชน มีเนื้อหาโดยสรุประบุว่า นโยบายของรัฐบาลชุดนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ ชินวัตร มีจุดมุ่งหมาย 3 ประการ ประกอบด้วย

1.นำประเทศไทยไปสู่โครงสร้างเศรษฐกิจที่สมดุล มีความเข้มแข็งของเศรษฐกิจภายในประเทศมากขึ้น

2.นำประเทศไทยสู่สังคมที่มีความปรองดองสมานฉันท์ และ

3.นำประเทศไทยไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558 อย่างสมบูรณ์ โดยกำหนดนโยบายเป็น 2 ระยะ คือ ระยะเร่งด่วนที่จะเริ่มดำเนินการในปีแรก และระยะการบริหารราชการ 4 ปี

 นโยบายเร่งด่วนที่จะเริ่มดำเนินการในปีแรก คือ

  1) สร้างความปรองดองสมานฉันท์ เยียวยาและฟื้นฟูทุกฝ่าย เช่น ประชาชน เจ้าหน้าที่รัฐ และผู้ประกอบการภาคเอกชนที่ได้รับผลกระทบจากเหตุรุนแรงตั้งแต่ช่วงปลายการใช้รัฐธรรมนูญ 2540 สนับสนุนให้คณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื่อการปรองดองแห่งชาติ (คอป.) ดำเนินการอย่างเป็นอิสระ

  2) กำหนดให้การแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติดเป็น “วาระแห่งชาติ”

  3) ป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐอย่างจริงจัง

  4) ส่งเสริมการบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการและเร่งรัดขยายเขตพื้นที่ชลประทาน

  5) เร่งนำสันติสุขและความปลอดภัยกลับมาสู่พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยน้อมนำกระแสพระราชดำรัส “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” เป็นหลักปฏิบัติ

  6) เร่งฟื้นฟูความสัมพันธ์และพัฒนาความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านและนานาประเทศ

  7) แก้ไขความเดือดร้อนของประชาชนและผู้ประกอบการเนื่องจากภาวะเงินเฟ้อและราคาน้ำมันเชื้อเพลิง โดยชะลอการเก็บเงินเข้ากองทุนน้ำมันเชื้อเพลิงชั่วคราวเพื่อให้ราคาน้ำมันเชื้อเพลิงลดลงทันที ปรับโครงสร้างราคาพลังงาน จัดให้มีบัตรเครดิตพลังงานสำหรับผู้ประกอบอาชีพรถรับจ้างขนส่งผู้โดยสารสาธารณะ ดูแลราคาสินค้าและการมีรายได้ ป้องกันและแก้ไขการผูกขาดทั้งทางตรงและทางอ้อม

  8) ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยเพิ่มกำลังซื้อภายในประเทศ พักหนี้ครัวเรือนของเกษตรกรรายย่อย และผู้มีรายได้น้อยที่มีหนี้ต่ำกว่า 500,000 บาท อย่างน้อย 3 ปี และปรับโครงสร้างหนี้สำหรับผู้ที่มีหนี้เกิน 500,000 บาท ทำให้แรงงานมีรายได้เป็นวันละไม่น้อยกว่า 300 บาท ผู้จบปริญญาตรีมีรายได้เดือนละไม่น้อยกว่า 15,000 บาท จ่ายเบี้ยสูงอายุแบบขั้นบันได อายุ 60-69 ปี 600 บาท, อายุ 70-79 ปี 700บาท, อายุ 80-89 ปี 800บาท และอายุ 90 ปีขึ้นไป ได้รับ 1,000 บาท ลดภาษีบ้านหลังแรกและรถยนต์คันแรก

  9) ลดภาษีเงินได้นิติบุคคล เหลือร้อยละ 23 ในปี 2555 และเหลือร้อยละ 20 ในปี 2556

  10) ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุน โดยเพิ่มเงินทุนกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองอีกแห่งละ1 ล้านบาท จัดตั้งกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี วงเงินเฉลี่ยจังหวัดละ100 ล้านบาท จัดตั้งกองทุนตั้งตัวได้วงเงิน 1,000ล้านบาท ต่อสถาบันอุดมศึกษาที่ร่วมโครงการ จัดสรรงบประมาณเข้ากองทุนเอสเอ็มแอล 300,000 400,000 และ 500,000 บาทตามขนาดหมู่บ้าน

  11) ยกระดับราคาสินค้าเกษตรและให้เกษตรกรเข้าถึงแหล่งเงินทุน เริ่มจากการรับจำนำข้าวเปลือกเจ้าและข้าวเปลือกหอมมะลิ เกวียนละ 15,000 บาท และ 20,000 บาท จัดทำทะเบียนครัวเรือนเกษตรกรและการออกบัตรเครดิตสำหรับเกษตรกร

  12) เร่งเพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยวทั้งในและนอกประเทศ โดยประกาศให้ปี 2554-2555 เป็นปี “มหัศจรรย์ไทยแลนด์” และประชาสัมพันธ์เชิญชวนนักท่องเที่ยวต่างชาติเข้าร่วมเฉลิมฉลองในพระราชพิธีมหามงคลที่จะมีขึ้นในช่วงปี พ.ศ. 2554-2555

  13) สนับสนุนการพัฒนางานศิลปหัตถกรรมและผลิตภัณฑ์ชุมชน

  14) พัฒนาระบบประกันสุขภาพ เพิ่มประสิทธิภาพระบบ 30 บาทรักษาทุกโรค ให้ทุกคนได้รับบริการอย่างมีคุณภาพ สะดวก รวดเร็วและเป็นธรรม

  15) จัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์แท็บเล็ตให้แก่โรงเรียน เริ่มในโรงเรียนนำร่องแก่นักเรียน ป. 1ปีการศึกษา 2555 และ

  16) เร่งรัดและผลักดันการปฏิรูปการเมืองที่ประชาชนมีส่วนร่วม โดยมีสภาร่างรัฐธรรมนูญ (ส.ส.ร.) ที่เป็นอิสระยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ โดยให้ประธานเห็นชอบผ่านการออกเสียงประชามติ

 ส่วนนโยบายที่จะดำเนินการภายในช่วงระยะ 4 ปี จะดำเนินนโยบายหลักจากข้อ 2-8 ดังนี้

  2.นโยบายความมั่นคงแห่งรัฐ ที่สำคัญคือ เทิดทูนและพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ ดำรงไว้ซึ่งพระบรมเดชานุภาพแห่งองค์พระมหากษัตริย์ น้อมนำพระราชดำริทั้งปวงไว้เหนือ  เกล้าเหนือกระหม่อม พร้อมทั้งอัญเชิญไปปฏิบัติให้เป็นรูปธรรม

  3.นโยบายเศรษฐกิจ กระจายรายได้ที่เป็นธรรม ปรับโครงสร้างภาษีอากรทั้งระบบ มีนโยบายสร้างรายได้จากการส่งเสริมการท่องเที่ยว เพิ่มขึ้น 2 เท่าตัวในเวลา 5 ปี ผลักดันไทยเป็นศูนย์กลางการผลิตและการค้าอาหาร มีนโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ ส่วนนโยบายโครงสร้างพื้นฐาน จะพัฒนาระบบขนส่ง ประปา ไฟฟ้าให้กระจายไปสู่ภูมิภาคอย่างทั่วถึง เพียงพอ ขยายการให้บริการน้ำสะอาดให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ พัฒนาระบบรถ  ไฟทางคู่เชื่อมชานเมือง+หัวเมืองหลัก พัฒนารถไฟความเร็วสูงกรุงเทพฯเชียงใหม่ กรุงเทพฯ-นครราชสีมา กรุงเทพฯ-หัวหิน และเส้นทางเชื่อมต่อกับเพื่อนบ้าน ศึกษาและพัฒนาขยายทางรถไฟสายแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ ต่อจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิไปยังชลบุรีและพัฒนา เร่งรัดโครงสร้างรถไฟฟ้า 10 สายทางในกทม.และปริมณฑล ให้เริ่มก่อสร้างได้ครบใน 4 ปี ค่าบริการ 20 บาทตลอดสาย

  4.นโยบายด้านสังคมและคุณภาพชีวิต กระจายโอกาสทางการศึกษาให้เข้าถึงทุกกลุ่ม จัดโครงการเงินกู้เพื่อการศึกษาที่ผูกพันกับรายได้ในอนาคต ส่งเสริมให้แรงงานเข้าถึงข้อมูลข่าวสารตำแหน่งว่างงานโดยสะดวก เพิ่มประสิทธิภาพประกันสังคม พัฒนาคุณภาพชีวิตตั้งแต่ช่วงตั้งครรภ์ จนถึงวัยชรา และผู้พิการ สร้างหลักประกันความมั่นคงในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติและการละเมิดสิทธิมนุษยชนทุกรูปแบบ

  5.นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ ทรัพยากรทางทะเล สร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ

  6.นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและนวัตกรรม เร่งสร้างนักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย และครูวิทยาศาสตร์ให้เพียงพอ ส่งเสริมสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา ส่งเสริมความร่วมมือกับประเทศมุสลิม และองค์กรอิสลามระหว่างประเทศ

  7.นโยบายการต่างประเทศ และเศรษฐกิจระหว่างประเทศ เร่งส่งเสริมและพัฒนาความสัมพันธ์กับเพื่อนบ้าน ส่งเสริมผลประโยชน์ของชาติในองค์กรระหว่างประเทศ

  8.นโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พัฒนาระบบราชการ สร้างเสริมมาตรฐานด้านคุณธรรม จริยธรรม และธรรมา  ภิบาล รวมถึงปฏิรูประบบกฎหมายและพัฒนากระบวนการยุติธรรม ให้ทันสมัย สอดคล้องหลักการประชาธิปไตย เร่งรัดจัดตั้งองค์กรเพื่อการปฏิรูปกระบวนการยุติรรมที่ดำเนินการโดยอิสระ และปรับปรุงระบบการช่วยเหลือประชาชนให้เข้าถึงความเป็นธรรมโดยง่าย ส่งเสริมให้ประชาชนมีโอกาสได้รับรู้ข่าวสารจากทางราชการ สื่อสารมวลชนและสื่อสาธารณะ


นโยบายของนายกยิ่งลักษณ์ ชินวัตร 

1.นโยบายเร่งด่วนที่จะเริ่มทำในปีแรก แบ่งเป็น 1.1 สร้างความปรองดองสมานฉันท์ของคนในชาติและฟื้นฟูประชาธิปไตย 1.1.1 สร้างความปรองดองสมานฉันท์ของคนในชาติและฟื้นฟูประชาธิปไตย โดยการเสริมสร้างความเข้าใจร่วมกันของประชาชนในชาติให้เกิดความสมัครสมานสามัคคีเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 1.1.2 เยียวยาและฟื้นฟูอย่างต่อเนื่องแก่บุคคลทุกฝ่าย เช่น ประชาชน เจ้าหน้าที่รัฐและผู้ประกอบการภาคเอกชน ซึ่งได้รับผลกระทบอันเนื่องมาจากความขัดแย้งทางความคิด ทางการเมืองและความรุนแรงที่ก่อตัวขึ้นตั้งแต่ช่วงปลายของการใช้รัฐธรรมนูญปี 2540 1.1.3 สนับสนุนให้คณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื่อแนวทางปรองดองแห่งชาติ(คอป.) ดำเนินการอย่างอิสระและได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายอย่างเต็มที่ในการตรวจสอบหาความจริงกรณีความรุนแรงทางการเมือง การละเมิดสิทธิมนุษยชน การสูญเสียชีวิต บาดเจ็บทางร่างกายและจิตใจ ความเสียหายทางทรัพย์สิน 1.2 กำหนดให้การแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติดเป็นวาระแห่งชาติ 1.3 ป้องกันและปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชั่นในภาครัฐอย่างจริงจัง1.4 เร่งแก้ไขปัญหาความไม่สงบและนำสันติสุขกลับสู่จังหวัดชายแดนภาคใต้โดยเร็ว 1.5 เร่งฟื้นฟูความสัมพันธ์และพัฒนาความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านและนานาประเทศ 1.6 แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนและผู้ประกอบการเนื่องจากภาวะเงินเฟ้อและราคาน้ำมันเชื้อเพลิง 1.7 ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน 1.7.1 พักหนี้ครัวเรือนของเกษตรกรรายย่อยและผู้มีรายได้น้อยที่มีหนี้ต่ำกว่า 5 แสนบาท อย่างน้อย 3 ปี และปรับโครงสร้างหนี้สำหรับผู้ที่มีหนี้เกิน 5 แสนบาท 1.7.2 เพิ่มรายได้รายวันสำหรับแรงงานเป็นวันละ 300 บาท และรายเดือนของผู้ที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรีเป็น 15,000 บาท 1.7.3 จัดให้มีเบี้ยยังชีพรายเดือนแบบขั้นบันไดสำหรับผู้สูงอายุ 1.7.4 ให้มีมาตรการภาษีเพื่อลดภาระการลงทุนสำหรับสิ่งจำเป็นในชีวิตของประชาชนทั่วไป ได้แก่บ้านหลังแรก 1.8 ปรับลดภาษีเงินได้นิติบุคคลให้เหลือร้อยละ 23 ในปี 2555 และลดลงร้อยละ 20 ในปี 2556 เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขันของภาคเอกชน ขยายฐานภาษีและรองรับเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558 1.9 ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุนสนับสนุนสินเชื่อรายย่อย 1.9.1 เพิ่มกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 1 ล้านบาท 1.9.2จัดตั้งกองทุนพัฒนาศักยภาพสตรีเฉลี่ยจังหวัดละ 100 ล้านบาท 1.9.3จัดตั้งกองทุนตั้งตัวได้วงเงินประมาณ 1 พันล้านต่อสถาบันอุดมศึกษา 1.10 ยกระดับสินค้าการเกษตรและให้เกษตรกรเข้าถึงแหล่งเงินทุน โดยให้มีการประกันภัยพืชผลและนำระบบรับจำนำสินค้าการเกษตรมาใช้ รวมถึงการออกบัตรเครดิตสำหรับเกษตรกร 1.11 ส่งเสริมให้มีการจัดการน้ำอย่างบูรณาการด้วยการสร้างระบบชลประทานขนาดใหญ่-กลาง-เล็ก 1.12 เร่งเพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยวโดยได้ปี 2554 - 2555 เป็นปีมหัศจรรย์ไทยแลนด์ (มิลาเคิลไทยแลนด์ เยียร์) และประชาสัมพันธ์ให้นักท่องเที่ยวร่วมเฉลิมฉลองในพระราชพิธีมหามงคลในช่วงปี 2554-2555 1.13 สนับสนุนงานศิลปหัตถกรรมเพื่อสร้างเอกลักษณ์และผลิตสินค้าในท้องถิ่น 1.13.1 สนับสนุนมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพ 1.13.2บริหารโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ให้มีศักยภาพ 1.14 พัฒนาระบบประกันสุขภาพ 30 บาทรักษาทุกโรค 1.15จัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์แทปเล็ตให้โรงเรียน โดยเริ่มทดลองดำเนินการในโรงเรียนนำร่อง สำหรับระดับประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2554 ควบคู่กับการพัฒนาเนื้อหาที่เหมาะสมตามหลักสูตรบรรจุลงในแทปเล็ต รวมถึงทำอินเตอร์เน็ตไร้สายในระดับการให้บริหารและในพื้นที่สาธารณะ รวมถึงสถานศึกษาที่กำหนดฟรี 1.16 เร่งรัดและผลักดันการปฏิรูปการเมือง ที่ประชาชนมีส่วนร่วมอย่างกว้างขว้าง โดยมีสภาร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ โดยให้ประชาชนเห็นชอบโดยการออกเสียงประชามติ 2. นโยบายความมั่นคงแห่งรัฐ เช่น เทิดทูนและพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์, พัฒนาและเสริมสร้างระบบป้องกันประเทศของกองทัพให้มีความมั่นคง 3.นโยบายเศรษฐกิจ 4.นโยบายคุณภาพชีวิต 5.นโยบายที่ดินทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 6.นโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี การวิจัย และนวัตกรรม 7.นโยบายการต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ 8.นโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี รัฐบาลได้เน้น 4 นโยบายหลัก 1. นโยบายแก้ไขปัญหาอุทกภัย เพื่อบรรเทา เยียวยา และป้องกันอุทกภัยในอนาคตโดยในระยะสั้น กระทรวงการคลังได้ขยายเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินดำเนินมาตรการช่วยเหลือทางการเงินผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจ มาตรการช่วยเหลือด้านภาษี รวมทั้งจัดตั้งกองทุนส่งเสริมประกันภัยพิบัติ และในระยะปานกลางถึงยาว กระทรวงการคลังได้สนับสนุนการลงทุนเพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้ำและสร้างอนาคตประเทศ 350,000 ล้านบาท 2. นโยบายลดรายจ่ายเพื่อบรรเทาภาระของประชาชนจากอัตราเงินเฟ้อที่สูงขึ้นในช่วงที่ผ่านมา ด้วยโครงการพักหนี้เกษตรกรรายย่อยและผู้มีรายได้น้อย การลดอัตราภาษีสรรพสามิตน้ำมันดีเซล การต่ออายุมาตรการค่าครองชีพ และบัตรเครดิตพลังงาน 3. นโยบายเพิ่มรายได้ เพื่อเสริมสร้างกำลังซื้อและความเป็นอยู่ของประชาชน ด้วยการปรับเพิ่มขึ้นค่าแรงขั้นต่ำเป็น 300 บาท/วัน และโครงการขึ้นเงินเดือนข้าราชการที่จบปริญญาตรีเป็น 15,000 บาท/เดือน และโครงการจำนำข้าวของ ธ.ก.ส. และ 4. นโยบายขยายโอกาส เพื่อเสริมสร้างศักยภาพของประชาชน ผู้ประกอบการ และประเทศ ด้วยการลดภาษีเงินได้นิติบุคคลจากร้อยละ 30 เป็นร้อยละ 23 ในปี 2555 และร้อยละ 20 ในปี 2556 โครงการรถคันแรก โครงการบ้านหลังแรก และกองทุนตั้งตัวได้ 

นโยบายของรัฐบาลยิ่งลักษณ์จะแบ่งออกเป็น 8 ข้อใหญ่ แบ่งเป็น 2 ส่วนคือ ข้อหนึ่งเป็น “นโยบายเร่งด่วนที่จะดำเนินการในปีแรก” ส่วนอีกเจ็ดข้อที่เหลือคือนโยบายระยะยาว 4 ปี แบ่งออกเป็นนโยบายตามด้านต่างๆ

  1. นโยบายเร่งด่วนที่จะดำเนินการในปีแรก
  2. นโยบายความมั่นคงแห่งรัฐ
  3. นโยบายเศรษฐกิจ
  4. นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต
  5. นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
  6. นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัย และนวัตกรรม
  7. นโยบายการต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
  8. นโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

1) นโยบายเร่งด่วนที่จะเริ่มดำเนินการในปีแรก

แบ่งออกเป็น 16 ข้อย่อย โดยส่วนมากคือนโยบายที่พรรคเพื่อไทยหาเสียงเอาไว้ช่วงก่อนการเลือกตั้ง

๑.๑ สร้างความปรองดองสมานฉันท์ของคนในชาติและฟื้นฟูประชาธิปไตย
๑.๑.๑ สร้างความปรองดองสมานฉันท์ของคนในชาติและฟื้นฟูประชาธิปไตย โดยการเสริมสร้างความเข้าใจร่วมกันของประชาชนในชาติให้เกิดความสมัครสมานสามัคคีเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
๑.๑.๒ เยียวยาและฟื้นฟูอย่างต่อเนื่องแก่บุคคลทุกฝ่าย เช่น ประชาชน เจ้าหน้าที่รัฐ และผู้ประกอบการภาคเอกชน ซึ่งได้รับผลกระทบอันเนื่องมาจากความเห็นที่แตกต่าง และความรุนแรงที่ก่อตัวขึ้นตั้งแต่ช่วงปลายของการใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐
๑.๑.๓ สนับสนุนให้คณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื่อการปรองดองแห่งชาติ (คอป.) ดำเนินการอย่างเป็นอิสระและได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายอย่างเต็มที่ในการตรวจสอบและค้นหาความจริงจากกรณีความรุนแรงทางการเมือง การละเมิดสิทธิมนุษยชน การสูญเสียชีวิต บาดเจ็บทางร่างกายและจิตใจ รวมทั้งความเสียหายทางทรัพย์สิน

๑.๒ กำหนดให้การแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติดเป็น “วาระแห่งชาติ” โดยยึดหลักนิติธรรมในการปราบปรามลงโทษผู้ผลิต ผู้ค้า ผู้มีอิทธิพล และผู้ประพฤติมิชอบ โดยบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด ยึดหลักผู้เสพคือผู้ป่วยที่ต้องได้รับการบำบัดรักษาให้กลับมาเป็นคนดีของสังคม พร้อมทั้งมีกลไกติดตามช่วยเหลืออย่างเป็นระบบดำเนินการอย่างจริงจังในการป้องกันปัญหาด้วยการแสวงหาความร่วมมือเชิงรุกกับต่างประเทศในการควบคุมและสกัดกั้นยาเสพติด สารเคมี และสารตั้งต้นในการผลิตยาเสพติดที่ลักลอบเข้าสู่ประเทศภายใต้การบริหารจัดการอย่างบูรณาการและมีประสิทธิภาพ รวมทั้งดำเนินการป้องกันกลุ่มเสี่ยงและประชาชนทั่วไปไม่ให้เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด ด้วยการรวมพลังทุกภาคส่วนเป็นพลังแผ่นดินในการต่อสู้กับยาเสพติด

๑.๕ เร่งนำสันติสุขและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนกลับมาสู่พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ควบคู่ไปกับการขจัดความยากจน ยาเสพติด และอิทธิพลอำนาจมืด โดยน้อมนำกระแสพระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” เป็นหลักปฏิบัติในแนวทางสันติวิธี โดยเน้นการส่งเสริมความร่วมมือในทุกภาคส่วนกับประชาชนในพื้นที่ อำ นวยความยุติธรรมอย่างทั่วถึง เพิ่มโอกาสทางการศึกษาและคุณภาพชีวิต สร้างโอกาสและความเสมอภาค พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในพื้นที่ เคารพอัตลักษณ์ ขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น ส่งเสริมการกระจายอำนาจการปกครองส่วนท้องถิ่นในรูปแบบที่สอดคล้องกับลักษณะพื้นที่โดยไม่ขัดกับรัฐธรรมนูญ ทั้งนี้ จะมีการบูรณาการการบริหารจัดการทุกภาคส่วนให้มีเอกภาพทั้งในระดับนโยบายและระดับปฏิบัติ รวมทั้งปรับปรุง พัฒนากฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้อง ทันสมัยกับสภาพความเป็นจริงของปัญหาที่เกิดขึ้น ตลอดจนเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากความไม่สงบอย่างเป็นธรรม

๑.๖ เร่งฟื้นฟูความสัมพันธ์และพัฒนาความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านและนานาประเทศ เพื่อสนับสนุนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในภูมิภาคร่วมกัน โดยเฉพาะการเร่งแก้ไขปัญหากระทบกระทั่งตามแนวพรมแดน ผ่านกระบวนการทางการทูตบนพื้นฐานของสนธิสัญญาและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และเร่งดำเนินการตามข้อผูกพันในการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ ทั้งในมิติเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคง ตลอดจนการเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคมขนส่งภายในและภายนอกภูมิภาค

๑.๗ แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนและผู้ประกอบการเนื่องจากภาวะเงินเฟ้อและราคาน้ำมันเชื้อเพลิง

๑.๗.๑ ชะลอการเก็บเงินเข้ากองทุนน้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับน้ำมันเชื้อเพลิงบางประเภทชั่วคราวเพื่อให้ราคาน้ำมันเชื้อเพลิงลดลงทันที และปรับโครงสร้างราคาพลังงานทั้งระบบให้มุ่งสู่การสะท้อนราคาต้นทุนพลังงาน

๑.๗.๒ จัดให้มีบัตรเครดิตพลังงานสำหรับผู้ประกอบอาชีพรถรับจ้างขนส่งผู้โดยสารสาธารณะในวงเงินที่เหมาะสมกับค่าใช้จ่ายน้ำมันเชื้อเพลิงที่ใช้จริงต่อเดือน

๑.๗.๓ ดูแลราคาสินค้าอุปโภคบริโภคและราคาพลังงานให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมและเป็นธรรมแก่ผู้บริโภคและผู้ผลิต

๑.๗.๔ แก้ไขปัญหาค่าครองชีพโดยการดูแลราคาสินค้าและการมีรายได้เพื่อเพิ่มกำลังซื้อสุทธิของประชาชนโดยป้องกันและแก้ไขการผูกขาดทั้งทางตรงและทางอ้อม

๑.๘ ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยเพิ่มกำลังซื้อภายในประเทศ สร้างสมดุลและความเข้มแข็งอย่างมีคุณภาพให้แก่ระบบเศรษฐกิจมหภาค

๑.๘.๑ พักหนี้ครัวเรือนของเกษตรกรรายย่อยและผู้มีรายได้น้อยที่มีหนี้ต่ำกว่า ๕๐๐,๐๐๐ บาท อย่างน้อย ๓ ปี และปรับโครงสร้างหนี้สำหรับผู้ที่มีหนี้เกิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท รวมทั้งจัดทำแผนฟื้นฟูอาชีพและแผนการปรับโครงสร้างการผลิตอย่างครบวงจร เพื่อสร้างโอกาสในการยกระดับคุณภาพชีวิตด้วยการมีรายได้ที่มั่นคงและสามารถใช้หนี้คืน

๑.๘.๒ ดำเนินการให้แรงงานมีรายได้เป็นวันละไม่น้อยกว่า ๓๐๐ บาท และผู้ที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรีมีรายได้เดือนละไม่น้อยกว่า ๑๕,๐๐๐ บาท อย่างสอดคล้องกับผลิตภาพและประสิทธิภาพของบุคลากร รวมทั้งมีมาตรการเพื่อลดภาระแก่ผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบเพื่อให้แรงงานและบุคลากรสามารถดำรงชีพได้อย่างมีศักดิ์ศรีและคุณภาพชีวิตที่ดี

๑.๘.๓ จัดให้มีเบี้ยยังชีพรายเดือนแบบขั้นบันไดสำหรับผู้สูงอายุ โดยผู้ที่มีอายุ ๖๐-๖๙ ปี จะได้รับ ๖๐๐ บาท อายุ ๗๐-๗๙ ปี จะได้รับ ๗๐๐ บาท อายุ ๘๐-๘๙ ปี จะได้รับ ๘๐๐ บาท และอายุ ๙๐ ปีขึ้นไป จะได้รับ ๑,๐๐๐ บาท

๑.๘.๔ ให้มีมาตรการภาษีเพื่อลดภาระการลงทุนสำหรับสิ่งจำเป็นในชีวิตของประชาชนทั่วไป ได้แก่ บ้านหลังแรกและรถยนต์คันแรก

๑.๙ ปรับลดภาษีเงินได้นิติบุคคล ให้เหลือร้อยละ ๒๓ ในปีพ.ศ. ๒๕๕๕ และลดลงเหลือร้อยละ ๒๐ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขันของภาคเอกชน ขยายฐานภาษี และรองรับการเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. ๒๕๕๘

๑.๑๐ ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุน สนับสนุนสินเชื่อรายย่อย โดยเฉพาะสินเชื่อเพื่อประกอบอาชีพให้แก่ประชาชนผู้มีรายได้น้อย รวมถึงเพิ่มสวัสดิการของรัฐเพื่อเป็นการดูแลสังคมในชุมชน จัดหาแหล่งเงินทุนให้แก่ผู้ประกอบการและประชาชน โดย

๑.๑๐.๑ เพิ่มเงินทุนกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองอีกแห่งละ ๑ ล้านบาท

๑.๑๐.๒ จัดตั้งกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี โดยมีวงเงินเฉลี่ยจังหวัดละ ๑๐๐ ล้านบาท

๑.๑๐.๓ จัดตั้งกองทุนตั้งตัวได้ในวงเงินประมาณ ๑,๐๐๐ ล้านบาท ต่อสถาบันอุดมศึกษาที่ร่วมโครงการ สนับสนุนการสร้างผู้ประกอบการรายย่อย เพื่อให้สามารถกู้ยืมเพื่อการสร้างอาชีพ ผนวกกับกลไกของ “หน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ” ในสถานศึกษาโดยมุ่งให้เกิดวิสาหกิจนวัตกรรมใหม่ที่จะเป็นกลไกใหม่ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ

๑.๑๐.๔ จัดสรรงบประมาณเข้ากองทุนพัฒนาศักยภาพของหมู่บ้านและชุมชน (SML) ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นจำนวนเงิน ๓๐๐,๐๐๐ ๔๐๐,๐๐๐ และ ๕๐๐,๐๐๐ บาทตามลำดับขนาดของหมู่บ้าน เพื่อให้หมู่บ้านบริหารจัดการกองทุนเพื่อการพัฒนาชุมชนด้วยตนเอง

๑.๑๑ ยกระดับราคาสินค้าเกษตรและให้เกษตรกรเข้าถึงแหล่งเงินทุน โดยดูแลราคาสินค้าเกษตรให้มีเสถียรภาพที่เหมาะสม คำนึงถึงกลไกราคาตลาดโลก โดยใช้วิธีบริหารจัดการทางการตลาดและกลไกตลาดซื้อขายล่วงหน้า รวมทั้งผลักดันให้เกษตรกรสามารถขายสินค้าเกษตรได้ในราคาสูงเพียงพอเมื่อเทียบกับต้นทุน และนำระบบรับจำนำสินค้าเกษตรมาใช้ในการสร้างความมั่นคงด้านรายได้ให้แก่เกษตรกร เริ่มต้นจากการรับจำนำข้าวเปลือกเจ้าและข้าวเปลือกหอมมะลิ ความชื้นไม่เกินร้อยละ ๑๕ ที่ราคาเกวียนละ ๑๕,๐๐๐ บาท และ ๒๐,๐๐๐ บาทตามลำดับ พร้อมทั้งจัดให้มีการเยียวยาความเสียหายของพืชผลจากภัยธรรมชาติให้แก่เกษตรกร การจัดทำระบบทะเบียนครัวเรือนเกษตรกรให้สมบูรณ์ และการออกบัตรเครดิตสำหรับเกษตรกร

๑.๑๒ เร่งเพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยวทั้งในและนอกประเทศโดยประกาศให้ปี พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๕๕ เป็นปี“มหัศจรรย์ไทยแลนด์” (“Miracle Thailand” Year) และประชาสัมพันธ์เชิญชวนนักท่องเที่ยวต่างชาติเข้าร่วมเฉลิมฉลองในพระราชพิธีมหามงคลที่จะมีขึ้นในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๕๕

๑.๑๖ เร่งรัดและผลักดันการปฏิรูปการเมืองที่ประชาชนมีส่วนร่วมอย่างกว้างขวาง โดยมีสภาร่างรัฐธรรมนูญที่เป็นอิสระยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ เพื่อวางกลไกการใช้อำนาจอธิปไตยที่ยึดหลักนิติธรรม และองค์กรที่ใช้อำนาจรัฐที่มีความรับผิดชอบต่อประชาชนและพร้อมรับการตรวจสอบ ทั้งนี้ ให้ประชาชนเห็นชอบผ่านการออกเสียงประชามติ

2) นโยบายความมั่นคงแห่งรัฐ

ส่วนของนโยบายระยะยาวเริ่มต้นที่ข้อที่ 2 เรื่องนโยบายความมั่นคงของประเทศ นโยบายที่น่าสนใจได้แก่

พัฒนาและเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศ ส่งเสริมให้กองทัพพัฒนาความสัมพันธ์ทางทหารกับมิตรประเทศ และมีความพร้อมในการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพในกรอบสหประชาชาติ พัฒนาความสัมพันธ์ของหน่วยงานด้านความมั่นคงและกองทัพกับประเทศเพื่อนบ้าน ทั้งจะแก้ไขปัญหาต่าง ๆ กับประเทศเพื่อนบ้านบนพื้นฐานของการสร้างบรรยากาศความไว้เนื้อเชื่อใจทั้งภาครัฐและภาคประชาชน ดำเนินการสำรวจและจัดทำหลักเขตแดนตามหลักฐานพื้นฐานของกฎหมายและสนธิสัญญาที่มีอยู่เพื่อมิให้เป็นเงื่อนไขของความขัดแย้ง รวมทั้งส่งเสริมความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านเพื่อระงับยับยั้งและปราบปรามอาชญากรรมข้ามชาติและยาเสพติดให้หมดไป

 พัฒนาระบบการเตรียมพร้อมแห่งชาติ โดยเน้นการบริหารวิกฤตการณ์เพื่อรับมือภัยคุกคามด้านต่าง ๆ ทั้งที่เกิดจากภัยธรรมชาติและภัยที่มนุษย์สร้างขึ้นที่มากขึ้น โดยมุ่งระดมสรรพกำลังจากทุกภาคส่วนให้สามารถดำเนินงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อป้องกัน แก้ไข บรรเทา และฟื้นฟูความเสียหายของชาติที่เกิดจากภัยต่าง ๆ รวมถึงให้ความสำคัญในการเตรียมพร้อมเพื่อเผชิญกับปัญหาความมั่นคงในรูปแบบใหม่ในทุกด้าน ได้แก่ ด้านพลังงาน ด้านสิ่งแวดล้อม ความมั่นคงของมนุษย์ อาชญากรรมข้ามชาติ การก่อการร้าย และอุบัติภัย ทั้งนี้ เพื่อให้มีความพร้อมรับมือกับความเปลี่ยนแปลงของประเด็นปัญหาด้านความมั่นคงในยุคโลกาภิวัตน์

3) นโยบายเศรษฐกิจ

แบ่งเป็นข้อย่อยหลายข้อ เริ่มจาก

๓.๑ นโยบายเศรษฐกิจมหภาค

ดำเนินการให้มีการกระจายรายได้ที่เป็นธรรมให้แก่คนส่วนใหญ่ของประเทศ และให้เศรษฐกิจสามารถเจริญเติบโตในอัตราสูงอย่างมีเสถียรภาพ โดยดำเนินนโยบายเศรษฐกิจที่สนับสนุนการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม และก่อให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน มีการจ้างงานเต็มที่ ระดับราคามีเสถียรภาพระมัดระวังความเสี่ยงจากความผันผวนของการเคลื่อนย้ายเงินทุนระหว่างประเทศ โดยการสร้างความเข้มแข็งและมีประสิทธิภาพของตลาดเงินและตลาดทุนในประเทศ รวมถึงการสร้างความร่วมมือในภูมิภาคเพื่อรองรับความผันผวนที่อาจเกิดขึ้น

ปรับโครงสร้างภาษีอากรทั้งระบบเพื่อสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ สร้างความเป็นธรรมในสังคม ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างฐานรายได้ภาษีที่ยั่งยืนในระยะยาว รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้ทั้งจากภาษีและที่มิใช่ภาษี

บริหารสินทรัพย์ของประเทศที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์และความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ทั้งสินทรัพย์ของภาครัฐ ตลอดจนทุนในท้องถิ่นที่รวมถึงภูมิปัญญาท้องถิ่น วิถีชีวิต วัฒนธรรม รวมทั้งพิจารณาการจัดตั้งกองทุนที่สามารถใช้ในการบริหารสินทรัพย์ของชาติให้เป็นประโยชน์ เช่น กองทุนมั่งคั่งแห่งชาติ กองทุนนํ้ามัน เชื้อเพลิงสำรองแห่งชาติ และกองทุนความมั่นคงทางอาหาร เป็นต้น

๓.๓ นโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ

๓.๓.๑ ภาคเกษตรกรรม

๖) จัดทำระบบทะเบียนครัวเรือนเกษตรกรที่มีข้อมูลการเกษตรของครัวเรือนครบถ้วน สามารถเชื่อมโยงกับบัตรเครดิตสำหรับเกษตรกร และมีการปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่เสมอเพื่อความสะดวกในการสนับสนุนช่วยเหลือและพัฒนาเกษตรกร สร้างหลักประกันความมั่นคงในการประกอบอาชีพให้แก่เกษตรกร จัดให้มีอาสาสมัครเกษตรหมู่บ้านเพื่อสนับสนุนการทำงานของภาครัฐ ตลอดจนจัดให้มีรายการโทรทัศน์เพื่อการเกษตรเพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการผลิตและการตลาดแก่เกษตรกรทั่วไป

๓.๓.๒ ภาคอุตสาหกรรม

๖) พัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรมแห่งใหม่ โดยพัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรมใหม่ในทุกภูมิภาคที่เหมาะสมเพื่อรองรับการลงทุนด้านอุตสาหกรรมที่ไม่ก่อมลพิษ และพัฒนาเส้นทางการขนส่งเชื่อมโยงระหว่างพื้นที่อุตสาหกรรมดังกล่าวกับท่าเรือน้ำลึกแหลมฉบังและท่าเรือมาบตาพุด รวมทั้งการพัฒนาสะพานเศรษฐกิจระหว่างฝั่งอันดามันและฝั่งอ่าวไทยสำหรับรองรับอุตสาหกรรมที่ไม่ก่อมลพิษและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน

๓.๓.๔ การตลาด การค้า และการลงทุน

๕) ส่งเสริมการขยายตลาดเชิงรุกเพื่อรักษาตลาดเดิมและสร้างตลาดใหม่เพื่อลดการพึ่งพาการส่งออกไปตลาดหลัก โดยส่งเสริมการส่งออกสินค้าและบริการในตลาดใหม่ ได้แก่ จีน อินเดีย ตะวันออกกลาง แอฟริกา และยุโรปตะวันออก พร้อมทั้งรักษาส่วนแบ่งในตลาดหลักไม่ให้ลดลง ตลอดจนการเตรียมความพร้อมในเชิงของทักษะเทคโนโลยี และวิทยาการที่จำเป็นในการแข่งขันระดับโลกเพื่อการขยายตัวอย่างยั่งยืนของประเทศในอนาคต และเป็นการส่งเสริมให้สินค้าและบริการของไทยเป็นที่รู้จักและยอมรับอย่างแพร่หลายจากผู้บริโภคในประเทศต่าง ๆ

๓.๔ นโยบายโครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนาระบบรางเพื่อขนส่งมวลชน และการบริหารจัดการระบบขนส่งสินค้าและบริการ

๓.๔.๔ พัฒนาระบบคมนาคมขนส่งทางราง โดยเชื่อมโยงโครงข่ายและการบริหารจัดการขนส่งผู้โดยสาร และสินค้าและบริการที่สะดวกและปลอดภัยทั้งในพื้นที่ชนบท พื้นที่เมือง และระหว่างประเทศ รวมทั้งสนับสนุนการขยายฐานการผลิตตามแนวเส้นทางรถไฟ

๑) พัฒนาระบบรถไฟทางคู่เชื่อมชานเมืองและหัวเมืองหลักในเส้นทางที่มีความสำคัญ
๒) ศึกษาและพัฒนารถไฟความเร็วสูงสาย กรุงเทพฯ–เชียงใหม่ กรุงเทพฯ–นครราชสีมา กรุงเทพฯ–หัวหิน และเส้นทางอื่นเพื่อเตรียมการเชื่อมต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน
๓) ศึกษาและพัฒนาขยายทางรถไฟสายแอร์พอร์ตเรลลิงค์ ต่อจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิไปยังชลบุรีและพัทยา

๓.๕ นโยบายพลังงาน

๓.๕.๓ กำกับราคาพลังงานให้มีราคาเหมาะสม เป็นธรรมและมุ่งสู่การสะท้อนต้นทุนที่แท้จริง โดยปรับบทบาทกองทุนน้ำมันให้เป็นกองทุนสำหรับรักษาเสถียรภาพราคา ส่วนการชดเชยราคานั้นจะดำเนินการอุดหนุนเฉพาะกลุ่ม ส่งเสริมให้มีการใช้ก๊าซธรรมชาติมากขึ้นในภาคขนส่ง และส่งเสริมการใช้แก๊สโซฮอล์และไบโอดีเซลในภาคครัวเรือน

๓.๖ นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ

๓.๖.๒ ส่งเสริมการเข้าถึงการใช้บริการเครือข่ายอินเทอร์เน็ตสาธารณะที่มีการใช้งานตามความเหมาะสมโดยไม่คิดค่าใช้จ่าย ผลักดันให้คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ใช้กองทุนวิจัยและพัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมเพื่อประโยชน์สาธารณะ จัดให้มีบริการเครือข่ายอินเทอร์เน็ตตามมาตรฐานการให้บริการในพื้นที่สาธารณะ สถานที่ราชการ และสถานศึกษาที่กำหนดโดยไม่คิดค่าใช้จ่าย หรือกำหนดเป็นเงื่อนไขให้ผู้ประกอบการจัดให้บริการโทรคมนาคมอย่างทั่วถึง

4) นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต

แบ่งเป็นหลายข้อย่อยเช่นกัน

๔.๑ นโยบายการศึกษา

๔.๑.๒ สร้างโอกาสทางการศึกษา กระจายโอกาสทางการศึกษาในสังคมไทย โดยคำนึงถึงการสร้างความเสมอภาคและความเป็นธรรมให้เกิดขึ้นแก่ประชากรทุกกลุ่ม ซึ่งรวมถึงผู้ยากไร้ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้บกพร่องทางกายและการเรียนรู้ รวมทั้ง ชนกลุ่มน้อย โดยส่งเสริมการให้ความรู้ตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดาถึงแรกเกิดให้ได้รับการดูแลอย่างมีประสิทธิภาพทั้งแม่และเด็ก สนับสนุนการจัดการศึกษาตามวัยและพัฒนาการอย่างมีคุณภาพตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยจัดให้มีการเทียบโอนวุฒิการศึกษาสำหรับกลุ่มที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง เช่น กลุ่มแม่บ้าน จัดให้มีระบบสะสมผลการศึกษาและการเทียบโอนเพื่อขยายโอกาสให้กว้างขวางและลดปัญหาคนออกจากระบบการศึกษา

๔.๒ นโยบายแรงงาน

เตรียมการรองรับการเปิดการเคลื่อนย้ายแรงงานเสรีภายใต้ประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยเน้นระบบบริหารจัดการเพื่อจัดระเบียบแรงงานข้ามชาติ จัดระบบอำนวยความสะดวก และมาตรการการกำกับดูแล ติดตามการเข้าออกของแรงงานทุกประเภทเพื่อดึงดูดแรงงานที่มีฝีมือเข้าประเทศควบคู่กับการป้องกันผลกระทบจากการเข้าประเทศของแรงงานไร้ฝีมือ

๔.๓ นโยบายสุขภาพ

ขับเคลื่อนให้ประเทศไทยเป็นเลิศในผลิตภัณฑ์และการบริการด้านสุขภาพและการรักษาพยาบาลในภูมิภาคเอเชีย โดยประสานความร่วมมือกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการสร้างความก้าวหน้าในทางวิชาการ และไม่ก่อให้เกิดผลกระทบกับบริการสุขภาพโดยรวมของคนไทย สนับสนุนเอกชนให้จัดบริการศูนย์พักฟื้นผู้ป่วยที่มีมาตรฐาน รวมทั้งแก้ไขปรับปรุงกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องเพื่อให้มีการใช้บุคลากรทางการแพทย์ร่วมกันระหว่างภาครัฐและเอกชนให้เอื้ออำนวยต่อการดำเนินงาน

5) นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

สร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำในการใช้ประโยชน์ที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติ โดยการปฏิรูปการจัดการที่ดินโดยให้มีการกระจายสิทธิที่ดินอย่างเป็นธรรมและยั่งยืนโดยใช้มาตรการทางภาษีและจัดตั้งธนาคารที่ดินให้แก่คนจนและเกษตรกรรายย่อย พิจารณาให้ประชาชนได้ใช้ประโยชน์ที่ดินทิ้งร้างทางราชการ ปกป้องที่สาธารณประโยชน์ ที่ดินทุ่งเลี้ยงสัตว์ ห้ามการปิดกั้นชายหาดสาธารณะ ผลักดันกฎหมายในการรับรองสิทธิของชุมชนในการจัดการทรัพยากร ที่ดิน น้ำ ป่าไม้ และทะเล ปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แก้ไขปัญหาการดำเนินคดีโลกร้อนกับคนจน

 สร้างภูมิคุ้มกันและเตรียมความพร้อมในการรองรับและปรับตัวต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศและพิบัติภัยธรรมชาติ โดยการพัฒนาองค์ความรู้และระบบฐานข้อมูลเกี่ยวกับผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เพิ่มขีดความสามารถในการพยากรณ์และคาดการณ์ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยธรรมชาติในระดับประเทศและระดับพื้นที่ จัดทำยุทธศาสตร์รองรับพิบัติภัยระยะยาว ส่งเสริมและเร่งรัดการเตือนภัย และการเตรียมความพร้อมในการรับมือความแปรปรวนในปัจจุบัน เพื่อให้เป็นฐานกับการรับมือความเปลี่ยนแปลงในระยะยาว ป้องกันภัยพิบัติโดยเฉพาะน้ำท่วม สึนามิ แผ่นดินไหว และดินถล่ม สร้างกลไกส่งเสริมการเข้าถึงข้อมูลระดับชุมชน ท้องถิ่น เพิ่มขีดความสามารถในระดับชุมชนให้เข้มแข็งพร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและภัยพิบัติต่าง ๆ ดำเนินการศึกษาอย่างรอบคอบในเรื่องของความจำเป็นของโครงการพัฒนาเขื่อนและเกาะเพื่อป้องกันกรุงเทพฯ และภาคกลางให้ปลอดภัยจากการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเล และจากการละลายของน้ำแข็งขั้วโลกตามสภาวะโลกร้อนที่กำลังเกิดขึ้น

6) นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัย และนวัตกรรม

นโยบายด้านวิทยาศาสตร์และการวิจัยเป็นสิ่งที่พูดกันมานานแล้วอีกเช่นกัน แต่ประเทศไทยยังประสบปัญหาในการพัฒนาเทคโนโลยีไม่เปลี่ยนแปลง

ส่งเสริมการใช้ข้อมูลเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ การวางแผนการผลิตด้านการเกษตร การป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติ ยกระดับคุณภาพชีวิต และเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

7) นโยบายการต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ

นโยบายเรื่องต่างประเทศเป็นสิ่งที่น่าจับตามอง เพราะปัจจัยทั้งจากความสัมพันธ์กับกัมพูชา และเส้นตายการรวมประชาคมอาเซียน 2015 ที่ใกล้เข้ามาเรื่อยๆ

๗.๑ เร่งส่งเสริมและพัฒนาความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน โดยส่งเสริมความร่วมมือทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาชน และสื่อมวลชน เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจอันดีและความใกล้ชิดระหว่างกัน อันจะนำไปสู่การขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน การส่งเสริมการท่องเที่ยว การขยายการคมนาคมขนส่ง และความร่วมมือด้านอื่น ๆ ภายใต้กรอบความร่วมมืออนุภูมิภาคเพื่อส่งเสริมความเป็นเพื่อนบ้านที่ดีต่อกัน

๗.๒ สร้างความสามัคคีและส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศอาเซียน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายในการจัดตั้งประชาคมอาเซียนและส่งเสริมความร่วมมือกับประเทศอื่น ๆ ในเอเชียภายใต้กรอบความร่วมมือด้านต่าง ๆ และเตรียมความพร้อมของทุกภาคส่วนในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และความมั่นคง

8) นโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

นโยบายข้อสุดท้ายพูดถึงการขับเคลื่อนนโยบายทั้งหมดที่ว่ามา ผ่านการบริหารราชการแผ่นดินด้วยกลไกลภาครัฐต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นหน่วยราชการ หรือองค์กรอื่นๆ อย่างมีประสิทธิภาพและโปร่งใส

๘.๑ ประสิทธิภาพการบริหารราชการแผ่นดิน

 สนับสนุนการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีระบบที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และสามารถให้บริการสาธารณะตอบสนองความต้องการของประชาชนได้ตามความคาดหวัง รวมทั้งส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหลาย ๆ แห่งร่วมกันจัดบริการสาธารณะบางอย่าง ซึ่งโดยสภาพหรือเพื่อประสิทธิภาพ ควรที่องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นต้องร่วมกันทำ โดยคำนึงถึงความจำเป็นและความเหมาะสมตามศักยภาพของท้องถิ่น ให้มีการเชื่อมโยงและบูรณาการภารกิจกับแผนชุมชนและแผนระดับต่าง ๆ ในพื้นที่ เพื่อเป็นฐานสำคัญในการส่งเสริมและพัฒนาประชาธิปไตยในท้องถิ่นให้เข้มแข็ง ปรับปรุงการจัดระบบความสัมพันธ์ของราชการบริหารส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่นให้มีความเหมาะสม ตลอดจนเพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการงบประมาณและบุคลากรของท้องถิ่น ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีรายได้ที่เหมาะสม และมีระบบบริหารงานบุคคลที่มีประสิทธิภาพพร้อมรองรับภารกิจและให้บริการที่ดีแก่ประชาชน ตลอดจนเสนอกฎหมายเกี่ยวกับการสร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามที่บัญญัติเป็นหลักการไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หมวด ๑๔ การปกครองส่วนท้องถิ่น

๘.๒ กฎหมายและการยุติธรรม

 ปฏิรูประบบกฎหมายและพัฒนากระบวนการยุติธรรมทั้งระบบให้มีความทันสมัย สอดคล้องกับหลักการประชาธิปไตย เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงและสอดคล้องกับหลักนิติธรรม เร่งรัดจัดตั้งองค์กรเพื่อการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมที่ดำเนินการโดยอิสระตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ รวมถึงสนับสนุนคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมายและองค์กรเพื่อการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมให้สามารถดำเนินการตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญได้อย่างเป็นรูปธรรม



นโยบายเศรษฐกิจ ของคณะรัฐมนตรี นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร

นโยบายเศรษฐกิจมหภาค

1.ดำเนิน การให้มีการกระจายรายได้ที่เป็นธรรมให้แก่คนส่วนใหญ่ของประเทศ และให้เศรษฐกิจสามารถเจริญเติบโตในอัตราสูงอย่างมีเสถียรภาพ โดยดำเนินนโยบายเศรษฐกิจที่สนับสนุนการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม และก่อให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน มีการจ้างงานเต็มที่ ระดับราคามีเสถียรภาพ ระมัดระวังความเสี่ยงจากความผันผวนของการเคลื่อนย้ายเงินทุนระหว่างประเทศ

2.ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุนที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการที่หลากหลายได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม

3.พัฒนา ระบบสถาบันการเงินในประเทศให้รับผิดชอบต่อคนส่วนใหญ่และผู้ด้อยโอกาส สามารถให้บริการที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของนวัตกรรมการเงินและความ ต้องการที่เปลี่ยนไปตามสภาวะเศรษฐกิจและสังคมด้วยค่าบริการที่ต่ำและการ บริการที่มีประสิทธิภาพ

4.ปรับโครงสร้างภาษีอากรทั้งระบบ เพื่อสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ สร้างความเป็นธรรมในสังคม ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างฐานรายได้ภาษีที่ยั่งยืนในระยะยาว รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้ทั้งจากภาษีและที่มิใช่ภาษี

5.ส่ง เสริมและรักษาวินัยการคลัง โดยปรับปรุงองค์ประกอบและโครงสร้างงบประมาณให้เหมาะสม มีระบบบริหารความเสี่ยงทางการคลังที่มีประสิทธิภาพ

6.ปรับปรุง โครงสร้างของรัฐวิสาหกิจ โดยมุ่งเน้นประสิทธิภาพการให้บริการ การบริหารทรัพย์สินให้เกิดประโยชน์สูงสุด และเร่งฟื้นฟูรัฐวิสาหกิจที่มีปัญหาฐานะการเงิน

7.บริหารสินทรัพย์ ของประเทศที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์และความมั่นคงทางเศรษฐกิจ รวมทั้งพิจารณาการจัดตั้งกองทุนที่สามารถใช้ในการบริหารสินทรัพย์ของชาติให้ เป็นประโยชน์ เช่น กองทุนมั่งคั่งแห่งชาติ กองทุนน้ำมันเชื้อเพลิงสำรองแห่งชาติ และกองทุนความมั่นคงทางอาหาร เป็นต้น

นโยบายสร้างรายได้

1.ส่ง เสริมการท่องเที่ยวจากทั้งภายนอกและภายในประเทศ จัดให้มีการพัฒนาการท่องเที่ยวและแหล่งท่องเที่ยว ให้มีรายได้จากนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น 2 เท่าตัวในเวลา 5 ปี

2.ขยาย บทบาทให้ธุรกิจการเกษตรและอาหารซึ่งเป็นแหล่งรายได้และการจ้างงานในประเทศมา เป็นเวลานานให้ก้าวข้ามไปสู่การเป็นศูนย์กลางการผลิตและการค้าอาหารคุณภาพ สูง เป็นที่ต้องการของผู้บริโภคที่มีฐานะและรสนิยมเฉพาะตัว การพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางตลาดซื้อขายล่วงหน้าสินค้าเกษตรและอาหาร จะทำให้เป้าหมายการเป็นครัวที่มีคุณภาพของโลกสัมฤทธิผลรวดเร็วยิ่งขึ้น

3.ส่ง เสริมและผลักดันให้อุตสาหกรรมพลังงานปิโตรเลียมและพลังงานทดแทนสามารถสร้าง รายได้จากความต้องการภายในประเทศ รวมทั้งสร้างการจ้างงานให้แก่ประเทศโดยถือเป็นอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ใหม่

4.ยก ระดับความสามารถในการแข่งขันและขยายช่องทางการตลาดของธุรกิจอุตสาหกรรม ธุรกิจบริการในประเทศ และธุรกิจวิสาหกิจชุมชนให้เข้าสู่ระบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในการผลิตสินค้าและ บริการที่มีคุณค่าและคุณภาพสูง

5.ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการขยายการ ลงทุนไปประเทศเพื่อนบ้านซึ่งมีความพร้อมทางด้านแรงงานและวัตถุดิบเพื่อสร้าง ความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจให้แก่ประเทศและภูมิภาค

6.ดึงดูดการลงทุน เข้าสู่ประเทศในสาขาที่เป็นการผลิตสินค้าและบริการที่มีพื้นฐานทางเทคโนโลยี มีมูลค่าสูง เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมถึงการลงทุนในการสร้างเมืองใหม่ในพื้นที่ที่เหมาะสม และโครงสร้างพื้นฐานสาธารณะ

7.เสริมสร้างกระบวนการสร้างอาชีพ สร้างงานที่มีคุณภาพและมีรายได้สูงให้แก่ประชาชนอย่างทั่วถึง

8.ส่งเสริมการขยายความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจการค้า การลงทุน และการเงิน ภายใต้ประโยชน์ร่วมกันของกรอบความร่วมมือและข้อตกลงทางการค้า

นโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ

ภาคเกษตร

1.ส่ง เสริมสนับสนุนให้สภาเกษตรกรแห่งชาติเป็นกลไกของเกษตรกรในการสื่อสารกับ รัฐบาลและร่วมกันพัฒนาเกษตรกรด้วยตนเองตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย

2.เพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตพืช โดยการวิจัยและพัฒนาสายพันธุ์ พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเพื่อให้ได้ผลผลิตสูง ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูพืช ใช้ปุ๋ยตามคุณสมบัติของดินแต่ละชนิด เพื่อลดต้นทุนการผลิตและพัฒนาคุณภาพผลผลิต

3.เพิ่มศักยภาพกระบวนการ ผลิตด้านปศุสัตว์ให้ได้มาตรฐาน ปลอดภัย เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพียงพอกับความต้องการภายในประเทศและการส่งออก

4.พัฒนาการประมง ทั้งในการเพาะเลี้ยงและในแหล่งน้ำธรรมชาติ โดยการฟื้นฟูทรัพยากรประมงและจัดระเบียบการทำประมงให้สมดุลกับศักยภาพการ ผลิตตามธรรมชาติ ขยายพื้นที่อนุรักษ์เพื่อการประมงทะเลพื้นบ้าน ส่งเสริมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเศรษฐกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม แสวงหาลู่ทางการทำประมงในน่านน้ำต่างประเทศที่ไม่ขัดต่อระเบียบขององค์การ ระหว่างประเทศและประเทศที่นำเข้า

5.เสริมสร้างฐานรากของครัวเรือน เกษตรกรให้เข้มแข็งโดยการเพิ่มประสิทธิภาพการเพาะปลูก ลดต้นทุนการผลิต พัฒนาระบบการผลิตที่เป็นขั้นตอน

6.จัดทำระบบทะเบียนครัวเรือน เกษตรกรที่มีข้อมูลการเกษตรของครัวเรือนครบถ้วน สามารถเชื่อมโยงกับบัตรเครดิตสำหรับเกษตรกรและมีการปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่ เสมอ

7.เร่งรัดพัฒนาธุรกิจการเกษตร โดยการพัฒนาสถาบันเกษตรกรในด้านธุรกิจ สร้างเกษตรกรรุ่นใหม่จากโครงการกองทุนตั้งตัวได้

8.พัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรมูลค่าเพิ่มเพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันในตลาดโลก

9.ส่ง เสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ ดำเนินการฟื้นฟูสภาพแวดล้อม สร้างความเข้มแข็งภาคเกษตรและสร้างความมั่นคงทางอาหารเพื่อเผชิญกับวิกฤต อาหารโลก

ภาคอุตสาหกรรม

1.ยกระดับความสามารถในการ แข่งขันของภาคอุตสาหกรรมในประเทศด้วยการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ลดต้นทุนของผู้ประกอบการ และยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล ตลอดจนส่งเสริมให้มีการสร้างตราสินค้าไทย

2.ยกระดับภาคอุตสาหกรรม เข้าสู่อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ที่ใช้ปัญญา ใช้เทคโนโลยี และใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทดแทนอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเป็นหลัก

3.พัฒนา และส่งเสริมอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปบนฐานความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และนวัตกรรมเพื่อเพิ่มมูลค่าและยกระดับสินค้าให้มีคุณภาพ มีความปลอดภัยตามมาตรฐานสากล และมีโอกาสในการขยายตลาด

4.สร้างความเข้มแข็งให้แก่วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยสนับสนุนช่องทางการเข้าถึงแหล่งสินเชื่อผ่านสถาบันการเงินต่างๆ

5.กำหนดมาตรฐานและคุณภาพขั้นพื้นฐานของสินค้าอุตสาหกรรมเมื่อมีการเปิดเสรีการค้ามากขึ้น เพื่อป้องกันสินค้านำเข้าที่ไม่ได้คุณภาพ

6.พัฒนา พื้นที่อุตสาหกรรมแห่งใหม่ รวมทั้งการพัฒนาสะพานเศรษฐกิจระหว่างฝั่งอันดามันและฝั่งอ่าวไทยสำหรับ รองรับอุตสาหกรรมที่ไม่ก่อมลพิษและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน

7.เร่งพัฒนาภาคอุตสาหกรรมให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความรับผิดชอบต่อสังคม และอยู่ร่วมกับชุมชนได้

8.ส่ง เสริมและจัดให้มีมาตรการทางภาษีและมาตรการอื่นที่เกี่ยวข้องในการพัฒนา อุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิดการประหยัดพลังงาน การใช้พลังงานทดแทน และการใช้พลังงานจากภาคเกษตร

9.สนับสนุนให้ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมทุกสาขาการผลิตเข้าประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรม

10.เร่งรัด สำรวจและแสวงหาแหล่งแร่สำคัญ เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ และพัฒนาอุตสาหกรรมต่อยอดเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มโดยให้ความสำคัญกับการกำกับ ดูแลผลกระทบสิ่งแวดล้อมและชุมชน

การตลาด การค้า และการลงทุน

1.ส่ง เสริมนโยบายการแข่งขันอย่างเสรีและเป็นธรรม เพื่อป้องกันการผูกขาดตัดตอน ส่งเสริมและพัฒนาบทบาทขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภคทั้ง ภาครัฐและเอกชน แก้ไขปรับปรุงกฎหมาย มาตรการต่างๆ เพื่อสร้างความเป็นธรรมให้แก่ผู้บริโภค

2.สร้างความเชื่อมั่นให้นัก ลงทุนทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยปรับปรุงพัฒนากฎหมายและกฎระเบียบที่ส่งเสริมการค้าการลงทุนที่ครอบคลุม การลงทุนด้านเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ และปรับปรุงมาตรการบริหารการนำเข้าเพื่อป้องกันการค้าที่ไม่เป็นธรรม

3.สนับสนุน การลงทุนในต่างประเทศในสาขาที่ผู้ประกอบการไทยมีศักยภาพ ส่งเสริมและสนับสนุนการเปิดร้านอาหารไทยของคนไทยตามนโยบายครัวไทยสู่ครัวโลก และนโยบายไทยเป็นครัวอาหารโลก

4.ปรับปรุงมาตรการการส่งเสริมการ ลงทุนให้ครอบคลุมการให้สิทธิประโยชน์แก่ธุรกิจในภาคเกษตร อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว การกีฬา และบริการ

5.ส่งเสริมการขยายตลาดเชิงรุก เพื่อรักษาตลาดเดิมและสร้างตลาดใหม่ เพื่อลดการพึ่งพาการส่งออกไปตลาดหลัก โดยส่งเสริมการส่งออกสินค้าและบริการในตลาดใหม่ ได้แก่ จีน อินเดีย ตะวันออกกลาง แอฟริกา และยุโรปตะวันออก

6.พัฒนาสินค้าและบริการที่สร้างโอกาสใหม่ในการหารายได้ การผลิตสินค้าและบริการอันเป็นที่ต้องการของผู้บริโภคในตลาดโลก

7.ขยายความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจการค้าการลงทุน และการตลาดภายใต้กรอบความร่วมมือและข้อตกลงการค้าเสรีในระบบพหุภาคีและทวิภาคี

8.เร่งรัด จัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษบริเวณพื้นที่ที่มีศักยภาพ โดยให้ความสำคัญต่อจังหวัดชายแดน เพื่อส่งเสริมการค้า การตลาด การลงทุน การจ้างงาน และการใช้วัตถุดิบจากประเทศเพื่อนบ้าน

นโยบายทางการเงิน  นางสาวยิ่งลักษณ์  ชินวัตร (นายกรัฐมนตรี)

นโยบายของรัฐบาลชุดนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ ชินวัตร มีจุดมุ่งหมาย 3 ประการ ประกอบด้วย 1.นำประเทศไทยไปสู่โครงสร้างเศรษฐกิจที่สมดุล มีความเข้มแข็งของเศรษฐกิจภายในประเทศมากขึ้น 2.นำประเทศไทยสู่สังคมที่มีความปรองดองสมานฉันท์ และ 3.นำประเทศไทยไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558 อย่างสมบูรณ์ โดยกำหนดนโยบายเป็น 2 ระยะ คือ ระยะเร่งด่วนที่จะเริ่มดำเนินการในปีแรก และระยะการบริหารราชการ 4 ปี
1.นโยบายเร่งด่วนที่จะเริ่มดำเนินการในปีแรก คือ
1) สร้างความปรองดองสมานฉันท์ เยียวยาและฟื้นฟูทุกฝ่าย เช่น ประชาชน เจ้าหน้าที่รัฐ และผู้ประกอบการภาคเอกชนที่ได้รับผลกระทบจากเหตุรุนแรงตั้งแต่ช่วงปลายการใช้รัฐธรรมนูญ 2540 สนับสนุนให้คณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื่อการปรองดองแห่งชาติ (คอป.) ดำเนินการอย่างเป็นอิสระ
 2) กำหนดให้การแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติดเป็น “วาระแห่งชาติ”
 3) ป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐอย่างจริงจัง
 4) ส่งเสริมการบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการและเร่งรัดขยายเขตพื้นที่ชลประทาน
 5) เร่งนำสันติสุขและความปลอดภัยกลับมาสู่พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยน้อมนำกระแสพระราชดำรัส “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” เป็นหลักปฏิบัติ
 6) เร่งฟื้นฟูความสัมพันธ์และพัฒนาความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านและนานาประเทศ
7) แก้ไขความเดือดร้อนของประชาชนและผู้ประกอบการเนื่องจากภาวะเงินเฟ้อและราคาน้ำมันเชื้อเพลิง โดยชะลอการเก็บเงินเข้ากองทุนน้ำมันเชื้อเพลิงชั่วคราวเพื่อให้ราคาน้ำมันเชื้อเพลิงลดลงทันที ปรับโครงสร้างราคาพลังงาน จัดให้มีบัตรเครดิตพลังงานสำหรับผู้ประกอบอาชีพรถรับจ้างขนส่งผู้โดยสารสาธารณะ ดูแลราคาสินค้าและการมีรายได้ ป้องกันและแก้ไขการผูกขาดทั้งทางตรงและทางอ้อม
8) ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยเพิ่มกำลังซื้อภายในประเทศ พักหนี้ครัวเรือนของเกษตรกรรายย่อย และผู้มีรายได้น้อยที่มีหนี้ต่ำกว่า 500,000 บาท อย่างน้อย 3 ปี และปรับโครงสร้างหนี้สำหรับผู้ที่มีหนี้เกิน 500,000 บาท ทำให้แรงงานมีรายได้เป็นวันละไม่น้อยกว่า 300 บาท ผู้จบปริญญาตรีมีรายได้เดือนละไม่น้อยกว่า 15,000 บาท จ่ายเบี้ยสูงอายุแบบขั้นบันได อายุ 60-69 ปี 600 บาท, อายุ 70-79 ปี 700 บาท, อายุ 80-89 ปี 800 บาท และอายุ 90 ปีขึ้นไป ได้รับ 1,000 บาท ลดภาษีบ้านหลังแรกและรถยนต์คันแรก
9) ลดภาษีเงินได้นิติบุคคล เหลือร้อยละ 23 ในปี 2555 และเหลือร้อยละ 20 ในปี 2556
10) ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุน โดยเพิ่มเงินทุนกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองอีกแห่งละ 1 ล้านบาท จัดตั้งกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี วงเงินเฉลี่ยจังหวัดละ 100 ล้านบาท จัดตั้งกองทุนตั้งตัวได้วงเงิน 1,000 ล้านบาท ต่อสถาบันอุดมศึกษาที่ร่วมโครงการ จัดสรรงบประมาณเข้ากองทุนเอสเอ็มแอล 300,000 400,000 และ 500,000 บาทตามขนาดหมู่บ้าน
11) ยกระดับราคาสินค้าเกษตรและให้เกษตรกรเข้าถึงแหล่งเงินทุน เริ่มจากการรับจำนำข้าวเปลือกเจ้าและข้าวเปลือกหอมมะลิ เกวียนละ 15,000 บาท และ 20,000 บาท จัดทำทะเบียนครัวเรือนเกษตรกรและการออกบัตรเครดิตสำหรับเกษตรกร
 12) เร่งเพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยวทั้งในและนอกประเทศ โดยประกาศให้ปี 2554-2555 เป็นปี “มหัศจรรย์ไทยแลนด์” และประชาสัมพันธ์เชิญชวนนักท่องเที่ยวต่างชาติเข้าร่วมเฉลิมฉลองในพระราชพิธีมหามงคลที่จะมีขึ้นในช่วงปี พ.ศ. 2554-2555
13) สนับสนุนการพัฒนางานศิลปหัตถกรรมและผลิตภัณฑ์ชุมชน
14) พัฒนาระบบประกันสุขภาพ เพิ่มประสิทธิภาพระบบ 30 บาทรักษาทุกโรค ให้ทุกคนได้รับบริการอย่างมีคุณภาพ สะดวก รวดเร็วและเป็นธรรม
15) จัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์แท็บเล็ตให้แก่โรงเรียน เริ่มในโรงเรียนนำร่องแก่นักเรียน ป. 1 ปีการศึกษา 2555 และ
16) เร่งรัดและผลักดันการปฏิรูปการเมืองที่ประชาชนมีส่วนร่วม โดยมีสภาร่างรัฐธรรมนูญ (ส.ส.ร.) ที่เป็นอิสระยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ โดยให้ประธานเห็นชอบผ่านการออกเสียงประชามติ

 ส่วนนโยบายที่จะดำเนินการภายในช่วงระยะ 4 ปี จะดำเนินนโยบายหลักจากข้อ 2-8 ดังนี้
2.นโยบายความมั่นคงแห่งรัฐ ที่สำคัญคือ เทิดทูนและพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ ดำรงไว้ซึ่งพระบรมเดชานุภาพแห่งองค์พระมหากษัตริย์ น้อมนำพระราชดำริทั้งปวงไว้เหนือ  เกล้าเหนือกระหม่อม พร้อมทั้งอัญเชิญไปปฏิบัติให้เป็นรูปธรรม
3.นโยบายเศรษฐกิจ กระจายรายได้ที่เป็นธรรม ปรับโครงสร้างภาษีอากรทั้งระบบ มีนโยบายสร้างรายได้จากการส่งเสริมการท่องเที่ยว เพิ่มขึ้น 2 เท่าตัวในเวลา 5 ปี ผลักดันไทยเป็นศูนย์กลางการผลิตและการค้าอาหาร มีนโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ ส่วนนโยบายโครงสร้างพื้นฐาน จะพัฒนาระบบขนส่ง ประปา ไฟฟ้าให้กระจายไปสู่ภูมิภาคอย่างทั่วถึง เพียงพอ ขยายการให้บริการน้ำสะอาดให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ พัฒนาระบบรถไฟทางคู่เชื่อมชานเมือง+หัวเมืองหลัก พัฒนารถไฟความเร็วสูงกรุงเทพฯเชียงใหม่ กรุงเทพฯ-นครราชสีมา กรุงเทพฯ-หัวหิน และเส้นทางเชื่อมต่อกับเพื่อนบ้าน ศึกษาและพัฒนาขยายทางรถไฟสายแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ ต่อจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิไปยังชลบุรีและพัฒนา เร่งรัดโครงสร้างรถไฟฟ้า 10 สายทางในกทม.และปริมณฑล ให้เริ่มก่อสร้างได้ครบใน 4 ปี ค่าบริการ 20 บาทตลอดสาย
4.นโยบายด้านสังคมและคุณภาพชีวิต กระจายโอกาสทางการศึกษาให้เข้าถึงทุกกลุ่ม จัดโครงการเงินกู้เพื่อการศึกษาที่ผูกพันกับรายได้ในอนาคต ส่งเสริมให้แรงงานเข้าถึงข้อมูลข่าวสารตำแหน่งว่างงานโดยสะดวก เพิ่มประสิทธิภาพประกันสังคม พัฒนาคุณภาพชีวิตตั้งแต่ช่วงตั้งครรภ์ จนถึงวัยชรา และผู้พิการ สร้างหลักประกันความมั่นคงในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติและการละเมิดสิทธิมนุษยชนทุกรูปแบบ
 5.นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ ทรัพยากรทางทะเล สร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
6.นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและนวัตกรรม เร่งสร้างนักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย และครูวิทยาศาสตร์ให้เพียงพอ ส่งเสริมสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา ส่งเสริมความร่วมมือกับประเทศมุสลิม และองค์กรอิสลามระหว่างประเทศ
 7.นโยบายการต่างประเทศ และเศรษฐกิจระหว่างประเทศ เร่งส่งเสริมและพัฒนาความสัมพันธ์กับเพื่อนบ้าน ส่งเสริมผลประโยชน์ของชาติในองค์กรระหว่างประเทศ
 8.นโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พัฒนาระบบราชการ สร้างเสริมมาตรฐานด้านคุณธรรม จริยธรรม และธรรมา  ภิบาล รวมถึงปฏิรูประบบกฎหมายและพัฒนากระบวนการยุติธรรม ให้ทันสมัย สอดคล้องหลักการประชาธิปไตย เร่งรัดจัดตั้งองค์กรเพื่อการปฏิรูปกระบวนการยุติรรมที่ดำเนินการโดยอิสระ และปรับปรุงระบบการช่วยเหลือประชาชนให้เข้าถึงความเป็นธรรมโดยง่าย ส่งเสริมให้ประชาชนมีโอกาสได้รับรู้ข่าวสารจากทางราชการ สื่อสารมวลชนและสื่อสาธารณะ  

นโยบายเศรษฐกิจมหภาค

  1.ดำเนินการให้มีการกระจายรายได้ที่เป็นธรรมให้แก่คนส่วนใหญ่ของประเทศ และให้เศรษฐกิจสามารถเจริญเติบโตในอัตราสูงอย่างมีเสถียรภาพ โดยด าเนินนโยบายเศรษฐกิจที่สนับสนุนการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม และก่อให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน มีการจ้างงานเต็มที่ ระดับราคามีเสถียรภาพ ระมัดระวังความเสี่ยงจากความผันผวนของการเคลื่อนย้ายเงินทุนระหว่างประเทศ 

  2.ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุนที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการที่หลากหลายได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม 

  3.พัฒนาระบบสถาบันการเงินในประเทศให้รับผิดชอบต่อคนส่วนใหญ่และผู้ด้อยโอกาส สามารถให้บริการที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของนวัตกรรมการเงินและความต้องการที่เปลี่ยนไปตามสภาวะเศรษฐกิจและสังคมด้วยค่าบริการที่ต่ำและการบริการที่มีประสิทธิภาพ

  4.ปรับโครงสร้างภาษีอากรทั้งระบบ เพื่อสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ สร้างความเป็นธรรมในสังคม ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างฐานรายได้ภาษีที่ยั่งยืนในระยะยาว รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้ทั้งจากภาษีและที่มิใช่ภาษี 

  5.ส่งเสริมและรักษาวินัยการคลัง โดยปรับปรุงองค์ประกอบและโครงสร้างงบประมาณให้เหมาะสม มีระบบบริหารความเสี่ยงทางการคลังที่มีประสิทธิภาพ 

  6.ปรับปรุงโครงสร้างของรัฐวิสาหกิจ โดยมุ่งเน้นประสิทธิภาพการให้บริการ การบริหารทรัพย์สินให้เกิดประโยชน์สูงสุด และเร่งฟื้นฟูรัฐวิสาหกิจที่มีปัญหาฐานะการเงิน 

  7.บริหารสินทรัพย์ของประเทศที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์และความมั่นคงทางเศรษฐกิจ รวมทั้งพิจารณาการจัดตั้งกองทุนที่สามารถใช้ในการบริหารสินทรัพย์ของชาติให้เป็นประโยชน์ เช่น กองทุนมั่งคั่งแห่งชาติ กองทุนน้ำมันเชื้อเพลิงสำรองแห่งชาติ และกองทุนความมั่นคงทางอาหาร เป็นต้น

นโยบายสร้างรายได้

  1.ส่งเสริมการท่องเที่ยวจากทั้งภายนอกและภายในประเทศ จัดให้มีการพัฒนาการท่องเที่ยวและแหล่งท่องเที่ยว ให้มีรายได้จากนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น 2 เท่าตัวในเวลา 5 ปี

  2.ขยายบทบาทให้ธุรกิจการเกษตรและอาหารซึ่งเป็นแหล่งรายได้และการจ้างงานในประเทศมาเป็นเวลานานให้ก้าวข้ามไปสู่การเป็นศูนย์กลางการผลิตและการค้าอาหารคุณภาพสูง เป็นที่ต้องการของผู้บริโภคที่มีฐานะและรสนิยมเฉพาะตัว การพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางตลาดซื้อขายล่วงหน้าสินค้าเกษตรและอาหาร จะทำให้เป้าหมายการเป็นครัวที่มีคุณภาพของโลกสัมฤทธิผลรวดเร็วยิ่งขึ้น

  3.ส่งเสริมและผลักดันให้อุตสาหกรรมพลังงานปิโตรเลียมและพลังงานทดแทนสามารถสร้างรายได้จากความต้องการภายในประเทศ รวมทั้งสร้างการจ้างงานให้แก่ประเทศโดยถือเป็นอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ใหม่

  4.ยกระดับความสามารถในการแข่งขันและขยายช่องทางการตลาดของธุรกิจอุตสาหกรรม ธุรกิจบริการในประเทศ และธุรกิจวิสาหกิจชุมชนให้เข้าสู่ระบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในการผลิตสินค้าและบริการที่มีคุณค่าและคุณภาพสูง

  5.ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการขยายการลงทุนไปประเทศเพื่อนบ้านซึ่งมีความพร้อมทางด้านแรงงานและวัตถุดิบเพื่อสร้างความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจให้แก่ประเทศและภูมิภาค

  6.ดึงดูดการลงทุนเข้าสู่ประเทศในสาขาที่เป็นการผลิตสินค้าและบริการที่มีพื้นฐานทางเทคโนโลยีมีมูลค่าสูง เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมถึงการลงทุนในการสร้างเมืองใหม่ในพื้นที่ที่เหมาะสมและโครงสร้างพื้นฐานสาธารณะ 

  7.เสริมสร้างกระบวนการสร้างอาชีพ สร้างงานที่มีคุณภาพและมีรายได้สูงให้แก่ประชาชนอย่างทั่วถึง 

  8.ส่งเสริมการขยายความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจการค้า การลงทุน และการเงิน ภายใต้ประโยชน์ร่วมกันของกรอบความร่วมมือและข้อตกลงทางการค้า

นโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ

ภาคเกษตร

  1.ส่งเสริมสนับสนุนให้สภาเกษตรกรแห่งชาติเป็นกลไกของเกษตรกรในการสื่อสารกับรัฐบาลและร่วมกันพัฒนาเกษตรกรด้วยตนเองตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย

  2.เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพืช โดยการวิจัยและพัฒนาสายพันธุ์ พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเพื่อให้ได้ผลผลิตสูง ต้ านทานต่อโรคและแมลงศัตรูพืช ใช้ ปุ๋ยตามคุณสมบัติของดินแต่ละชนิด เพื่อลดต้นทุนการผลิตและพัฒนาคุณภาพผลผลิต

  3.เพิ่มศักยภาพกระบวนการผลิตด้านปศุสัตว์ให้ได้มาตรฐาน ปลอดภัย เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพียงพอกับความต้องการภายในประเทศและการส่งออก 

  4.พัฒนาการประมง ทั้งในการเพาะเลี้ยงและในแหล่งน้ำธรรมชาติ โดยการฟื้นฟูทรัพยากรประมงและจัดระเบียบการท าประมงให้สมดุลกับศักยภาพการผลิตตามธรรมชาติ ขยายพื้นที่อนุรักษ์เพื่อการประมงทะเลพื้นบ้าน ส่งเสริมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเศรษฐกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม แสวงหาลู่ทางการทำประมงในน่านน้ำต่างประเทศที่ไม่ขัดต่อระเบียบขององค์การระหว่างประเทศและประเทศที่นำเข้า 

  5.เสริมสร้างฐานรากของครัวเรือนเกษตรกรให้เข้มแข็งโดยการเพิ่มประสิทธิภาพการเพาะปลูกลดต้นทุนการผลิต พัฒนาระบบการผลิตที่เป็นขั้นตอน 

  6.จัดทำระบบทะเบียนครัวเรือนเกษตรกรที่มีข้อมูลการเกษตรของครัวเรือนครบถ้วน สามารถเชื่อมโยงกับบัตรเครดิตส าหรับเกษตรกรและมีการปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่เสมอ

  7.เร่งรัดพัฒนาธุรกิจการเกษตร โดยการพัฒนาสถาบันเกษตรกรในด้านธุรกิจ สร้างเกษตรกรรุ่นใหม่จากโครงการกองทุนตั้งตัวได้

  8.พัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรมูลค่าเพิ่มเพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันในตลาดโลก

  9.ส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ ด าเนินการฟื้นฟูสภาพแวดล้อมสร้างความเข้มแข็งภาคเกษตรและสร้างความมั่นคงทางอาหารเพื่อเผชิญกับวิกฤตอาหารโลก 

ภาคอุตสาหกรรม

  1.ยกระดับความสามารถในการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรมในประเทศด้วยการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ลดต้นทุนของผู้ประกอบการ และยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล ตลอดจนส่งเสริมให้มีการสร้างตราสินค้าไทย

  2.ยกระดับภาคอุตสาหกรรมเข้าสู่อุตสาหกรรมสร้ างสรรค์ ที่ใช้ ปัญญา ใช้เทคโนโลยี และใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทดแทนอุตสาหกรรมที่ใช้ แรงงานเป็นหลัก

  3.พัฒนาและส่งเสริมอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปบนฐานความรู้  ความคิดสร้างสรรค์  ภูมิปัญญาท้องถิ่น และนวัตกรรมเพื่อเพิ่มมูลค่าและยกระดับสินค้าให้มีคุณภาพ มีความปลอดภัยตามมาตรฐานสากล และมีโอกาสในการขยายตลาด 

  4.สร้างความเข้มแข็งให้แก่วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยสนับสนุนช่องทางการเข้าถึงแหล่งสินเชื่อผ่านสถาบันการเงินต่างๆ 

  5.กำหนดมาตรฐานและคุณภาพขั้นพื้นฐานของสินค้าอุตสาหกรรมเมื่อมีการเปิดเสรีการค้ามากขึ้น เพื่อป้องกันสินค้านำเข้าที่ไม่ได้ คุณภาพ

  6.พัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรมแห่งใหม่ รวมทั้ งการพัฒนาสะพานเศรษฐกิจระหว่างฝั่งอันดามันและฝั่งอ่าวไทยสำหรับรองรับอุตสาหกรรมที่ไม่ก่อมลพิษและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน

  7.เร่งพัฒนาภาคอุตสาหกรรมให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความรับผิดชอบต่อสังคม และอยู่ร่วมกับชุมชนได้ 

  8.ส่งเสริมและจัดให้มีมาตรการทางภาษีและมาตรการอื่นที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิดการประหยัดพลังงาน การใช้พลังงานทดแทน และการใช้พลังงานจากภาคเกษตร 

  9.สนับสนุนให้ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมทุกสาขาการผลิตเข้าประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรม

  10.เร่งรัดสำรวจและแสวงหาแหล่งแร่สำคัญ เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ และพัฒนาอุตสาหกรรมต่อยอดเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มโดยให้ความสำคัญกับการกำกับดูแลผลกระทบสิ่งแวดล้อมและชุมชน

การตลาด การค้า และการลงทุน

  1.ส่งเสริมนโยบายการแข่งขันอย่างเสรีและเป็นธรรม เพื่อป้องกันการผูกขาดตัดตอน ส่งเสริมและพัฒนาบทบาทขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภคทั้งภาครัฐและเอกชน แก้ไขปรับปรุงกฎหมาย มาตรการต่างๆ เพื่อสร้างความเป็นธรรมให้แก่ผู้บริโภค 

  2.สร้างความเชื่อมั่นให้นักลงทุนทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยปรับปรุงพัฒนากฎหมายและกฎระเบียบที่ส่งเสริมการค้าการลงทุนที่ครอบคลุมการลงทุนด้านเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ และปรับปรุงมาตรการบริหารการน าเข้ าเพื่อป้องกันการค้ าที่ไม่เป็นธรรม 

  3.สนับสนุนการลงทุนในต่างประเทศในสาขาที่ผู้ประกอบการไทยมีศักยภาพ ส่งเสริมและสนับสนุนการเปิดร้านอาหารไทยของคนไทยตามนโยบายครัวไทยสู่ครัวโลก และนโยบายไทยเป็นครัวอาหารโลก

  4.ปรับปรุงมาตรการการส่งเสริมการลงทุนให้ครอบคลุมการให้สิทธิประโยชน์แก่ธุรกิจในภาคเกษตร อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว การกีฬา และบริการ 

  5.ส่งเสริมการขยายตลาดเชิงรุกเพื่อรักษาตลาดเดิมและสร้างตลาดใหม่ เพื่อลดการพึ่งพาการส่งออกไปตลาดหลัก โดยส่งเสริมการส่งออกสินค้าและบริการในตลาดใหม่ ได้แก่ จีน อินเดีย ตะวันออกกลาง แอฟริกา และยุโรปตะวันออก

  6.พัฒนาสินค้าและบริการที่สร้างโอกาสใหม่ในการหารายได้ การผลิตสินค้าและบริการอันเป็นที่ต้องการของผู้บริโภคในตลาดโลก 

  7.ขยายความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจการค้าการลงทุน และการตลาดภายใต้กรอบความร่วมมือและข้อตกลงการค้าเสรีในระบบพหุภาคีและทวิภาคี 

  8.เร่งรัดจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษบริเวณพื้นที่ที่มีศักยภาพ โดยให้ความส าคัญต่อจังหวัดชายแดน เพื่อส่งเสริมการค้า การตลาด การลงทุน การจ้างงาน และการใช้วัตถุดิบจากประเทศเพื่อนบ้าน

คณะรัฐมนตรีพิจารณาเป้าหมายของนโยบายการเงินประจำปี 2556 แล้วมีมติอนุมัติเป้าหมายของนโยบายการเงินประจำปี 2556 ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ  ทั้งนี้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง (กค.) รายงานว่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและคณะคณะกรรมการนโยบายการเงินได้เห็นชอบร่วมกันในการเสนอเป้าหมายของนโยบายการเงินประจำปี 2556 ต่อคณะรัฐมนตรี โดยมีสาระสำคัญ ดังนี้

1. กำหนดเป้าหมายของนโยบายการเงินประจำปี 2556 ไว้ที่อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานเฉลี่ยรายไตรมาสระหว่างร้อยละ 0.5 — 3.0 ต่อปี เช่นเดียวกับเป้าหมายของนโยบายการเงินประจำปี 2555 ซึ่งคณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติเมื่อวันที่ 17 เมษายน 2555

2. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยในฐานะประธานคณะกรรมการนโยบายการเงินได้ลงนามในข้อตกลงร่วมกันในการกำหนดเป้าหมายของนโยบายการเงินประจำปี 2556 โดยข้อตกลงดังกล่าวมีสาระสำคัญ ดังนี้

2.1 เป้าหมายของนโยบายการเงิน ประจำปี 25556

อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานเฉลี่ยรายไตรมาสระหว่างร้อยละ 0.5 — 3.0 ต่อปี

2.2 การติดตามความเคลื่อนไหวของเป้าหมายของนโยบายการเงิน

เพื่อให้สามารถบรรลุเป้าหมายของนโยบายการเงินอย่างมีประสิทธิภาพ กค. และธนาคารแห่งประเทศไทยจะจัดให้มีการหารือร่วมกันเป็นประจำทุกไตรมาส และเมื่อมีเหตุจำเป็นอันใดตามที่ทั้งสองหน่วยงานจะเห็นสมควร

2.3 การเคลื่อนไหวของอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานออกนอกเป้าหมาย

กรณีอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานเคลื่อนไหวออกนอกช่วงเป้าหมายตามที่ตกลงร่วมกันไว้ ให้คณะกรรมการนโยบายการเงินชี้แจงสาเหตุ แนวทางแก้ไขและระยะเวลาที่คาดว่าอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานจะกลับเข้าสู่ช่วงที่กำหนดไว้โดยเร็ว รวมทั้งให้รายงานความคืบหน้าของการแก้ไขปัญหาเป็นระยะตามสมควร

2.4 การแก้ไขเป้าหมายของนโยบายการเงิน

ในกรณีที่มีเหตุอันสมควรหรือจำเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและคณะกรรมการนโยบายการเงินอาจตกลงร่วมกันเพื่อแก้ไขเป้าหมายของนโยบายการเงินได้ก่อนนำเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณา


สรุป  นโยบายของคณะรัฐมนตรีของ  น.ส.  ยิ่งลักษณ์  ชินวัตร

เปิดงบ 3 แสนล้าน 20นโยบายเร่งด่วนสำหรับงบ ประมาณรายจ่ายประจำปี 2555 ตามนโยบายรัฐบาลวงเงิน 3 แสนล้านบาท ที่กระทรวงการคลังและสำนักงบประมาณร่วมกันประเมินเบื้องต้น ส่วนใหญ่จะเป็นงบประมาณที่จะนำไปใช้ในนโยบายเร่งด่วนที่รัฐบาลจะดำเนินการ ภายใน 1 ปีประกอบด้วย
1.นโยบายแก้ไขปัญหาพักหนี้ครัวเรือนของเกษตรกร รายย่อยและผู้มีรายได้น้อยที่มีหนี้ต่ำกว่า 500,000 บาท เป็นระยะเวลา 3 ปี ด้วยการพักชำระหนี้ลูกหนี้ในสถาบันการเงินของรัฐที่มีปัญหาการชำระหนี้และ อยู่ระหว่างการปรับโครงสร้างหนี้ มูลหนี้รวมประมาณ 7.8 หมื่นล้านบาท โดยกระทรวงการคลังจะตั้งงบประมาณเพื่อชดเชยดอกเบี้ยให้กับสถาบันการเงินแทน ลูกหนี้ประมาณ 6,000 ล้านบาท


2.การปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ 300 บาท คาดว่าจะใช้งบประมาณสำหรับฝึกอบรมเพื่อพัฒนาฝีมือแรงงานจำนวน 1,600 ล้านบาท

3. เงินเดือนผู้ที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรี 15,000 บาท คาดว่าจะใช้งบประมาณ 18,000 ล้านบาท

4.การปรับเพิ่มเบี้ยยังชีพรายเดือนแบบขั้นบันไดสำหรับผู้สูงอายุ โดยผู้ที่มีอายุ 60-69 ปี ได้รับ 600 บาท อายุ 70-79 ปี ได้รับ 700 บาท อายุ 80-89 ปี ได้รับ 800 บาท และอายุ 90 ปีขึ้นไป จะได้รับ 1,000 บาทคาดว่าจะใช้งบประมาณเพิ่มขึ้นจากเดิมประมาณ 1.4 หมื่นล้านบาท จึงคาดว่าจะต้องตั้งงบประมาณสำหรับนโยบายนี้ประมาณ 5.8 หมื่นล้านบาท เพราะตามนโยบายเดิมรัฐบาลจะจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุให้แก่คนที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปในอัตรา 500 บาทเท่ากันทุกคน ซึ่งใช้งบประมาณปีละ 4.7 หมื่นล้านบาท

กู้ 7.7 หมื่นล้านให้กองทุนหมู่บ้าน
5.โครงการ เพิ่มเงินทุนกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองอีกแห่งละ 1 ล้านบาท โครงการนี้รัฐบาลจะกู้เงินจากสถาบันการเงินของรัฐจำนวน 77,000 ล้านบาท ไปจัดสรรให้แก่หมู่บ้านทั่วประเทศ จากนั้นก็ทยอยตั้งงบชำระคืนเงินต้นและดอกเบี้ยให้แก่สถาบันการเงินของรัฐให้ ครบภายใน 5 ปี โดยคาดว่าในปีงบประมาณ 2555 จะต้องตั้งงบเพื่อชำระคืนเงินต้นและดอกเบี้ยประมาณ 1 หมื่นล้านบาท


6.การจัดตั้งกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี วงเงินเฉลี่ยจังหวัดละ 100 ล้านบาท ซึ่งในปีแรกคาดว่าจะตั้งงบประมาณให้แก่จังหวัดนำร่อง 2,000 ล้านบาท

7.โครงการกองทุนตั้งตัวได้ 1,000 ล้านบาทต่อสถาบันอุดมศึกษาเพื่อสร้างผู้ประกอบการรายย่อย คาดว่าจะต้องตั้งงบประมาณในปี 2555 สำหรับมหาวิทยาลัยจำนวน 1,800 ล้านบาท

8.โครงการกองทุนพัฒนาศักยภาพของหมู่บ้านและชุมชน (SML)ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่จะจัดสรรงบประมาณให้หมู่บ้านขนาดเล็กจำนวน 300,000 บาท หมู่บ้านขนาดกลาง 400,000 บาท และหมู่บ้านขนาดใหญ่ 500,000 บาท คาดว่าจะใช้งบประมาณทั้งสิ้น 21,000 ล้านบาท

9.โครงการรับจำนำข้าวเปลือกเจ้าความชื้นไม่เกินร้อยละ 15% ตันละ 15,000 บาทและข้าวเปลือกหอมมะลิ ที่ราคา 20,000 บาท โครงการนี้รัฐบาลจะกู้เงินจากสถาบันการเงินของรัฐมาให้โรงสีใช้ในการรับจำนำ และจะตั้งงบประมาณเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายดำเนินงานและชำระดอกเบี้ยเงินกู้ ประมาณ 13,000 ล้านบาท

30 บาทรักษาทุกโรคใช้มากสุด 1.15 แสนล้าน
10.โครงการ สนับสนุนการพัฒนางานศิลปหัตถกรรมและผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อการสร้างเอกลักษณ์ และการผลิตสินค้าในท้องถิ่น และโครงการโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ คาดว่าจะต้องตั้งงบประมาณจำนวน 1,900 ล้านบาท

11.โครงการพัฒนาระบบประกันสุขภาพ 30 บาทรักษาทุกโรค คาดว่าจะใช้งบประมาณ 115,000 ล้านบาท

12.การจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์แทบเล็ตให้แก่นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ในปีการศึกษา 2555 คาดว่าจะใช้งบประมาณ 4,000 ล้านบาท

13.โครงการบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการ คาดว่าจะใช้งบประมาณในปี 2555 จำนวน 1.9 หมื่นล้านบาท

14.โครงการบัตรเครดิตเกษตรกรคาดว่าจะต้องตั้งงบประมาณสำหรับค่าบริหารจัดการและค่าดอกเบี้ยแทนเกษตรกรจำนวน 2,100 ล้านบาท

15.การแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ จำนวน 1.7 หมื่นล้านบาท
สร้างความปรองดอง 100 ล้าน

16.การสร้างความปรองดองสมานฉันท์และฟื้นฟูประชาธิปไตย จำนวน 100 ล้านบาท

17.การแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติด 7,300 ล้านบาท

18.การป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ จำนวน 100 ล้านบาท

19.การฟื้นฟูความสัมพันธ์และพัฒนาความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านและนานาชาติ จำนวน 300 ล้านบาท

20.การเพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยว ประกาศให้ปี 2552-2555 เป็นปี “มหัศจรรย์ไทยแลนด์” (“Miracle Thailand” Year) จำนวน 1,300 ล้านบาท

นายประสาร ไตรรัตน์วรกุล ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) แถลงถึงแผนงาน ธปท.เกี่ยวกับนโยบายการเงินในปี 2555 เพื่อเดินหน้าสร้างเสถียรภาพเศรษฐกิจ รองรับความผันผวนของเศรษฐกิจโลก

นโยบายการเงินในปี 2555 ธปท.จะเน้นการดูแลรักษาเสถียรภาพทางด้านเศรษฐกิจให้สอดคล้องกับวัฏจักรโลก จากปัญหาการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกเป็นประเด็นที่ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เพราะอาจจะกระทบต่อเศรษฐกิจไทย ขณะเดียวกันที่แรงกดดันต่อเงินเฟ้อที่จะเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อเศรษฐกิจไทยน้อยลงเมื่อเทียบกับปี 2554 ดังนั้นแนวนโยบายการเงินของ ธปท.ก็จะเน้นทำให้ธุรกิจไทยเติบโตและรับมือความผันผวนของเศรษฐกิจโลกได้

"เมื่อมองไปข้างหน้าหนทางสู่อนาคตไม่ได้เป็นถนนที่ราบเรียบ ระหว่างทางยังเต็มไปด้วยสิ่งกีดขวาง ทั้งสิ่งกีดขวางเดิมๆ ที่ไม่เคยออกพ้นจากเส้นทาง และสิ่งกีดขวางใหม่ๆ ที่เติมเข้ามาเพิ่มอุปสรรคให้กับเศรษฐกิจไทยมากขึ้น"

สำหรับการดำเนินนโยบายอัตราแลกเปลี่ยน จะบริหารอัตราแลกเปลี่ยน โดยยึดหลักการให้ค่าเงินปรับเปลี่ยนได้ตามปัจจัยพื้นฐานทางเศรษฐกิจเพราะการดำเนินนโยบายของ ธปท.เองก็มีข้อจำกัด ซึ่งทุกครั้งที่แทรกแซงจะเกิดผลข้างเคียงตามมา ขณะนี้แนวโน้มชัดเจนว่าเศรษฐกิจประเทศในเอเชียจะขยายตัวมากกว่าเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาและยุโรป หากอุตสาหกรรมไทยต้องเติบโตได้อย่างเข้มแข็ง จะอาศัยเพียงค่าเงินบาทอ่อนอย่างเดียวไม่ได้ ต้องปรับปรุงประสิทธิภาพและความสามารถในการแข่งขันด้วย

"หากเป็นไปได้เราจะลดการแทรกแซง จะเข้าไปดูแลค่าเงินเท่าที่จำเป็นเพราะหากไม่ดูแลเลยก็จะเกิดผลข้างเคียงมากกว่า เพราะความสามารถด้านการแข่งขันส่งออกไทยลดลง แต่ก็อยากเห็นธุรกิจพัฒนาในระยะยาวมากกว่าว่าอุตสาหกรรมส่งออกของไทยจะเข้มแข็งไม่ได้หากยังอาศัยการอ่อนค่าของเงินบาทเทียบดอลลาร์สหรัฐต่อไป ดังนั้นต้องปรับเปลี่ยนและพัฒนาประสิทธิภาพเพื่อการแข่งขัน เพราะการขายของถูกไม่ได้ทำให้ธุรกิจปรับตัวได้ กลับกันเป็นผลเสียต่อประเทศมากกว่า ขณะนี้ลาว พม่า เวียดนามได้เข้ามาแข่งขันในตลาดเดียวกับไทย ดังนั้น ธปท.จะทำให้บาทอ่อนตลอดชีวิตคงไม่ได้"

แนวนโยบายที่ตั้งใจจะดำเนินการในปีนี้จะเป็นการสานต่อปณิธานจุดยืนของ ธปท.ที่ดำเนินการมาอย่างต่อเนื่องตลอด 70 ปีที่ผ่านมาที่หวังจะเห็นเศรษฐกิจไทยเข้มแข็ง และประชาชนมีความเป็นอยู่ที่ดีอย่างยั่งยืน แม้ขณะนี้ดูเหมือนปัญหาต่างๆ จะประดังเข้าใกล้ตัวมากขึ้น แต่ความท้าทายโดยรวมยังคงไม่เปลี่ยนแปลง สิ่งที่ควรจะเปลี่ยนแปลง คือ จะนิ่งอยู่เฉยไม่ได้ เพราะการนิ่งอยู่เฉยท่ามกลางกระแสการแข่งขันอาจทำให้เราตกขบวนรถไฟได้

ดังนั้นทุกภาคส่วนควรเร่งปรับตัวมุ่งไปข้างหน้าแสวงหาการพัฒนา และเตรียมรองรับกับความผันผวนที่จะเข้ามาปะทะในอนาคต ธปท.เองก็ไม่ได้นิ่งนอนใจแต่มีการปรับกลยุทธ์ให้เหมาะกับสถานการณ์ และพร้อมยื่นมือประสานทำงานร่วมกับทุกฝ่ายเพื่อให้เศรษฐกิจเติบโตตามศักยภาพอย่างต่อเนื่อง

ขณะเดียวกัน ธปท.เตรียมผลักดัน "แผนแม่บทการเปิดเสรีเงินทุนเคลื่อนย้ายและเงินตราต่างประเทศ" เพื่อเพิ่มความสะดวกให้กับคนไทยในการลงทุนในต่างประเทศเรื่องต้นทุนที่ถูกลง และเสริมความยืดหยุ่นให้กับระบบเศรษฐกิจด้วยการพัฒนาตลาดการเงิน เช่น การขยายประเภทนักลงทุนและวงเงินลงทุน การลดขั้นตอนและกฎระเบียบ ตลอดจนการบริหารความเสี่ยงที่มีความยืดหยุ่นมากขึ้น

"ธปท.ได้เตรียมกลไก หรือ Valve เพื่อรับมือกับเหตุการณ์ฉุกเฉิน ซึ่งระดับความเข้มงวดจะแตกต่างกันตามสถานการณ์ ทั้งนี้ กระบวนการจัดทำแผนแม่บทการเปิดเสรีเงินทุนเคลื่อนย้ายฯ อยู่ระหว่างการจัดทำประชาพิจารณ์ (Public hearing) เพื่อรับฟังความเห็นจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง"


นโยบายเศรษฐกิจรัฐบาลนายกยิ่งลักษณ์

นโยบายเศรษฐกิจมหภาค

1.ดำเนิน การให้มีการกระจายรายได้ที่เป็นธรรมให้แก่คนส่วนใหญ่ของประเทศ และให้เศรษฐกิจสามารถเจริญเติบโตในอัตราสูงอย่างมีเสถียรภาพ โดยดำเนินนโยบายเศรษฐกิจที่สนับสนุนการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม และก่อให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน มีการจ้างงานเต็มที่ ระดับราคามีเสถียรภาพ ระมัดระวังความเสี่ยงจากความผันผวนของการเคลื่อนย้ายเงินทุนระหว่างประเทศ

2.ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุนที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการที่หลากหลายได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม

3.พัฒนา ระบบสถาบันการเงินในประเทศให้รับผิดชอบต่อคนส่วนใหญ่และผู้ด้อยโอกาส สามารถให้บริการที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของนวัตกรรมการเงินและความ ต้องการที่เปลี่ยนไปตามสภาวะเศรษฐกิจและสังคมด้วยค่าบริการที่ต่ำและการ บริการที่มีประสิทธิภาพ

4.ปรับโครงสร้างภาษีอากรทั้งระบบ เพื่อสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ สร้างความเป็นธรรมในสังคม ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างฐานรายได้ภาษีที่ยั่งยืนในระยะยาว รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้ทั้งจากภาษีและที่มิใช่ภาษี

5.ส่ง เสริมและรักษาวินัยการคลัง โดยปรับปรุงองค์ประกอบและโครงสร้างงบประมาณให้เหมาะสม มีระบบบริหารความเสี่ยงทางการคลังที่มีประสิทธิภาพ

6.ปรับปรุง โครงสร้างของรัฐวิสาหกิจ โดยมุ่งเน้นประสิทธิภาพการให้บริการ การบริหารทรัพย์สินให้เกิดประโยชน์สูงสุด และเร่งฟื้นฟูรัฐวิสาหกิจที่มีปัญหาฐานะการเงิน

7.บริหารสินทรัพย์ ของประเทศที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์และความมั่นคงทางเศรษฐกิจ รวมทั้งพิจารณาการจัดตั้งกองทุนที่สามารถใช้ในการบริหารสินทรัพย์ของชาติให้ เป็นประโยชน์ เช่น กองทุนมั่งคั่งแห่งชาติ กองทุนน้ำมันเชื้อเพลิงสำรองแห่งชาติ และกองทุนความมั่นคงทางอาหาร เป็นต้น

นโยบายสร้างรายได้

1.ส่ง เสริมการท่องเที่ยวจากทั้งภายนอกและภายในประเทศ จัดให้มีการพัฒนาการท่องเที่ยวและแหล่งท่องเที่ยว ให้มีรายได้จากนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น

 2 เท่าตัวในเวลา 5 ปี2.ขยาย บทบาทให้ธุรกิจการเกษตรและอาหารซึ่งเป็นแหล่งรายได้และการจ้างงานในประเทศมา เป็นเวลานานให้ก้าวข้ามไปสู่การเป็นศูนย์กลางการผลิตและการค้าอาหารคุณภาพ สูง เป็นที่ต้องการของผู้บริโภคที่มีฐานะและรสนิยมเฉพาะตัว การพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางตลาดซื้อขายล่วงหน้าสินค้าเกษตรและอาหาร จะทำให้เป้าหมายการเป็นครัวที่มีคุณภาพของโลกสัมฤทธิผลรวดเร็วยิ่งขึ้น

3.ส่ง เสริมและผลักดันให้อุตสาหกรรมพลังงานปิโตรเลียมและพลังงานทดแทนสามารถสร้าง รายได้จากความต้องการภายในประเทศ รวมทั้งสร้างการจ้างงานให้แก่ประเทศโดยถือเป็นอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ใหม่

4.ยก ระดับความสามารถในการแข่งขันและขยายช่องทางการตลาดของธุรกิจอุตสาหกรรม ธุรกิจบริการในประเทศ และธุรกิจวิสาหกิจชุมชนให้เข้าสู่ระบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในการผลิตสินค้าและ บริการที่มีคุณค่าและคุณภาพสู

5.ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการขยายการ ลงทุนไปประเทศเพื่อนบ้านซึ่งมีความพร้อมทางด้านแรงงานและวัตถุดิบเพื่อสร้าง ความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจให้แก่ประเทศและภูมิภาค

6.ดึงดูดการลงทุน เข้าสู่ประเทศในสาขาที่เป็นการผลิตสินค้าและบริการที่มีพื้นฐานทางเทคโนโลยี มีมูลค่าสูง เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมถึงการลงทุนในการสร้างเมืองใหม่ในพื้นที่ที่เหมาะสม และโครงสร้างพื้นฐานสาธารณะ

7.เสริมสร้างกระบวนการสร้างอาชีพ สร้างงานที่มีคุณภาพและมีรายได้สูงให้แก่ประชาชนอย่างทั่วถึง

8.ส่งเสริมการขยายความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจการค้า การลงทุน และการเงิน ภายใต้ประโยชน์ร่วมกันของกรอบความร่วมมือและข้อตกลงทางการค้า

นโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจภาคเกษตร

1.ส่ง เสริมสนับสนุนให้สภาเกษตรกรแห่งชาติเป็นกลไกของเกษตรกรในการสื่อสารกับ รัฐบาลและร่วมกันพัฒนาเกษตรกรด้วยตนเองตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย

2.เพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตพืช โดยการวิจัยและพัฒนาสายพันธุ์ พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเพื่อให้ได้ผลผลิตสูง ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูพืช ใช้ปุ๋ยตามคุณสมบัติของดินแต่ละชนิด เพื่อลดต้นทุนการผลิตและพัฒนาคุณภาพผลผลิต

3.เพิ่มศักยภาพกระบวนการ ผลิตด้านปศุสัตว์ให้ได้มาตรฐาน ปลอดภัย เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพียงพอกับความต้องการภายในประเทศและการส่งออก

4.พัฒนาการประมง ทั้งในการเพาะเลี้ยงและในแหล่งน้ำธรรมชาติ โดยการฟื้นฟูทรัพยากรประมงและจัดระเบียบการทำประมงให้สมดุลกับศักยภาพการ ผลิตตามธรรมชาติ ขยายพื้นที่อนุรักษ์เพื่อการประมงทะเลพื้นบ้าน ส่งเสริมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเศรษฐกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม แสวงหาลู่ทางการทำประมงในน่านน้ำต่างประเทศที่ไม่ขัดต่อระเบียบขององค์การ ระหว่างประเทศและประเทศที่นำเข้า

5.เสริมสร้างฐานรากของครัวเรือน เกษตรกรให้เข้มแข็งโดยการเพิ่มประสิทธิภาพการเพาะปลูก ลดต้นทุนการผลิต พัฒนาระบบการผลิตที่เป็นขั้นตอน

6.จัดทำระบบทะเบียนครัวเรือน เกษตรกรที่มีข้อมูลการเกษตรของครัวเรือนครบถ้วน สามารถเชื่อมโยงกับบัตรเครดิตสำหรับเกษตรกรและมีการปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่ เสมอ

7.เร่งรัดพัฒนาธุรกิจการเกษตร โดยการพัฒนาสถาบันเกษตรกรในด้านธุรกิจ สร้างเกษตรกรรุ่นใหม่จากโครงการกองทุนตั้งตัวได้

8.พัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรมูลค่าเพิ่มเพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันในตลาดโลก

9.ส่ง เสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ ดำเนินการฟื้นฟูสภาพแวดล้อม สร้างความเข้มแข็งภาคเกษตรและสร้างความมั่นคงทางอาหารเพื่อเผชิญกับวิกฤต อาหารโลก

ภาคอุตสาหกรรม

1.ยกระดับความสามารถในการ แข่งขันของภาคอุตสาหกรรมในประเทศด้วยการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ลดต้นทุนของผู้ประกอบการ และยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล ตลอดจนส่งเสริมให้มีการสร้างตราสินค้าไทย

2.ยกระดับภาคอุตสาหกรรม เข้าสู่อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ที่ใช้ปัญญา ใช้เทคโนโลยี และใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทดแทนอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเป็นหลัก

3.พัฒนา และส่งเสริมอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปบนฐานความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และนวัตกรรมเพื่อเพิ่มมูลค่าและยกระดับสินค้าให้มีคุณภาพ มีความปลอดภัยตามมาตรฐานสากล และมีโอกาสในการขยายตลา

4.สร้างความเข้มแข็งให้แก่วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยสนับสนุนช่องทางการเข้าถึงแหล่งสินเชื่อผ่านสถาบันการเงินต่างๆ

5.กำหนดมาตรฐานและคุณภาพขั้นพื้นฐานของสินค้าอุตสาหกรรมเมื่อมีการเปิดเสรีการค้ามากขึ้น เพื่อป้องกันสินค้านำเข้าที่ไม่ได้คุณภาพ

6.พัฒนา พื้นที่อุตสาหกรรมแห่งใหม่ รวมทั้งการพัฒนาสะพานเศรษฐกิจระหว่างฝั่งอันดามันและฝั่งอ่าวไทยสำหรับ รองรับอุตสาหกรรมที่ไม่ก่อมลพิษและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน

7.เร่งพัฒนาภาคอุตสาหกรรมให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความรับผิดชอบต่อสังคม และอยู่ร่วมกับชุมชนได้

8.ส่ง เสริมและจัดให้มีมาตรการทางภาษีและมาตรการอื่นที่เกี่ยวข้องในการพัฒนา อุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิดการประหยัดพลังงาน การใช้พลังงานทดแทน และการใช้พลังงานจากภาคเกษตร

9.สนับสนุนให้ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมทุกสาขาการผลิตเข้าประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรม

10.เร่งรัด สำรวจและแสวงหาแหล่งแร่สำคัญ เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ และพัฒนาอุตสาหกรรมต่อยอดเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มโดยให้ความสำคัญกับการกำกับ ดูแลผลกระทบสิ่งแวดล้อมและชุมชน

การตลาด การค้า และการลงทุน

1.ส่ง เสริมนโยบายการแข่งขันอย่างเสรีและเป็นธรรม เพื่อป้องกันการผูกขาดตัดตอน ส่งเสริมและพัฒนาบทบาทขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภคทั้ง ภาครัฐและเอกชน แก้ไขปรับปรุงกฎหมาย มาตรการต่างๆ เพื่อสร้างความเป็นธรรมให้แก่ผู้บริโภค

2.สร้างความเชื่อมั่นให้นัก ลงทุนทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยปรับปรุงพัฒนากฎหมายและกฎระเบียบที่ส่งเสริมการค้าการลงทุนที่ครอบคลุม การลงทุนด้านเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ และปรับปรุงมาตรการบริหารการนำเข้าเพื่อป้องกันการค้าที่ไม่เป็นธรรม

3.สนับสนุน การลงทุนในต่างประเทศในสาขาที่ผู้ประกอบการไทยมีศักยภาพ ส่งเสริมและสนับสนุนการเปิดร้านอาหารไทยของคนไทยตามนโยบายครัวไทยสู่ครัวโลก และนโยบายไทยเป็นครัวอาหารโลก

4.ปรับปรุงมาตรการการส่งเสริมการ ลงทุนให้ครอบคลุมการให้สิทธิประโยชน์แก่ธุรกิจในภาคเกษตร อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว การกีฬา และบริการ

5.ส่งเสริมการขยายตลาดเชิงรุก เพื่อรักษาตลาดเดิมและสร้างตลาดใหม่ เพื่อลดการพึ่งพาการส่งออกไปตลาดหลัก โดยส่งเสริมการส่งออกสินค้าและบริการในตลาดใหม่ ได้แก่ จีน อินเดีย ตะวันออกกลาง แอฟริกา และยุโรปตะวันออก

6.พัฒนาสินค้าและบริการที่สร้างโอกาสใหม่ในการหารายได้ การผลิตสินค้าและบริการอันเป็นที่ต้องการของผู้บริโภคในตลาดโลก

7.ขยายความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจการค้าการลงทุน และการตลาดภายใต้กรอบความร่วมมือและข้อตกลงการค้าเสรีในระบบพหุภาคีและทวิภาคี

8.เร่งรัด จัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษบริเวณพื้นที่ที่มีศักยภาพ โดยให้ความสำคัญต่อจังหวัดชายแดน เพื่อส่งเสริมการค้า การตลาด การลงทุน การจ้างงาน และการใช้วัตถุดิบจากประเทศเพื่อนบ้าน


นโยบายการเงินของนายกยิ่งลักษณ์  ชินวัตร

  คณะรัฐมนตรีพิจารณาเป้าหมายของนโยบายการเงินประจำปี 2556 แล้วมีมติอนุมัติเป้าหมายของนโยบายการเงินประจำปี 2556 ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ ทั้งนี้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง(กค.) รายงานว่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและคณะคณะกรรมการนโยบายการเงินได้เห็นชอบร่วมกันในการเสนอเป้าหมายของนโยบายการเงินประจำปี 2556 ต่อคณะรัฐมนตรี โดยมีสาระสำคัญ ดังนี้

1. กำหนดเป้าหมายของนโยบายการเงินประจำปี 2556 ไว้ที่อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานเฉลี่ยรายไตรมาสระหว่างร้อยละ 0.5 — 3.0 ต่อปี เช่นเดียวกับเป้าหมายของนโยบายการเงินประจำปี 2555 ซึ่งคณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติเมื่อวันที่ 17 เมษายน 2555

2. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยในฐานะประธานคณะกรรมการนโยบายการเงินได้ลงนามในข้อตกลงร่วมกันในการกำหนดเป้าหมายของนโยบายการเงินประจำปี 2556 โดยข้อตกลงดังกล่าวมีสาระสำคัญ ดังนี้

2.1 เป้าหมายของนโยบายการเงิน ประจำปี 25556 อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานเฉลี่ยรายไตรมาสระหว่างร้อยละ 0.5 — 3.0 ต่อปี

2.2 การติดตามความเคลื่อนไหวของเป้าหมายของนโยบายการเงิน เพื่อให้สามารถบรรลุเป้าหมายของนโยบายการเงินอย่างมีประสิทธิภาพ กค. และธนาคารแห่งประเทศไทยจะจัดให้มีการหารือร่วมกันเป็นประจำทุกไตรมาส และเมื่อมีเหตุจำเป็นอันใดตามที่ทั้งสองหน่วยงานจะเห็นสมควร

2.3 การเคลื่อนไหวของอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานออกนอกเป้าหมาย กรณีอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานเคลื่อนไหวออกนอกช่วงเป้าหมายตามที่ตกลงร่วมกันไว้ ให้คณะกรรมการนโยบายการเงินชี้แจงสาเหตุ แนวทางแก้ไขและระยะเวลาที่คาดว่าอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานจะกลับเข้าสู่ช่วงที่กำหนดไว้โดยเร็ว รวมทั้งให้รายงานความคืบหน้าของการแก้ไขปัญหาเป็นระยะตามสมควร

2.4 การแก้ไขเป้าหมายของนโยบายการเงิน  ในกรณีที่มีเหตุอันสมควรหรือจำเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและคณะกรรมการนโยบายการเงินอาจตกลงร่วมกันเพื่อแก้ไขเป้าหมายของนโยบายการเงินได้ก่อนนำเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณา

นโยบายเศรษฐกิจของนายกยิ่งลักษณ์  ชินวัตร

  1.ดำเนินการให้มีการกระจายรายได้ที่เป็นธรรมให้แก่คนส่วนใหญ่ของประเทศ และให้เศรษฐกิจสามารถเจริญเติบโตในอัตราสูงอย่างมีเสถียรภาพ โดยดำเนินนโยบายเศรษฐกิจที่สนับสนุนการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม และก่อให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน มีการจ้างงานเต็มที่ ระดับราคามีเสถียรภาพ ระมัดระวังความเสี่ยงจากความผันผวนของการเคลื่อนย้ายเงินทุนระหว่างประเทศ


2.ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุนที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการที่หลากหลายได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม


3.พัฒนาระบบสถาบันการเงินในประเทศให้รับผิดชอบต่อคนส่วนใหญ่และผู้ด้อยโอกาส สามารถให้บริการที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของนวัตกรรมการเงินและความต้องการที่เปลี่ยนไปตามสภาวะเศรษฐกิจและสังคมด้วยค่าบริการที่ต่ำและการบริการที่มีประสิทธิภาพ


4.ปรับโครงสร้างภาษีอากรทั้งระบบ เพื่อสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ สร้างความเป็นธรรมในสังคม ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างฐานรายได้ภาษีที่ยั่งยืนในระยะยาว รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้ทั้งจากภาษีและที่มิใช่ภาษี


5.ส่งเสริมและรักษาวินัยการคลัง โดยปรับปรุงองค์ประกอบและโครงสร้างงบประมาณให้เหมาะสม มีระบบบริหารความเสี่ยงทางการคลังที่มีประสิทธิภาพ


6.ปรับปรุงโครงสร้างของรัฐวิสาหกิจ โดยมุ่งเน้นประสิทธิภาพการให้บริการ การบริหารทรัพย์สินให้เกิดประโยชน์สูงสุด และเร่งฟื้นฟูรัฐวิสาหกิจที่มีปัญหาฐานะการเงิน

7.บริหารสินทรัพย์ของประเทศที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์และความมั่นคงทางเศรษฐกิจ รวมทั้งพิจารณาการจัดตั้งกองทุนที่สามารถใช้ในการบริหารสินทรัพย์ของชาติให้เป็นประโยชน์ เช่น กองทุนมั่งคั่งแห่งชาติ กองทุนน้ำมันเชื้อเพลิงสำรองแห่งชาติ และกองทุนความมั่นคงทางอาหาร เป็นต้น

นโยบายการตลาด การค้า และการลงทุน

  1.ส่งเสริมนโยบายการแข่งขันอย่างเสรีและเป็นธรรม เพื่อป้องกันการผูกขาดตัดตอน ส่งเสริมและพัฒนาบทบาทขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภคทั้งภาครัฐและเอกชน แก้ไขปรับปรุงกฎหมาย มาตรการต่างๆ เพื่อสร้างความเป็นธรรมให้แก่ผู้บริโภค

2.สร้างความเชื่อมั่นให้นักลงทุนทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยปรับปรุงพัฒนากฎหมายและกฎระเบียบที่ส่งเสริมการค้าการลงทุนที่ครอบคลุมการลงทุนด้านเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ และปรับปรุงมาตรการบริหารการนำเข้าเพื่อป้องกันการค้าที่ไม่เป็นธรรม

3.สนับสนุนการลงทุนในต่างประเทศในสาขาที่ผู้ประกอบการไทยมีศักยภาพ ส่งเสริมและสนับสนุนการเปิดร้านอาหารไทยของคนไทยตามนโยบายครัวไทยสู่ครัวโลก และนโยบายไทยเป็นครัวอาหารโลก

4.ปรับปรุงมาตรการการส่งเสริมการลงทุนให้ครอบคลุมการให้สิทธิประโยชน์แก่ธุรกิจในภาคเกษตร อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว การกีฬา และบริการ

5.ส่งเสริมการขยายตลาดเชิงรุกเพื่อรักษาตลาดเดิมและสร้างตลาดใหม่ เพื่อลดการพึ่งพาการส่งออกไปตลาดหลัก โดยส่งเสริมการส่งออกสินค้าและบริการในตลาดใหม่ ได้แก่ จีน อินเดีย ตะวันออกกลาง แอฟริกา และยุโรปตะวันออก

6.พัฒนาสินค้าและบริการที่สร้างโอกาสใหม่ในการหารายได้ การผลิตสินค้าและบริการอันเป็นที่ต้องการของผู้บริโภคในตลาดโลก

7.ขยายความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจการค้าการลงทุน และการตลาดภายใต้กรอบความร่วมมือและข้อตกลงการค้าเสรีในระบบพหุภาคีและทวิภาคี

8.เร่งรัดจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษบริเวณพื้นที่ที่มีศักยภาพ โดยให้ความสำคัญต่อจังหวัดชายแดน เพื่อส่งเสริมการค้า การตลาด การลงทุน การจ้างงาน และการใช้วัตถุดิบจากประเทศเพื่อนบ้าน


นโยบายเศรษฐกิจมหภาค


1.ดำเนินการให้มีการกระจายรายได้ที่เป็นธรรมให้แก่คนส่วนใหญ่ของประเทศ และให้เศรษฐกิจสามารถเจริญเติบโตในอัตราสูงอย่างมีเสถียรภาพ โดยดำเนินนโยบายเศรษฐกิจที่สนับสนุนการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม และก่อให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน มีการจ้างงานเต็มที่ ระดับราคามีเสถียรภาพ ระมัดระวังความเสี่ยงจากความผันผวนของการเคลื่อนย้ายเงินทุนระหว่างประเทศ

2.ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุนที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการที่หลากหลายได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม

3.พัฒนาระบบสถาบันการเงินในประเทศให้รับผิดชอบต่อคนส่วนใหญ่และผู้ด้อยโอกาส สามารถให้บริการที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของนวัตกรรมการเงินและความต้องการที่เปลี่ยนไปตามสภาวะเศรษฐกิจและสังคมด้วยค่าบริการที่ต่ำและการบริการที่มีประสิทธิภาพ

4.ปรับโครงสร้างภาษีอากรทั้งระบบ เพื่อสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ สร้างความเป็นธรรมในสังคม ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างฐานรายได้ภาษีที่ยั่งยืนในระยะยาว รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้ทั้งจากภาษีและที่มิใช่ภาษี

5.ส่งเสริมและรักษาวินัยการคลัง โดยปรับปรุงองค์ประกอบและโครงสร้างงบประมาณให้เหมาะสม มีระบบบริหารความเสี่ยงทางการคลังที่มีประสิทธิภาพ

6.ปรับปรุงโครงสร้างของรัฐวิสาหกิจ โดยมุ่งเน้นประสิทธิภาพการให้บริการ การบริหารทรัพย์สินให้เกิดประโยชน์สูงสุด และเร่งฟื้นฟูรัฐวิสาหกิจที่มีปัญหาฐานะการเงิน

7.บริหารสินทรัพย์ของประเทศที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์และความมั่นคงทางเศรษฐกิจ รวมทั้งพิจารณาการจัดตั้งกองทุนที่สามารถใช้ในการบริหารสินทรัพย์ของชาติให้เป็นประโยชน์ เช่น กองทุนมั่งคั่งแห่งชาติ กองทุนน้ำมันเชื้อเพลิงสำรองแห่งชาติ และกองทุนความมั่นคงทางอาหาร เป็นต้น

นโยบายสร้างรายได้

1.ส่งเสริมการท่องเที่ยวจากทั้งภายนอกและภายในประเทศ จัดให้มีการพัฒนาการท่องเที่ยวและแหล่งท่องเที่ยว ให้มีรายได้จากนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น 2 เท่าตัวในเวลา 5 ปี

2.ขยายบทบาทให้ธุรกิจการเกษตรและอาหารซึ่งเป็นแหล่งรายได้และการจ้างงานในประเทศมาเป็นเวลานานให้ก้าวข้ามไปสู่การเป็นศูนย์กลางการผลิตและการค้าอาหารคุณภาพสูง เป็นที่ต้องการของผู้บริโภคที่มีฐานะและรสนิยมเฉพาะตัว การพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางตลาดซื้อขายล่วงหน้าสินค้าเกษตรและอาหาร จะทำให้เป้าหมายการเป็นครัวที่มีคุณภาพของโลกสัมฤทธิผลรวดเร็วยิ่งขึ้น

3.ส่งเสริมและผลักดันให้อุตสาหกรรมพลังงานปิโตรเลียมและพลังงานทดแทนสามารถสร้างรายได้จากความต้องการภายในประเทศ รวมทั้งสร้างการจ้างงานให้แก่ประเทศโดยถือเป็นอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ใหม่

4.ยกระดับความสามารถในการแข่งขันและขยายช่องทางการตลาดของธุรกิจอุตสาหกรรม ธุรกิจบริการในประเทศ และธุรกิจวิสาหกิจชุมชนให้เข้าสู่ระบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในการผลิตสินค้าและบริการที่มีคุณค่าและคุณภาพสูง

5.ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการขยายการลงทุนไปประเทศเพื่อนบ้านซึ่งมีความพร้อมทางด้านแรงงานและวัตถุดิบเพื่อสร้างความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจให้แก่ประเทศและภูมิภาค

6.ดึงดูดการลงทุนเข้าสู่ประเทศในสาขาที่เป็นการผลิตสินค้าและบริการที่มีพื้นฐานทางเทคโนโลยีมีมูลค่าสูง เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมถึงการลงทุนในการสร้างเมืองใหม่ในพื้นที่ที่เหมาะสม และโครงสร้างพื้นฐานสาธารณะ

7.เสริมสร้างกระบวนการสร้างอาชีพ สร้างงานที่มีคุณภาพและมีรายได้สูงให้แก่ประชาชนอย่างทั่วถึง

8.ส่งเสริมการขยายความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจการค้า การลงทุน และการเงิน ภายใต้ประโยชน์ร่วมกันของกรอบความร่วมมือและข้อตกลงทางการค้า

นโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ

ภาคเกษตร

1.ส่งเสริมสนับสนุนให้สภาเกษตรกรแห่งชาติเป็นกลไกของเกษตรกรในการสื่อสารกับรัฐบาลและร่วมกันพัฒนาเกษตรกรด้วยตนเองตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย

2.เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพืช โดยการวิจัยและพัฒนาสายพันธุ์ พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเพื่อให้ได้ผลผลิตสูง ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูพืช ใช้ปุ๋ยตามคุณสมบัติของดินแต่ละชนิด เพื่อลดต้นทุนการผลิตและพัฒนาคุณภาพผลผลิต

3.เพิ่มศักยภาพกระบวนการผลิตด้านปศุสัตว์ให้ได้มาตรฐาน ปลอดภัย เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพียงพอกับความต้องการภายในประเทศและการส่งออก

4.พัฒนาการประมง ทั้งในการเพาะเลี้ยงและในแหล่งน้ำธรรมชาติ โดยการฟื้นฟูทรัพยากรประมงและจัดระเบียบการทำประมงให้สมดุลกับศักยภาพการผลิตตามธรรมชาติ ขยายพื้นที่อนุรักษ์เพื่อการประมงทะเลพื้นบ้าน ส่งเสริมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเศรษฐกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม แสวงหาลู่ทางการทำประมงในน่านน้ำต่างประเทศที่ไม่ขัดต่อระเบียบขององค์การระหว่างประเทศและประเทศที่นำเข้า

5.เสริมสร้างฐานรากของครัวเรือนเกษตรกรให้เข้มแข็งโดยการเพิ่มประสิทธิภาพการเพาะปลูก ลดต้นทุนการผลิต พัฒนาระบบการผลิตที่เป็นขั้นตอน

6.จัดทำระบบทะเบียนครัวเรือนเกษตรกรที่มีข้อมูลการเกษตรของครัวเรือนครบถ้วน สามารถเชื่อมโยงกับบัตรเครดิตสำหรับเกษตรกรและมีการปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่เสมอ

7.เร่งรัดพัฒนาธุรกิจการเกษตร โดยการพัฒนาสถาบันเกษตรกรในด้านธุรกิจ สร้างเกษตรกรรุ่นใหม่จากโครงการกองทุนตั้งตัวได้

8.พัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรมูลค่าเพิ่มเพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันในตลาดโลก

9.ส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ ดำเนินการฟื้นฟูสภาพแวดล้อม สร้างความเข้มแข็งภาคเกษตรและสร้างความมั่นคงทางอาหารเพื่อเผชิญกับวิกฤตอาหารโลก

ภาคอุตสาหกรรม

1.ยกระดับความสามารถในการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรมในประเทศด้วยการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ลดต้นทุนของผู้ประกอบการ และยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล ตลอดจนส่งเสริมให้มีการสร้างตราสินค้าไทย

2.ยกระดับภาคอุตสาหกรรมเข้าสู่อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ที่ใช้ปัญญา ใช้เทคโนโลยี และใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทดแทนอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเป็นหลัก

3.พัฒนาและส่งเสริมอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปบนฐานความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และนวัตกรรมเพื่อเพิ่มมูลค่าและยกระดับสินค้าให้มีคุณภาพ มีความปลอดภัยตามมาตรฐานสากล และมีโอกาสในการขยายตลาด

4.สร้างความเข้มแข็งให้แก่วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยสนับสนุนช่องทางการเข้าถึงแหล่งสินเชื่อผ่านสถาบันการเงินต่างๆ

5.กำหนดมาตรฐานและคุณภาพขั้นพื้นฐานของสินค้าอุตสาหกรรมเมื่อมีการเปิดเสรีการค้ามากขึ้น เพื่อป้องกันสินค้านำเข้าที่ไม่ได้คุณภาพ

6.พัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรมแห่งใหม่ รวมทั้งการพัฒนาสะพานเศรษฐกิจระหว่างฝั่งอันดามันและฝั่งอ่าวไทยสำหรับรองรับอุตสาหกรรมที่ไม่ก่อมลพิษและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน

7.เร่งพัฒนาภาคอุตสาหกรรมให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความรับผิดชอบต่อสังคม และอยู่ร่วมกับชุมชนได้

8.ส่งเสริมและจัดให้มีมาตรการทางภาษีและมาตรการอื่นที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิดการประหยัดพลังงาน การใช้พลังงานทดแทน และการใช้พลังงานจากภาคเกษตร

9.สนับสนุนให้ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมทุกสาขาการผลิตเข้าประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรม

10.เร่งรัดสำรวจและแสวงหาแหล่งแร่สำคัญ เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ และพัฒนาอุตสาหกรรมต่อยอดเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มโดยให้ความสำคัญกับการกำกับดูแลผลกระทบสิ่งแวดล้อมและชุมชน

การตลาด การค้า และการลงทุน

1.ส่งเสริมนโยบายการแข่งขันอย่างเสรีและเป็นธรรม เพื่อป้องกันการผูกขาดตัดตอน ส่งเสริมและพัฒนาบทบาทขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภคทั้งภาครัฐและเอกชน แก้ไขปรับปรุงกฎหมาย มาตรการต่างๆ เพื่อสร้างความเป็นธรรมให้แก่ผู้บริโภค

2.สร้างความเชื่อมั่นให้นักลงทุนทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยปรับปรุงพัฒนากฎหมายและกฎระเบียบที่ส่งเสริมการค้าการลงทุนที่ครอบคลุมการลงทุนด้านเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ และปรับปรุงมาตรการบริหารการนำเข้าเพื่อป้องกันการค้าที่ไม่เป็นธรรม

3.สนับสนุนการลงทุนในต่างประเทศในสาขาที่ผู้ประกอบการไทยมีศักยภาพ ส่งเสริมและสนับสนุนการเปิดร้านอาหารไทยของคนไทยตามนโยบายครัวไทยสู่ครัวโลก และนโยบายไทยเป็นครัวอาหารโลก

4.ปรับปรุงมาตรการการส่งเสริมการลงทุนให้ครอบคลุมการให้สิทธิประโยชน์แก่ธุรกิจในภาคเกษตร อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว การกีฬา และบริการ

5.ส่งเสริมการขยายตลาดเชิงรุกเพื่อรักษาตลาดเดิมและสร้างตลาดใหม่ เพื่อลดการพึ่งพาการส่งออกไปตลาดหลัก โดยส่งเสริมการส่งออกสินค้าและบริการในตลาดใหม่ ได้แก่ จีน อินเดีย ตะวันออกกลาง แอฟริกา และยุโรปตะวันออก

6.พัฒนาสินค้าและบริการที่สร้างโอกาสใหม่ในการหารายได้ การผลิตสินค้าและบริการอันเป็นที่ต้องการของผู้บริโภคในตลาดโลก

7.ขยายความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจการค้าการลงทุน และการตลาดภายใต้กรอบความร่วมมือและข้อตกลงการค้าเสรีในระบบพหุภาคีและทวิภาคี

8.เร่งรัดจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษบริเวณพื้นที่ที่มีศักยภาพ โดยให้ความสำคัญต่อจังหวัดชายแดน เพื่อส่งเสริมการค้า การตลาด การลงทุน การจ้างงาน และการใช้วัตถุดิบจากประเทศเพื่อนบ้าน

นโยบายนายกยิ่งลักษณ์  ชินวัตร

นโยบายเศรษฐกิจมหภาค

1.ดำเนิน การให้มีการกระจายรายได้ที่เป็นธรรมให้แก่คนส่วนใหญ่ของประเทศ และให้เศรษฐกิจสามารถเจริญเติบโตในอัตราสูงอย่างมีเสถียรภาพ โดยดำเนินนโยบายเศรษฐกิจที่สนับสนุนการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม และก่อให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน มีการจ้างงานเต็มที่ ระดับราคามีเสถียรภาพ ระมัดระวังความเสี่ยงจากความผันผวนของการเคลื่อนย้ายเงินทุนระหว่างประเทศ

2.ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุนที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการที่หลากหลายได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม

3.พัฒนา ระบบสถาบันการเงินในประเทศให้รับผิดชอบต่อคนส่วนใหญ่และผู้ด้อยโอกาส สามารถให้บริการที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของนวัตกรรมการเงินและความ ต้องการที่เปลี่ยนไปตามสภาวะเศรษฐกิจและสังคมด้วยค่าบริการที่ต่ำและการ บริการที่มีประสิทธิภาพ

4.ปรับโครงสร้างภาษีอากรทั้งระบบ เพื่อสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ สร้างความเป็นธรรมในสังคม ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างฐานรายได้ภาษีที่ยั่งยืนในระยะยาว รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้ทั้งจากภาษีและที่มิใช่ภาษี

5.ส่ง เสริมและรักษาวินัยการคลัง โดยปรับปรุงองค์ประกอบและโครงสร้างงบประมาณให้เหมาะสม มีระบบบริหารความเสี่ยงทางการคลังที่มีประสิทธิภาพ

6.ปรับปรุง โครงสร้างของรัฐวิสาหกิจ โดยมุ่งเน้นประสิทธิภาพการให้บริการ การบริหารทรัพย์สินให้เกิดประโยชน์สูงสุด และเร่งฟื้นฟูรัฐวิสาหกิจที่มีปัญหาฐานะการเงิน

7.บริหารสินทรัพย์ ของประเทศที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์และความมั่นคงทางเศรษฐกิจ รวมทั้งพิจารณาการจัดตั้งกองทุนที่สามารถใช้ในการบริหารสินทรัพย์ของชาติให้ เป็นประโยชน์ เช่น กองทุนมั่งคั่งแห่งชาติ กองทุนน้ำมันเชื้อเพลิงสำรองแห่งชาติ และกองทุนความมั่นคงทางอาหาร เป็นต้น

 

นโยบายสร้างรายได้

 

1.ส่ง เสริมการท่องเที่ยวจากทั้งภายนอกและภายในประเทศ จัดให้มีการพัฒนาการท่องเที่ยวและแหล่งท่องเที่ยว ให้มีรายได้จากนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น 2 เท่าตัวในเวลา 5 ปี

2.ขยาย บทบาทให้ธุรกิจการเกษตรและอาหารซึ่งเป็นแหล่งรายได้และการจ้างงานในประเทศมา เป็นเวลานานให้ก้าวข้ามไปสู่การเป็นศูนย์กลางการผลิตและการค้าอาหารคุณภาพ สูง เป็นที่ต้องการของผู้บริโภคที่มีฐานะและรสนิยมเฉพาะตัว การพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางตลาดซื้อขายล่วงหน้าสินค้าเกษตรและอาหาร จะทำให้เป้าหมายการเป็นครัวที่มีคุณภาพของโลกสัมฤทธิผลรวดเร็วยิ่งขึ้น

3.ส่ง เสริมและผลักดันให้อุตสาหกรรมพลังงานปิโตรเลียมและพลังงานทดแทนสามารถสร้าง รายได้จากความต้องการภายในประเทศ รวมทั้งสร้างการจ้างงานให้แก่ประเทศโดยถือเป็นอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ใหม่

4.ยก ระดับความสามารถในการแข่งขันและขยายช่องทางการตลาดของธุรกิจอุตสาหกรรม ธุรกิจบริการในประเทศ ละธุรกิจวิสาหกิจชุมชนให้เข้าสู่ระบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในการผลิตสินค้าและ บริการที่มีคุณค่าและคุณภาพสูง

5.ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการขยายการ ลงทุนไปประเทศเพื่อนบ้านซึ่งมีความพร้อมทางด้านแรงงานและวัตถุดิบเพื่อสร้าง ความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจให้แก่ประเทศและภูมิภาค

6.ดึงดูดการลงทุน เข้าสู่ประเทศในสาขาที่เป็นการผลิตสินค้าและบริการที่มีพื้นฐานทางเทคโนโลยี มีมูลค่าสูง เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมถึงการลงทุนในการสร้างเมืองใหม่ในพื้นที่ที่เหมาะสม และโครงสร้างพื้นฐานสาธารณะ

7.เสริมสร้างกระบวนการสร้างอาชีพ สร้างงานที่มีคุณภาพและมีรายได้สูงให้แก่ประชาชนอย่างทั่วถึง

8.ส่งเสริมการขยายความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจการค้า การลงทุน และการเงิน ภายใต้ประโยชน์ร่วมกันของกรอบความร่วมมือและข้อตกลงทางการค้า

 

นโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ

 

ภาคเกษตร

 

1.ส่ง เสริมสนับสนุนให้สภาเกษตรกรแห่งชาติเป็นกลไกของเกษตรกรในการสื่อสารกับ รัฐบาลและร่วมกันพัฒนาเกษตรกรด้วยตนเองตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย

2.เพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตพืช โดยการวิจัยและพัฒนาสายพันธุ์ พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเพื่อให้ได้ผลผลิตสูง ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูพืช ใช้ปุ๋ยตามคุณสมบัติของดินแต่ละชนิด เพื่อลดต้นทุนการผลิตและพัฒนาคุณภาพผลผลิต

3.เพิ่มศักยภาพกระบวนการ ผลิตด้านปศุสัตว์ให้ได้มาตรฐาน ปลอดภัย เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพียงพอกับความต้องการภายในประเทศและการส่งออก

4.พัฒนาการประมง ทั้งในการเพาะเลี้ยงและในแหล่งน้ำธรรมชาติ โดยการฟื้นฟูทรัพยากรประมงและจัดระเบียบการทำประมงให้สมดุลกับศักยภาพการ ผลิตตามธรรมชาติ ขยายพื้นที่อนุรักษ์เพื่อการประมงทะเลพื้นบ้าน ส่งเสริมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเศรษฐกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม แสวงหาลู่ทางการทำประมงในน่านน้ำต่างประเทศที่ไม่ขัดต่อระเบียบขององค์การ ระหว่างประเทศและประเทศที่นำเข้า

5.เสริมสร้างฐานรากของครัวเรือน เกษตรกรให้เข้มแข็งโดยการเพิ่มประสิทธิภาพการเพาะปลูก ลดต้นทุนการผลิต พัฒนาระบบการผลิตที่เป็นขั้นตอน

6.จัดทำระบบทะเบียนครัวเรือน เกษตรกรที่มีข้อมูลการเกษตรของครัวเรือนครบถ้วน สามารถเชื่อมโยงกับบัตรเครดิตสำหรับเกษตรกรและมีการปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่ เสมอ

7.เร่งรัดพัฒนาธุรกิจการเกษตร โดยการพัฒนาสถาบันเกษตรกรในด้านธุรกิจ สร้างเกษตรกรรุ่นใหม่จากโครงการกองทุนตั้งตัวได้

8.พัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรมูลค่าเพิ่มเพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันในตลาดโลก

9.ส่ง เสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ ดำเนินการฟื้นฟูสภาพแวดล้อม สร้างความเข้มแข็งภาคเกษตรและสร้างความมั่นคงทางอาหารเพื่อเผชิญกับวิกฤต อาหารโลก

 

ภาคอุตสาหกรรม

1.ยกระดับความสามารถในการ แข่งขันของภาคอุตสาหกรรมในประเทศด้วยการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ลดต้นทุนของผู้ประกอบการ และยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล ตลอดจนส่งเสริมให้มีการสร้างตราสินค้าไทย

2.ยกะดับภาคอุตสาหกรรม เข้าสู่อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ที่ใช้ปัญญา ใช้เทคโนโลยี และใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทดแทนอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเป็นหลัก

3.พัฒนา และส่งเสริมอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปบนฐานความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และนวัตกรรมเพื่อเพิ่มมูลค่าและยกระดับสินค้าให้มีคุณภาพ มีความปลอดภัยตามมาตรฐานสากล และมีโอกาสในการขยายตลาด

4.สร้างความเข้มแข็งให้แก่วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยสนับสนุนช่องทางการเข้าถึงแหล่งสินเชื่อผ่านสถาบันการเงินต่างๆ

5.กำหนดมาตรฐานและคุณภาพขั้นพื้นฐานของสินค้าอุตสาหกรรมเมื่อมีการเปิดเสรีการค้ามากขึ้น เพื่อป้องกันสินค้านำเข้าที่ไม่ได้คุณภาพ

6.พัฒนา พื้นที่อุตสาหกรรมแห่งใหม่ รวมทั้งการพัฒนาสะพานเศรษฐกิจระหว่างฝั่งอันดามันและฝั่งอ่าวไทยสำหรับ รองรับอุตสาหกรรมที่ไม่ก่อมลพิษและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน

7.เร่งพัฒนาภาคอุตสาหกรรมให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความรับผิดชอบต่อสังคม และอยู่ร่วมกับชุมชนได้

8.ส่ง เสริมและจัดให้มีมาตรการทางภาษีและมาตรการอื่นที่เกี่ยวข้องในการพัฒนา อุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิดการประหยัดพลังงาน การใช้พลังงานทดแทน และการใช้พลังงานจากภาคเกษตร

9.สนับสนุนให้ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมทุกสาขาการผลิตเข้าประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรม

10.เร่งรัด สำรวจและแสวงหาแหล่งแร่สำคัญ เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ และพัฒนาอุตสาหกรรมต่อยอดเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มโดยให้ความสำคัญกับการกำกับ ดูแลผลกระทบสิ่งแวดล้อมและชุมชน

 

การตลาด การค้า และการลงทุน

1.ส่ง เสริมนโยบายการแข่งขันอย่างเสรีและเป็นธรรม เพื่อป้องกันการผูกขาดตัดตอน ส่งเสริมและพัฒนาบทบาทขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภคทั้ง ภาครัฐและเอกชน แก้ไขปรับปรุงกฎหมาย มาตรการต่างๆ เพื่อสร้างความเป็นธรรมให้แก่ผู้บริโภค

2.สร้างความเชื่อมั่นให้นัก ลงทุนทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยปรับปรุงพัฒนากฎหมายและกฎระเบียบที่ส่งเสริมการค้าการลงทุนที่ครอบคลุม การลงทุนด้านเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ และปรับปรุงมาตรการบริหารการนำเข้าเพื่อป้องกันการค้าที่ไม่เป็นธรรม

3.สนับสนุน การลงทุนในต่างประเทศในสาขาที่ผู้ประกอบการไทยมีศักยภาพ ส่งเสริมและสนับสนุนการเปิดร้านอาหารไทยของคนไทยตามนโยบายครัวไทยสู่ครัวโลก และนโยบายไทยเป็นครัวอาหารโลก

4.ปรับปรุงมาตรการการส่งเสริมการ ลงทุนให้ครอบคลุมการให้สิทธิประโยชน์แก่ธุรกิจในภาคเกษตร อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว การกีฬา และบริการ

5.ส่งเสริมการขยายตลาดเชิงรุก เพื่อรักษาตลาดเดิมและสร้างตลาดใหม่ เพื่อลดการพึ่งพาการส่งออกไปตลาดหลัก โดยส่งเสริมการส่งออกสินค้าและบริการในตลาดใหม่ ได้แก่ จีน อินเดีย ตะวันออกกลาง แอฟริกา และยุโรปตะวันออก

6.พัฒนาสินค้าและบริการที่สร้างโอกาสใหม่ในการหารายได้ การผลิตสินค้าและบริการอันเป็นที่ต้องการของผู้บริโภคในตลาดโลก

7.ขยายความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจการค้าการลงทุน และการตลาดภายใต้กรอบความร่วมมือและข้อตกลงการค้าเสรีในระบบพหุภาคีและทวิภาคี

8.เร่งรัด จัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษบริเวณพื้นที่ที่มีศักยภาพ โดยให้ความสำคัญต่อจังหวัดชายแดน เพื่อส่งเสริมการค้า การตลาด การลงทุน การจ้างงาน และการใช้วัตถุดิบจากประเทศเพื่อนบ้าน


นโยบายเศรษฐกิจมหภาค 

1.ดำเนิน การให้มีการกระจายรายได้ที่เป็นธรรมให้แก่คนส่วนใหญ่ของประเทศ และให้เศรษฐกิจสามารถเจริญเติบโตในอัตราสูงอย่างมีเสถียรภาพ โดยดำเนินนโยบายเศรษฐกิจที่สนับสนุนการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม และก่อให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน มีการจ้างงานเต็มที่ ระดับราคามีเสถียรภาพ ระมัดระวังความเสี่ยงจากความผันผวนของการเคลื่อนย้ายเงินทุนระหว่างประเทศ

2.ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุนที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการที่หลากหลายได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม

3.พัฒนา ระบบสถาบันการเงินในประเทศให้รับผิดชอบต่อคนส่วนใหญ่และผู้ด้อยโอกาส สามารถให้บริการที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของนวัตกรรมการเงินและความ ต้องการที่เปลี่ยนไปตามสภาวะเศรษฐกิจและสังคมด้วยค่าบริการที่ต่ำและการ บริการที่มีประสิทธิภาพ

4.ปรับโครงสร้างภาษีอากรทั้งระบบ เพื่อสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ สร้างความเป็นธรรมในสังคม ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างฐานรายได้ภาษีที่ยั่งยืนในระยะยาว รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้ทั้งจากภาษีและที่มิใช่ภาษี

5.ส่ง เสริมและรักษาวินัยการคลัง โดยปรับปรุงองค์ประกอบและโครงสร้างงบประมาณให้เหมาะสม มีระบบบริหารความเสี่ยงทางการคลังที่มีประสิทธิภาพ

6.ปรับปรุง โครงสร้างของรัฐวิสาหกิจ โดยมุ่งเน้นประสิทธิภาพการให้บริการ การบริหารทรัพย์สินให้เกิดประโยชน์สูงสุด และเร่งฟื้นฟูรัฐวิสาหกิจที่มีปัญหาฐานะการเงิน

7.บริหารสินทรัพย์ ของประเทศที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์และความมั่นคงทางเศรษฐกิจ รวมทั้งพิจารณาการจัดตั้งกองทุนที่สามารถใช้ในการบริหารสินทรัพย์ของชาติให้ เป็นประโยชน์ เช่น กองทุนมั่งคั่งแห่งชาติ กองทุนน้ำมันเชื้อเพลิงสำรองแห่งชาติ และกองทุนความมั่นคงทางอาหาร เป็นต้น

นโยบายสร้างรายได้

1.ส่ง เสริมการท่องเที่ยวจากทั้งภายนอกและภายในประเทศ จัดให้มีการพัฒนาการท่องเที่ยวและแหล่งท่องเที่ยว ให้มีรายได้จากนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น 2 เท่าตัวในเวลา 5 ปี

2.ขยาย บทบาทให้ธุรกิจการเกษตรและอาหารซึ่งเป็นแหล่งรายได้และการจ้างงานในประเทศมา เป็นเวลานานให้ก้าวข้ามไปสู่การเป็นศูนย์กลางการผลิตและการค้าอาหารคุณภาพ สูง เป็นที่ต้องการของผู้บริโภคที่มีฐานะและรสนิยมเฉพาะตัว การพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางตลาดซื้อขายล่วงหน้าสินค้าเกษตรและอาหาร จะทำให้เป้าหมายการเป็นครัวที่มีคุณภาพของโลกสัมฤทธิผลรวดเร็วยิ่งขึ้น

3.ส่ง เสริมและผลักดันให้อุตสาหกรรมพลังงานปิโตรเลียมและพลังงานทดแทนสามารถสร้าง รายได้จากความต้องการภายในประเทศ รวมทั้งสร้างการจ้างงานให้แก่ประเทศโดยถือเป็นอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ใหม่

4.ยก ระดับความสามารถในการแข่งขันและขยายช่องทางการตลาดของธุรกิจอุตสาหกรรม ธุรกิจบริการในประเทศ และธุรกิจวิสาหกิจชุมชนให้เข้าสู่ระบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในการผลิตสินค้าและ บริการที่มีคุณค่าและคุณภาพสูง

5.ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการขยายการ ลงทุนไปประเทศเพื่อนบ้านซึ่งมีความพร้อมทางด้านแรงงานและวัตถุดิบเพื่อสร้าง ความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจให้แก่ประเทศและภูมิภาค

6.ดึงดูดการลงทุน เข้าสู่ประเทศในสาขาที่เป็นการผลิตสินค้าและบริการที่มีพื้นฐานทางเทคโนโลยี มีมูลค่าสูง เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมถึงการลงทุนในการสร้างเมืองใหม่ในพื้นที่ที่เหมาะสม และโครงสร้างพื้นฐานสาธารณะ

7.เสริมสร้างกระบวนการสร้างอาชีพ สร้างงานที่มีคุณภาพและมีรายได้สูงให้แก่ประชาชนอย่างทั่วถึง

8.ส่งเสริมการขยายความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจการค้า การลงทุน และการเงิน ภายใต้ประโยชน์ร่วมกันของกรอบความร่วมมือและข้อตกลงทางการค้า


นโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ

ภาคเกษตร

1.ส่ง เสริมสนับสนุนให้สภาเกษตรกรแห่งชาติเป็นกลไกของเกษตรกรในการสื่อสารกับ รัฐบาลและร่วมกันพัฒนาเกษตรกรด้วยตนเองตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย

2.เพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตพืช โดยการวิจัยและพัฒนาสายพันธุ์ พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเพื่อให้ได้ผลผลิตสูง ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูพืช ใช้ปุ๋ยตามคุณสมบัติของดินแต่ละชนิด เพื่อลดต้นทุนการผลิตและพัฒนาคุณภาพผลผลิต

3.เพิ่มศักยภาพกระบวนการ ผลิตด้านปศุสัตว์ให้ได้มาตรฐาน ปลอดภัย เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพียงพอกับความต้องการภายในประเทศและการส่งออก

4.พัฒนาการประมง ทั้งในการเพาะเลี้ยงและในแหล่งน้ำธรรมชาติ โดยการฟื้นฟูทรัพยากรประมงและจัดระเบียบการทำประมงให้สมดุลกับศักยภาพการ ผลิตตามธรรมชาติ ขยายพื้นที่อนุรักษ์เพื่อการประมงทะเลพื้นบ้าน ส่งเสริมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเศรษฐกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม แสวงหาลู่ทางการทำประมงในน่านน้ำต่างประเทศที่ไม่ขัดต่อระเบียบขององค์การ ระหว่างประเทศและประเทศที่นำเข้า

5.เสริมสร้างฐานรากของครัวเรือน เกษตรกรให้เข้มแข็งโดยการเพิ่มประสิทธิภาพการเพาะปลูก ลดต้นทุนการผลิต พัฒนาระบบการผลิตที่เป็นขั้นตอน

6.จัดทำระบบทะเบียนครัวเรือน เกษตรกรที่มีข้อมูลการเกษตรของครัวเรือนครบถ้วน สามารถเชื่อมโยงกับบัตรเครดิตสำหรับเกษตรกรและมีการปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่ เสมอ

7.เร่งรัดพัฒนาธุรกิจการเกษตร โดยการพัฒนาสถาบันเกษตรกรในด้านธุรกิจ สร้างเกษตรกรรุ่นใหม่จากโครงการกองทุนตั้งตัวได้

8.พัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรมูลค่าเพิ่มเพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันในตลาดโลก

9.ส่ง เสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ ดำเนินการฟื้นฟูสภาพแวดล้อม สร้างความเข้มแข็งภาคเกษตรและสร้างความมั่นคงทางอาหารเพื่อเผชิญกับวิกฤต อาหารโลก

ภาคอุตสาหกรรม

1.ยกระดับความสามารถในการ แข่งขันของภาคอุตสาหกรรมในประเทศด้วยการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ลดต้นทุนของผู้ประกอบการ และยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล ตลอดจนส่งเสริมให้มีการสร้างตราสินค้าไทย

2.ยกระดับภาคอุตสาหกรรม เข้าสู่อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ที่ใช้ปัญญา ใช้เทคโนโลยี และใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทดแทนอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเป็นหลัก

3.พัฒนา และส่งเสริมอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปบนฐานความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และนวัตกรรมเพื่อเพิ่มมูลค่าและยกระดับสินค้าให้มีคุณภาพ มีความปลอดภัยตามมาตรฐานสากล และมีโอกาสในการขยายตลาด

4.สร้างความเข้มแข็งให้แก่วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยสนับสนุนช่องทางการเข้าถึงแหล่งสินเชื่อผ่านสถาบันการเงินต่างๆ

5.กำหนดมาตรฐานและคุณภาพขั้นพื้นฐานของสินค้าอุตสาหกรรมเมื่อมีการเปิดเสรีการค้ามากขึ้น เพื่อป้องกันสินค้านำเข้าที่ไม่ได้คุณภาพ

6.พัฒนา พื้นที่อุตสาหกรรมแห่งใหม่ รวมทั้งการพัฒนาสะพานเศรษฐกิจระหว่างฝั่งอันดามันและฝั่งอ่าวไทยสำหรับ รองรับอุตสาหกรรมที่ไม่ก่อมลพิษและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน

7.เร่งพัฒนาภาคอุตสาหกรรมให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความรับผิดชอบต่อสังคม และอยู่ร่วมกับชุมชนได้

8.ส่ง เสริมและจัดให้มีมาตรการทางภาษีและมาตรการอื่นที่เกี่ยวข้องในการพัฒนา อุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิดการประหยัดพลังงาน การใช้พลังงานทดแทน และการใช้พลังงานจากภาคเกษตร

9.สนับสนุนให้ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมทุกสาขาการผลิตเข้าประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรม

10.เร่งรัด สำรวจและแสวงหาแหล่งแร่สำคัญ เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ และพัฒนาอุตสาหกรรมต่อยอดเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มโดยให้ความสำคัญกับการกำกับ ดูแลผลกระทบสิ่งแวดล้อมและชุมชน

การตลาด การค้า และการลงทุน

1.ส่ง เสริมนโยบายการแข่งขันอย่างเสรีและเป็นธรรม เพื่อป้องกันการผูกขาดตัดตอน ส่งเสริมและพัฒนาบทบาทขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภคทั้ง ภาครัฐและเอกชน แก้ไขปรับปรุงกฎหมาย มาตรการต่างๆ เพื่อสร้างความเป็นธรรมให้แก่ผู้บริโภค

2.สร้างความเชื่อมั่นให้นัก ลงทุนทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยปรับปรุงพัฒนากฎหมายและกฎระเบียบที่ส่งเสริมการค้าการลงทุนที่ครอบคลุม การลงทุนด้านเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ และปรับปรุงมาตรการบริหารการนำเข้าเพื่อป้องกันการค้าที่ไม่เป็นธรรม

3.สนับสนุน การลงทุนในต่างประเทศในสาขาที่ผู้ประกอบการไทยมีศักยภาพ ส่งเสริมและสนับสนุนการเปิดร้านอาหารไทยของคนไทยตามนโยบายครัวไทยสู่ครัวโลก และนโยบายไทยเป็นครัวอาหารโลก

4.ปรับปรุงมาตรการการส่งเสริมการ ลงทุนให้ครอบคลุมการให้สิทธิประโยชน์แก่ธุรกิจในภาคเกษตร อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว การกีฬา และบริการ

5.ส่งเสริมการขยายตลาดเชิงรุก เพื่อรักษาตลาดเดิมและสร้างตลาดใหม่ เพื่อลดการพึ่งพาการส่งออกไปตลาดหลัก โดยส่งเสริมการส่งออกสินค้าและบริการในตลาดใหม่ ได้แก่ จีน อินเดีย ตะวันออกกลาง แอฟริกา และยุโรปตะวันออก

6.พัฒนาสินค้าและบริการที่สร้างโอกาสใหม่ในการหารายได้ การผลิตสินค้าและบริการอันเป็นที่ต้องการของผู้บริโภคในตลาดโลก

7.ขยายความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจการค้าการลงทุน และการตลาดภายใต้กรอบความร่วมมือและข้อตกลงการค้าเสรีในระบบพหุภาคีและทวิภาคี

8.เร่งรัด จัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษบริเวณพื้นที่ที่มีศักยภาพ โดยให้ความสำคัญต่อจังหวัดชายแดน เพื่อส่งเสริมการค้า การตลาด การลงทุน การจ้างงาน และการใช้วัตถุดิบจากประเทศเพื่อนบ้าน


นโยบายเศรษฐกิจมหภาค

1.ดำเนินการให้มีการกระจายรายได้ที่เป็นธรรมให้แก่คนส่วนใหญ่ของประเทศ และให้เศรษฐกิจสามารถเจริญเติบโตในอัตราสูงอย่างมีเสถียรภาพ โดยดำเนินนโยบายเศรษฐกิจที่สนับสนุนการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม และก่อให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน มีการจ้างงานเต็มที่ ระดับราคามีเสถียรภาพ ระมัดระวังความเสี่ยงจากความผันผวนของการเคลื่อนย้ายเงินทุนระหว่างประเทศ 

2.ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุนที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการที่หลากหลายได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม 

3.พัฒนาระบบสถาบันการเงินในประเทศให้รับผิดชอบต่อคนส่วนใหญ่และผู้ด้อยโอกาส สามารถให้บริการที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของนวัตกรรมการเงินและความต้องการที่เปลี่ยนไปตามสภาวะเศรษฐกิจและสังคมด้วยค่าบริการที่ต่ำและการบริการที่มีประสิทธิภาพ

4.ปรับโครงสร้างภาษีอากรทั้งระบบ เพื่อสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ สร้างความเป็นธรรมในสังคม ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างฐานรายได้ภาษีที่ยั่งยืนในระยะยาว รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้ทั้งจากภาษีและที่มิใช่ภาษี

5.ส่งเสริมและรักษาวินัยการคลัง โดยปรับปรุงองค์ประกอบและโครงสร้างงบประมาณให้เหมาะสม มีระบบบริหารความเสี่ยงทางการคลังที่มีประสิทธิภาพ 

6.ปรับปรุงโครงสร้างของรัฐวิสาหกิจ โดยมุ่งเน้นประสิทธิภาพการให้บริการ การบริหารทรัพย์สินให้เกิดประโยชน์สูงสุด และเร่งฟื้นฟูรัฐวิสาหกิจที่มีปัญหาฐานะการเงิน

7.บริหารสินทรัพย์ของประเทศที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์และความมั่นคงทางเศรษฐกิจ รวมทั้งพิจารณาการจัดตั้งกองทุนที่สามารถใช้ในการบริหารสินทรัพย์ของชาติให้เป็นประโยชน์ เช่น กองทุนมั่งคั่งแห่งชาติ กองทุนน้ำมันเชื้อเพลิงสำรองแห่งชาติ และกองทุนความมั่นคงทางอาหาร เป็นต้น

นโยบายสร้างรายได้

1.ส่งเสริมการท่องเที่ยวจากทั้งภายนอกและภายในประเทศ จัดให้มีการพัฒนาการท่องเที่ยวและแหล่งท่องเที่ยว ให้มีรายได้จากนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น 2 เท่าตัวในเวลา 5 ปี

2.ขยายบทบาทให้ธุรกิจการเกษตรและอาหารซึ่งเป็นแหล่งรายได้และการจ้างงานในประเทศมาเป็นเวลานานให้ก้าวข้ามไปสู่การเป็นศูนย์กลางการผลิตและการค้าอาหารคุณภาพสูง เป็นที่ต้องการของผู้บริโภคที่มีฐานะและรสนิยมเฉพาะตัว การพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางตลาดซื้อขายล่วงหน้าสินค้าเกษตรและอาหาร จะทำให้เป้าหมายการเป็นครัวที่มีคุณภาพของโลกสัมฤทธิผลรวดเร็วยิ่งขึ้น

3.ส่งเสริมและผลักดันให้อุตสาหกรรมพลังงานปิโตรเลียมและพลังงานทดแทนสามารถสร้างรายได้จากความต้องการภายในประเทศ รวมทั้งสร้างการจ้างงานให้แก่ประเทศโดยถือเป็นอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ใหม่

4.ยกระดับความสามารถในการแข่งขันและขยายช่องทางการตลาดของธุรกิจอุตสาหกรรม ธุรกิจบริการในประเทศ และธุรกิจวิสาหกิจชุมชนให้เข้าสู่ระบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในการผลิตสินค้าและบริการที่มีคุณค่าและคุณภาพสูง

5.ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการขยายการลงทุนไปประเทศเพื่อนบ้านซึ่งมีความพร้อมทางด้านแรงงานและวัตถุดิบเพื่อสร้างความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจให้แก่ประเทศและภูมิภาค

6.ดึงดูดการลงทุนเข้าสู่ประเทศในสาขาที่เป็นการผลิตสินค้าและบริการที่มีพื้นฐานทางเทคโนโลยีมีมูลค่าสูง เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมถึงการลงทุนในการสร้างเมืองใหม่ในพื้นที่ที่เหมาะสม และโครงสร้างพื้นฐานสาธารณะ 

7.เสริมสร้างกระบวนการสร้างอาชีพ สร้างงานที่มีคุณภาพและมีรายได้สูงให้แก่ประชาชนอย่างทั่วถึง 

8.ส่งเสริมการขยายความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจการค้า การลงทุน และการเงิน ภายใต้ประโยชน์ร่วมกันของกรอบความร่วมมือและข้อตกลงทางการค้า

นโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ

ภาคเกษตร

1.ส่งเสริมสนับสนุนให้สภาเกษตรกรแห่งชาติเป็นกลไกของเกษตรกรในการสื่อสารกับรัฐบาลและร่วมกันพัฒนาเกษตรกรด้วยตนเองตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย

2.เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพืช โดยการวิจัยและพัฒนาสายพันธุ์ พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเพื่อให้ได้ผลผลิตสูง ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูพืช ใช้ปุ๋ยตามคุณสมบัติของดินแต่ละชนิด เพื่อลดต้นทุนการผลิตและพัฒนาคุณภาพผลผลิต

3.เพิ่มศักยภาพกระบวนการผลิตด้านปศุสัตว์ให้ได้มาตรฐาน ปลอดภัย เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพียงพอกับความต้องการภายในประเทศและการส่งออก 

4.พัฒนาการประมง ทั้งในการเพาะเลี้ยงและในแหล่งน้ำธรรมชาติ โดยการฟื้นฟูทรัพยากรประมงและจัดระเบียบการทำประมงให้สมดุลกับศักยภาพการผลิตตามธรรมชาติ ขยายพื้นที่อนุรักษ์เพื่อการประมงทะเลพื้นบ้าน ส่งเสริมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเศรษฐกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม แสวงหาลู่ทางการทำประมงในน่านน้ำต่างประเทศที่ไม่ขัดต่อระเบียบขององค์การระหว่างประเทศและประเทศที่นำเข้า 

5.เสริมสร้างฐานรากของครัวเรือนเกษตรกรให้เข้มแข็งโดยการเพิ่มประสิทธิภาพการเพาะปลูก ลดต้นทุนการผลิต พัฒนาระบบการผลิตที่เป็นขั้นตอน 

6.จัดทำระบบทะเบียนครัวเรือนเกษตรกรที่มีข้อมูลการเกษตรของครัวเรือนครบถ้วน สามารถเชื่อมโยงกับบัตรเครดิตสำหรับเกษตรกรและมีการปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่เสมอ

7.เร่งรัดพัฒนาธุรกิจการเกษตร โดยการพัฒนาสถาบันเกษตรกรในด้านธุรกิจ สร้างเกษตรกรรุ่นใหม่จากโครงการกองทุนตั้งตัวได้

8.พัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรมูลค่าเพิ่มเพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันในตลาดโลก

9.ส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ ดำเนินการฟื้นฟูสภาพแวดล้อม สร้างความเข้มแข็งภาคเกษตรและสร้างความมั่นคงทางอาหารเพื่อเผชิญกับวิกฤตอาหารโลก 

นโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาลนายกยิ่งลักษณ์

นโยบายเศรษฐกิจมหภาค

1.ดำเนิน การให้มีการกระจายรายได้ที่เป็นธรรมให้แก่คนส่วนใหญ่ของประเทศ และให้เศรษฐกิจสามารถเจริญเติบโตในอัตราสูงอย่างมีเสถียรภาพ โดยดำเนินนโยบายเศรษฐกิจที่สนับสนุนการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม และก่อให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน มีการจ้างงานเต็มที่ ระดับราคามีเสถียรภาพ ระมัดระวังความเสี่ยงจากความผันผวนของการเคลื่อนย้ายเงินทุนระหว่างประเทศ

2.ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุนที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการที่หลากหลายได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม

3.พัฒนา ระบบสถาบันการเงินในประเทศให้รับผิดชอบต่อคนส่วนใหญ่และผู้ด้อยโอกาส สามารถให้บริการที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของนวัตกรรมการเงินและความ ต้องการที่เปลี่ยนไปตามสภาวะเศรษฐกิจและสังคมด้วยค่าบริการที่ต่ำและการ บริการที่มีประสิทธิภาพ

4.ปรับโครงสร้างภาษีอากรทั้งระบบ เพื่อสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ สร้างความเป็นธรรมในสังคม ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างฐานรายได้ภาษีที่ยั่งยืนในระยะยาว รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้ทั้งจากภาษีและที่มิใช่ภาษี

5.ส่ง เสริมและรักษาวินัยการคลัง โดยปรับปรุงองค์ประกอบและโครงสร้างงบประมาณให้เหมาะสม มีระบบบริหารความเสี่ยงทางการคลังที่มีประสิทธิภาพ

6.ปรับปรุง โครงสร้างของรัฐวิสาหกิจ โดยมุ่งเน้นประสิทธิภาพการให้บริการ การบริหารทรัพย์สินให้เกิดประโยชน์สูงสุด และเร่งฟื้นฟูรัฐวิสาหกิจที่มีปัญหาฐานะการเงิน

7.บริหารสินทรัพย์ ของประเทศที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์และความมั่นคงทางเศรษฐกิจ รวมทั้งพิจารณาการจัดตั้งกองทุนที่สามารถใช้ในการบริหารสินทรัพย์ของชาติให้ เป็นประโยชน์ เช่น กองทุนมั่งคั่งแห่งชาติ กองทุนน้ำมันเชื้อเพลิงสำรองแห่งชาติ และกองทุนความมั่นคงทางอาหาร เป็นต้น

นโยบายสร้างรายได้

1.ส่ง เสริมการท่องเที่ยวจากทั้งภายนอกและภายในประเทศ จัดให้มีการพัฒนาการท่องเที่ยวและแหล่งท่องเที่ยว ให้มีรายได้จากนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น

 2 เท่าตัวในเวลา 5 ปี2.ขยาย บทบาทให้ธุรกิจการเกษตรและอาหารซึ่งเป็นแหล่งรายได้และการจ้างงานในประเทศมา เป็นเวลานานให้ก้าวข้ามไปสู่การเป็นศูนย์กลางการผลิตและการค้าอาหารคุณภาพ สูง เป็นที่ต้องการของผู้บริโภคที่มีฐานะและรสนิยมเฉพาะตัว การพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางตลาดซื้อขายล่วงหน้าสินค้าเกษตรและอาหาร จะทำให้เป้าหมายการเป็นครัวที่มีคุณภาพของโลกสัมฤทธิผลรวดเร็วยิ่งขึ้น

3.ส่ง เสริมและผลักดันให้อุตสาหกรรมพลังงานปิโตรเลียมและพลังงานทดแทนสามารถสร้าง รายได้จากความต้องการภายในประเทศ รวมทั้งสร้างการจ้างงานให้แก่ประเทศโดยถือเป็นอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ใหม่

4.ยก ระดับความสามารถในการแข่งขันและขยายช่องทางการตลาดของธุรกิจอุตสาหกรรม ธุรกิจบริการในประเทศ และธุรกิจวิสาหกิจชุมชนให้เข้าสู่ระบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในการผลิตสินค้าและ บริการที่มีคุณค่าและคุณภาพสูง

5.ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการขยายการ ลงทุนไปประเทศเพื่อนบ้านซึ่งมีความพร้อมทางด้านแรงงานและวัตถุดิบเพื่อสร้าง ความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจให้แก่ประเทศและภูมิภาค

6.ดึงดูดการลงทุน เข้าสู่ประเทศในสาขาที่เป็นการผลิตสินค้าและบริการที่มีพื้นฐานทางเทคโนโลยี มีมูลค่าสูง เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมถึงการลงทุนในการสร้างเมืองใหม่ในพื้นที่ที่เหมาะสม และโครงสร้างพื้นฐานสาธารณะ

7.เสริมสร้างกระบวนการสร้างอาชีพ สร้างงานที่มีคุณภาพและมีรายได้สูงให้แก่ประชาชนอย่างทั่วถึง

8.ส่งเสริมการขยายความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจการค้า การลงทุน และการเงิน ภายใต้ประโยชน์ร่วมกันของกรอบความร่วมมือและข้อตกลงทางการค้า

นโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจภาคเกษตร

1.ส่ง เสริมสนับสนุนให้สภาเกษตรกรแห่งชาติเป็นกลไกของเกษตรกรในการสื่อสารกับ รัฐบาลและร่วมกันพัฒนาเกษตรกรด้วยตนเองตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย

2.เพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตพืช โดยการวิจัยและพัฒนาสายพันธุ์ พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเพื่อให้ได้ผลผลิตสูง ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูพืช ใช้ปุ๋ยตามคุณสมบัติของดินแต่ละชนิด เพื่อลดต้นทุนการผลิตและพัฒนาคุณภาพผลผลิต

3.เพิ่มศักยภาพกระบวนการ ผลิตด้านปศุสัตว์ให้ได้มาตรฐาน ปลอดภัย เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพียงพอกับความต้องการภายในประเทศและการส่งออก

4.พัฒนาการประมง ทั้งในการเพาะเลี้ยงและในแหล่งน้ำธรรมชาติ โดยการฟื้นฟูทรัพยากรประมงและจัดระเบียบการทำประมงให้สมดุลกับศักยภาพการ ผลิตตามธรรมชาติ ขยายพื้นที่อนุรักษ์เพื่อการประมงทะเลพื้นบ้าน ส่งเสริมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเศรษฐกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม แสวงหาลู่ทางการทำประมงในน่านน้ำต่างประเทศที่ไม่ขัดต่อระเบียบขององค์การ ระหว่างประเทศและประเทศที่นำเข้า

5.เสริมสร้างฐานรากของครัวเรือน เกษตรกรให้เข้มแข็งโดยการเพิ่มประสิทธิภาพการเพาะปลูก ลดต้นทุนการผลิต พัฒนาระบบการผลิตที่เป็นขั้นตอน

6.จัดทำระบบทะเบียนครัวเรือน เกษตรกรที่มีข้อมูลการเกษตรของครัวเรือนครบถ้วน สามารถเชื่อมโยงกับบัตรเครดิตสำหรับเกษตรกรและมีการปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่ เสมอ

7.เร่งรัดพัฒนาธุรกิจการเกษตร โดยการพัฒนาสถาบันเกษตรกรในด้านธุรกิจ สร้างเกษตรกรรุ่นใหม่จากโครงการกองทุนตั้งตัวได้

8.พัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรมูลค่าเพิ่มเพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันในตลาดโลก

9.ส่ง เสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ ดำเนินการฟื้นฟูสภาพแวดล้อม สร้างความเข้มแข็งภาคเกษตรและสร้างความมั่นคงทางอาหารเพื่อเผชิญกับวิกฤต อาหารโลก

ภาคอุตสาหกรรม

1.ยกระดับความสามารถในการ แข่งขันของภาคอุตสาหกรรมในประเทศด้วยการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ลดต้นทุนของผู้ประกอบการ และยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล ตลอดจนส่งเสริมให้มีการสร้างตราสินค้าไทย

2.ยกระดับภาคอุตสาหกรรม เข้าสู่อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ที่ใช้ปัญญา ใช้เทคโนโลยี และใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทดแทนอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเป็นหลัก

3.พัฒนา และส่งเสริมอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปบนฐานความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และนวัตกรรมเพื่อเพิ่มมูลค่าและยกระดับสินค้าให้มีคุณภาพ มีความปลอดภัยตามมาตรฐานสากล และมีโอกาสในการขยายตลาด

4.สร้างความเข้มแข็งให้แก่วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยสนับสนุนช่องทางการเข้าถึงแหล่งสินเชื่อผ่านสถาบันการเงินต่างๆ

5.กำหนดมาตรฐานและคุณภาพขั้นพื้นฐานของสินค้าอุตสาหกรรมเมื่อมีการเปิดเสรีการค้ามากขึ้น เพื่อป้องกันสินค้านำเข้าที่ไม่ได้คุณภาพ

6.พัฒนา พื้นที่อุตสาหกรรมแห่งใหม่ รวมทั้งการพัฒนาสะพานเศรษฐกิจระหว่างฝั่งอันดามันและฝั่งอ่าวไทยสำหรับ รองรับอุตสาหกรรมที่ไม่ก่อมลพิษและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน

7.เร่งพัฒนาภาคอุตสาหกรรมให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความรับผิดชอบต่อสังคม และอยู่ร่วมกับชุมชนได้

8.ส่ง เสริมและจัดให้มีมาตรการทางภาษีและมาตรการอื่นที่เกี่ยวข้องในการพัฒนา อุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิดการประหยัดพลังงาน การใช้พลังงานทดแทน และการใช้พลังงานจากภาคเกษตร

9.สนับสนุนให้ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมทุกสาขาการผลิตเข้าประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรม

10.เร่งรัด สำรวจและแสวงหาแหล่งแร่สำคัญ เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ และพัฒนาอุตสาหกรรมต่อยอดเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มโดยให้ความสำคัญกับการกำกับ ดูแลผลกระทบสิ่งแวดล้อมและชุมชน

การตลาด การค้า และการลงทุน

1.ส่ง เสริมนโยบายการแข่งขันอย่างเสรีและเป็นธรรม เพื่อป้องกันการผูกขาดตัดตอน ส่งเสริมและพัฒนาบทบาทขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภคทั้ง ภาครัฐและเอกชน แก้ไขปรับปรุงกฎหมาย มาตรการต่างๆ เพื่อสร้างความเป็นธรรมให้แก่ผู้บริโภค

2.สร้างความเชื่อมั่นให้นัก ลงทุนทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยปรับปรุงพัฒนากฎหมายและกฎระเบียบที่ส่งเสริมการค้าการลงทุนที่ครอบคลุม การลงทุนด้านเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ และปรับปรุงมาตรการบริหารการนำเข้าเพื่อป้องกันการค้าที่ไม่เป็นธรรม

3.สนับสนุน การลงทุนในต่างประเทศในสาขาที่ผู้ประกอบการไทยมีศักยภาพ ส่งเสริมและสนับสนุนการเปิดร้านอาหารไทยของคนไทยตามนโยบายครัวไทยสู่ครัวโลก และนโยบายไทยเป็นครัวอาหารโลก

4.ปรับปรุงมาตรการการส่งเสริมการ ลงทุนให้ครอบคลุมการให้สิทธิประโยชน์แก่ธุรกิจในภาคเกษตร อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว การกีฬา และบริการ

5.ส่งเสริมการขยายตลาดเชิงรุก เพื่อรักษาตลาดเดิมและสร้างตลาดใหม่ เพื่อลดการพึ่งพาการส่งออกไปตลาดหลัก โดยส่งเสริมการส่งออกสินค้าและบริการในตลาดใหม่ ได้แก่ จีน อินเดีย ตะวันออกกลาง แอฟริกา และยุโรปตะวันออก

6.พัฒนาสินค้าและบริการที่สร้างโอกาสใหม่ในการหารายได้ การผลิตสินค้าและบริการอันเป็นที่ต้องการของผู้บริโภคในตลาดโลก

7.ขยายความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจการค้าการลงทุน และการตลาดภายใต้กรอบความร่วมมือและข้อตกลงการค้าเสรีในระบบพหุภาคีและทวิภาคี

8.เร่งรัด จัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษบริเวณพื้นที่ที่มีศักยภาพ โดยให้ความสำคัญต่อจังหวัดชายแดน เพื่อส่งเสริมการค้า การตลาด การลงทุน การจ้างงาน และการใช้วัตถุดิบจากประเทศเพื่อนบ้าน


และคณะรัฐมนตรีพิจารณาเป้าหมายของนโยบายการเงินประจำปี 2556 แล้วมีมติอนุมัติเป้าหมายของนโยบายการเงินประจำปี 2556 ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ ทั้งนี้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง (กค.) รายงานว่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและคณะคณะกรรมการนโยบายการเงินได้เห็นชอบร่วมกันในการเสนอเป้าหมายของนโยบายการเงินประจำปี 2556 ต่อคณะรัฐมนตรี โดยมีสาระสำคัญ ดังนี้

1. กำหนดเป้าหมายของนโยบายการเงินประจำปี 2556 ไว้ที่อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานเฉลี่ยรายไตรมาสระหว่างร้อยละ 0.5 — 3.0 ต่อปี เช่นเดียวกับเป้าหมายของนโยบายการเงินประจำปี 2555 ซึ่งคณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติเมื่อวันที่ 17 เมษายน 2555

2. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยในฐานะประธานคณะกรรมการนโยบายการเงินได้ลงนามในข้อตกลงร่วมกันในการกำหนดเป้าหมายของนโยบายการเงินประจำปี 2556 โดยข้อตกลงดังกล่าวมีสาระสำคัญ ดังนี้

2.1 เป้าหมายของนโยบายการเงิน ประจำปี 25556  อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานเฉลี่ยรายไตรมาสระหว่างร้อยละ 0.5 — 3.0 ต่อปี

2.2 การติดตามความเคลื่อนไหวของเป้าหมายของนโยบายการเงิน

เพื่อให้สามารถบรรลุเป้าหมายของนโยบายการเงินอย่างมีประสิทธิภาพ กค. และธนาคารแห่งประเทศไทยจะจัดให้มีการหารือร่วมกันเป็นประจำทุกไตรมาส และเมื่อมีเหตุจำเป็นอันใดตามที่ทั้งสองหน่วยงานจะเห็นสมควร

2.3 การเคลื่อนไหวของอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานออกนอกเป้าหมาย

กรณีอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานเคลื่อนไหวออกนอกช่วงเป้าหมายตามที่ตกลงร่วมกันไว้ ให้คณะกรรมการนโยบายการเงินชี้แจงสาเหตุ แนวทางแก้ไขและระยะเวลาที่คาดว่าอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานจะกลับเข้าสู่ช่วงที่กำหนดไว้โดยเร็ว รวมทั้งให้รายงานความคืบหน้าของการแก้ไขปัญหาเป็นระยะตามสมควร

2.4 การแก้ไขเป้าหมายของนโยบายการเงิน

ในกรณีที่มีเหตุอันสมควรหรือจำเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและคณะกรรมการนโยบายการเงินอาจตกลงร่วมกันเพื่อแก้ไขเป้าหมายของนโยบายการเงินได้ก่อนนำเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณา

--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี นางสาวยิ่งลักษณ์  ชินวัตร (นายกรัฐมนตรี) วันที่ 11 ธันวาคม 2555


พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท