Good day Toronto 5


เรามาดูงานเพื่อให้เห็นระยะห่างระหว่างเขากับเรา และดูว่าเรา(ฉัน)จะทำอะไรได้บ้างที่จะทำให้ระยะห่างนั้นลดลง

 

ในช่วงที่ไปดูงาน เตือนตัวเองเสมอมา เรามาดูว่าเขาเป็นอย่างไร เมื่อกลับไปเมืองไทย ไม่ได้กลับไปเพื่อจะบอกให้คนอื่นเปลี่ยนให้เหมือนของเขา แต่เรามาดูงานเพื่อให้เห็นระยะห่างระหว่างเขากับเรา และดูว่าเรา(ฉัน)จะทำอะไรได้บ้างที่จะทำให้ระยะห่างนั้นลดลง ไม่ใช่เห็นดีเห็นงามไปหมดและบอกให้เพื่อนทำ

ภาพ CN Tower มีความสูง 1,821 ฟุต เขาว่ากันว่าเป็นหอคอยที่สูงที่สุด

สิ่งแรกเลยที่ต้องทำความเข้าใจคือบริบทของเขา ว่าเขาเป็นอย่างไร ในภาพรวม เนื้อหาส่วนนี้เป็นบางส่วนจาก  Fact sheet ของ Canadian Hospice and Palliative Care Association

ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการดูแลแบบฮอสพิสและแบบประคับประคองในแคนาดา

การบริการ

ในปี คศ. ๒๐๑๐ ประเทศแคนาดามีดัชนีคุณภาพการตายของอยู่ในอันดันที่ ๙ ใน ๔๐ ประเทศ ที่จัดประเมินโดย The Economist’s Intelligence Unit เกณฑ์ในการประเมินประกอบด้วยสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับการดูแลแบบฮอสพิสและการดูแลแบบประคับประคอง และคุณภาพการดูแลระยะสุดท้ายของชีวิต

มีเพียง ร้อยละ ๑๖ – ๓๐ ของคนแคนาดาที่เสียชีวิตสามารถเข้าถึงหรือได้รับบริการการดูแลแบบฮอสพิสแบบประคับประคอง และการดูแลระยะสุดท้าย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับพื้นที่ที่เขาอาศัยอยู่ คนที่ห่างไกลหรืออยู่ในชนบท และผู้ที่มีความพิการ (disabilities)จะมีข้อจำกัดในการเข้าถึงบริการ นอกจากนี้พบว่ามีคนจำนวนน้อยที่ได้รับการบริการในภาวะเศร้าโศกและภาวถสูญเสียหลังการเสียชีวิตของคนที่รัก  (grief and bereavement services)

คนแคนาดาส่วนใหญ่ต้องการเสียชีวิตที่บ้าน ท่ามกลางคนที่รัก แต่ในความเป็นจริงพบว่าร้อยละ ๗๐ ของการตายเกิดขึ้นในโรงพยาบาล

จากการศึกษาระหว่างปี คศ. ๒๐๐๒ – ๒๐๐๕ ของ Ontario study พบว่าร้อยละ ๘๔ ของผู้ที่เสียชีวิตด้วยมะเร็งมารับการรักษาที่แผนกฉุกเฉินในช่วง ๖ เดือนสุดท้ายของชีวิตและอีก ร้อยละ ๔๐ มารับการรักษาที่แผนกฉุกเฉินในช่วง ๒ สัปดาห์สุดท้ายของชีวิต

ผลการศึกษาในปี ๒๐๐๔ พบว่าร้อยละ ๗๕ ของการตายเกิดขึ้นในผู้ที่มีอายุมากกว่า ๖๕ ปี และผู้ป่วยที่อยู่ในระยะสุดท้ายและต้องการการดูแลแบบประคับประคองมีผู้ดูแลหลักเป็นคู่สมรสหรือ partners (ร้อยละ ๕๗) ลูก หรือลูกสะใภ้/ลูกเขย(ร้อยละ ๒๙) ผลการศึกษา คศ. ๒๐๐๗ พบว่าผู้ดูแลของผู้ป่วยที่ต้องการการดูแลระยะยาวมีอายุมากกว่า ๔๕ ปี และครอบครัวต้องแบกรับภาระค่าใช้จ่ายร้อยละ ๒๕ ของค่าใช้จ่ายทั้งหมด จากค่าบริการการดูแลสุขภาพที่บ้าน

ทุนสนับสนุน

โปรแกรมการดูแลแบบฮอสพิสแบบประคับประคองได้รับการสนับสนุนจากการบริจาคเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งค่าใช้จ่ายของโปรแกรมได้รับการสนับสนุนจากผู้บริจาคเอกชน มีเงื่อนไขการสนับสนุนขึ้นกับขนาด กรอบการดำเนินงานและการเข้าถึงโปรแกรม

การวิจัย

งานวิจัยการดูแลแบบฮอสพิสแบบประคับประคองยังมีจำกัดและต้องการการศึกษาเกี่ยวกับการจัดการอาการปวดและอาการอื่นๆที่มีประสิทธิภาพ ประเด็นด้านจิตสังคม และการให้บริการในระบบบริการสุขภาพ

การศึกษาและอบรม

มีแพทย์ด้านการดูแลแบบประคับประคองประมาณ ๒๐๐ คนในแคนาดาทำงานแบบ full time หรือ part time โรงเรียนพยาบาลมีบทบาทสำคัญในการจัดอบรมด้านการดูแลแบบประคับประคองและจัดการดูแลแบบประคับประคองลงในหลักสูตรการศึกษา อย่างไรก็ตามทุนสนับสนุนด้านการอบรมมีน้อย

มาตรฐานการพยาบาลด้านการดูแลฮอสพิสแบบประคับประคอง

พยาบาลแคนาดาด้านการดูแลฮอสพิสแบบประคับประคอง มีการกำหนดวัตถุประสงค์ของมาตรฐานการพยาบาลแคนาดาด้านการดูแลฮอสพิสแบบประคับประคอง (Canadian HPC nursing standards) ดังนี้

  • define the standard of care that can be expected by all persons receiving HPC nursing care;
  • guide the continuous development of related competencies;
  • support ongoing development of HPC nursing;
  • promote HPC nursing practice as a specialty;
  • serve as a foundation for the development of certification in HPC nursing; and
  • provide a framework for desired and achievable level of performance against which actual performance can be compared. 
  • The HPC nurse maintains and conducts practice in a manner that is consistent with the CNA Code of Ethics, provincial standards, territorial standards and CHPCA guiding principles and foundational concepts.
  • The  addition standards  are specific to HPC nursing.
  • Ethical and collaborative practice is embedded throughout the provision of HPC.

 

สำหรับมาตรฐานการพยาบาลด้านการดูแลฮอสพิสแบบประคับประคอง ประกอบด้วย

1.  Quality of Living-Dying

The HPC nurse focuses on the quality of the experience of the person who is living with and dying from a life-limiting illness, as well as the experience of the family.

The HPC nurse practises with respect for the personal meanings, specific needs and

hopes of the person who is living in the last phase of his/her life and his/her family. 

2.   Comfort

The HPC nurse utilizes a knowledge-based, systematic, holistic and evolving approach to

address symptoms and issues specific to the living-dying experience. 

3.   Transitions

The HPC nurse provides care throughout multiple illness trajectories of life-limiting

illnesses, which may occur over a short period of time (sudden death) or may be a longer

process (exacerbations of chronic illness or recurrences of cancer). The HPC nurse

supports the individual and his/her family through these transitions, the dying process and

throughout the grief and bereavement processes.

 The HPC nurse assists persons and families to access and navigate the health-care

system. 

4.   Quality and Safety

The HPC nurse practises in accordance with legislation, policies, guidelines and tools

pertaining to assessment, information sharing, decision-making, advance care planning, pronouncement of death, after death care, and grief and bereavement support. 

5.  Leadership 

The HPC nurse advocates for and promotes high quality and safe palliative care. 

 The HPC nurse advances HPC nursing through the generation and application of

knowledge and research. 

The HPC nurse is an essential team member of the interprofessional team and establishes collegial partnerships and contributes to the professional development of students, peers, colleagues and others through consultation, education, leadership and mentorship.

The HPC nurse communicates and advances the distinct contribution of nursing to the

interprofessional team. 

6.   Personal and Professional Growth

The HPC nurse recognizes the privileges and challenges of working with persons who are

living-dying and their families.

The HPC nurse understands his/her own personal experience in response to suffering and

death.

The HPC nurse recognizes his/her personal needs and practices self-care while

experiencing multiple losses during the care of persons who are dying and their families.

 

หมายเหตุ แวะสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ http://www.chpca.net/ มีเรื่องราวที่น่าสนใจและเป็นประโยชน์เยอะ

หมายเลขบันทึก: 501117เขียนเมื่อ 4 กันยายน 2012 08:47 น. ()แก้ไขเมื่อ 18 มกราคม 2013 01:15 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

ไม่อนุญาตให้แสดงความเห็น
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท