หัวข้อศึกษาปัญหากฎหมายล้มละลายเปรียบเทียบ


หัวข้อศึกษากฎหมายล้มละลายเปรียบเทียบ, ปี 2552

หัวข้อศึกษาปัญหากฎหมายล้มละลายเปรียบเทียบ

1. บทบาทและอิทธิพลของกฎหมายล้มละลายไทยในเชิงเศรษฐกิจ

2.ความแตกต่าง และข้อดี - ข้อเสีย ระหว่างขบวนการล้มละลายระหว่าง "การล้มละลายของนิติบุคคล" และ "การล้มละลายของบุคคลธรรมดา"

3.อำนาจและหน้าที่ของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ ในคดีล้มละลาย ส.

4.อำนาจและหน้าที่ของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ในคดีล้มละลาย (ฟื้นฟู)

5.การประนอมหนี้ - การปลดจากการล้มละลาย - การยกเลิกการล้มละลาย (เปรียบเทียบผล)

6.สินทรัพย์ด้อยคุณภาพ (NPLs) เปรียบเทียบระหว่างแนวคิดของธนาคารแห่งประเทศไทย กับของพระราชกำหนดบรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย พ.ศ. 2544 (มาตรา 3)

7.ปัญหาการเลือกที่ปรึกษาทางการเงินในการปรับโครงสร้างหนี้

8.ความรับผิดของผู้บริหารกิจการของลูกหนี้ในระหว่างอยู่ในขบวนการปรับโครงสร้างหนี้

9.ท่านในฐานะเจ้าหนี้ มีความประสงค์จะคัดเลือกที่ปรึกษาด้านคดีและด้านกฎหมาย ท่านจะมีหลักเกณฑ์การคัดเลือกอย่างไร  (ศึกษาในกรณีคดีการเงินที่ท่านได้รับโอนหนี้มาจากบุคคลที่สาม)

10.นโยบายการคลัง และการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ธุรกิจเอกชน

11.การจัดการทรัพย์สินด้อยคุณภาพ (ศึกษากรณีบรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย)

12.สิทธิประโยชน์ในการปรับปรุงโครงสร้างหนี้

13.สำนักงานคณะกรรมการเพื่อส่งเสริมการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ (ศึกษากรณีแนวทางการปรับปรุงโครงสร้างหนี้)

14.บทบาท TAMC ต่อการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ในธุรกิจภาคเอกชน

15.ปัญหาและความรับผิดของบรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย (ศึกษากรณีเจ้าหน้าที่บริหารงานโดยประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ต่อการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ของลูกหนี้)

16.บทบาทของศาลในการฟื้นฟูกิจการลูกหนี้

17.กฎหมายล้มละลาย และกฎหมายเกี่ยวกับการฟื้นฟูกิจการของฝรั่งเศส

18.กฎหมายล้มละลาย และกฎหมายเกี่ยวกับการฟื้นฟูกิจการของสหรัฐอเมริกา

19.มาตรการทางกฎหมายในการจัดรูปองค์กรที่เข้ามาบริหารในขบวนการล้มละลายให้มีประสิทธิภาพ

20.มาตรการทางกฎหมาย "ในการปรับปรุงโครงสร้างหนี้" ตามกฎหมายไทย เปรียบเทียบกับประเทศ(ฝรั่งเศส, อังกฤษ, สหรัฐอเมริกา, สิงคโปร์) ประเทศใดประเทศหนึ่ง

21.มาตรการทางกฎหมายที่มีส่วนสำคัญในการสร้างปัจจัยให้มีการฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้ในคดีล้มละลาย : ศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายไทยกับประเทศ (ฝรั่งเศส, อังกฤษ, สหรัฐอเมริกา, สิงคโปร์)  ประเทศใดประเทศหนึ่ง

22.มาตรการทางกฎหมายที่เป็นอุปสรรคสำคัญในการฟื้นฟูกิจการลูกหนี้ในคดีล้มละลายตามกฎหมายไทย

23.หลักการการฟื้นฟูกิจการตามกฎหมายล้มละลายของไทย เปรียบเทียบกับประเทศ ฝรั่งเศส, อังกฤษ, สหรัฐอเมริกา, สิงคโปร์  ประเทศใดประเทศหนึ่ง

24.มาตรการทางกฎหมายในการกำหนดคุณสมบัติ และบทบาทของผู้ทำแผน และดำเนินการตามแผนฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้

25.บทบาทของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ในการดำเนินคดีล้มละลาย

26.บทบาทของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ในการดำเนินคดีฟื้นฟูกิจการ

27.อำนาจของศาลในการดำเนินคดีล้มละลาย

28.อำนาจของศาลในการดำเนินคดีฟื้นฟูกิจการ

29.มาตรการในการฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้ตามกฎหมายล้มละลาย : ศึกษาผลกระทบต่อเจ้าหนี้และลูกหนี้

30.บทบาทของสำนักงานคณะกรรมการเพื่อส่งเสริมการปรับโครงสร้างหนี้ (สปน.)

31.บทบาทและอิทธิพลของกฎหมายล้มละลายในเชิงเศรษฐกิจ

32.การฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้ : ศึกษาเฉพาะกรณีบริษัท....

33.ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการกระทำใดๆ ของลูกหนี้ภายหลังจากถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์

34.ปัญหา / มาตรการทางกฎหมายในการเข้าสู่กระบวนการล้มละลาย

35.ปัญหา / มาตรการทางกฎหมายในการเข้าสู่กระบวนการฟื้นฟูกิจการ

36.ผลการดำเนินงานของ บบส. และ บสท.    :  ศึกษาเฉพาะกรณีการปรับโครงสร้างหนี้

37.ผลการดำเนินงานของ บบส. และ บสท.    :  ศึกษาเฉพาะกรณีการฟื้นฟูกิจการ

38.การประนอมหนี้ก่อนล้มละลาย เปรียบเทียบ ไทย - ฝรั่งเศส

39.การปรับโครงสร้างหนี้ เปรียบเทียบ ไทย - ฝรั่งเศส - สิงคโปร์

40.บทบาท และอำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์

41.ปัญหาการเพิกถอนการโอนทรัพย์สินของลูกหนี้ในคดีล้มละลาย

42.การได้รับชำระหนี้ของเจ้าหนี้ในคดีล้มละลาย

43.การปรับโครงสร้างหนี้ และการฟื้นฟูกิจการตามกฎหมายล้มละลาย

44.การประนอมหนี้ตามกฎหมายล้มละลาย

45.การตั้งเอกชนเป็นเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ตามกฎหมายล้มละลาย

46.หนี้ภาษีอากรในการฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้

47.การไต่สวนลูกหนี้โดยเปิดเผยตามกฎหมายล้มละลาย

48.วิธีการคุ้มครองชั่วคราวในคดีล้มละลาย

49.การฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้ที่เป็นองค์กรธุรกิจ มิใช่นิติบุคคล

50.ผลกระทบของคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ชั่วคราว

51.ผลกระทบของคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด

52.มาตรการทางกฎหมายของแผนฟื้นฟูกิจการที่ดี

53.ผลกระทบต่อเจ้าหนี้และลูกหนี้ เนื่องจากการฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้ตามกฎหมายล้มละลาย

54.ปัญหาการเพิกถอนการฉ้อฉลในคดีล้มละลาย

 

ข้อมูลหัวข้อศึกษาปัญหากฎหมายล้มละลายเปรียบเทียบ ปี 2552

ร.ศ.ดร.ภูมิ  โชคเหมาะ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

หมายเลขบันทึก: 502562เขียนเมื่อ 17 กันยายน 2012 16:36 น. ()แก้ไขเมื่อ 28 กันยายน 2012 19:42 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท