ทฤษฎีการจัดการแบบราชการ


นวัตกรรม

ทฤษฎีการจัดการแบบราชการ (bureaucracy)

Max Weber นักสังคมวิทยาชาวเยอรมัน

  • ศึกษาการทำงานภายในองค์การ และโครงสร้างของสังคมได้แก่ ทหาร รัฐบาล การเมือง และองค์การอื่นๆ  Weber ได้เสนอรูปแบบการจัดการที่เรียกว่าระบบราชการ ซึ่งถือเป็นรูปแบบขององค์การในอุดมคติ และเป็นรูปแบบขององค์การที่มีประสิทธิภาพ

องค์การแบบระบบราชการตามแนวคิดของ Max Weber จะประกอบด้วยโครงสร้างพื้นฐานที่สำคัญ 7 ประการดังนี้

1.หลักลำดับขั้น(hierachy)

2.หลักความรับผิดชอบ(responsibility)
3.หลักแห่งความสมเหตุสมผล(rationality)

4.การมุ่งสู่ผลสำเร็จ(achievementorientation)
5.หลักการทำให้เกิดความแตกต่างหรือความชำนาญเฉพาะด้าน(differentation,specialization)
6.หลักระเบียบวินัย(discipline)
7. ความเป็นวิชาชีพ (professionalization)

          ในปัจจุบัน ระบบราชการ ได้ถูกนำมาใช้ในความหมายเชิงลบ ซึ่งหมายถึง ระบบที่มีกฎเกณฑ์มากและการรัดขั้นตอน ในความเป็นจริงการมีกฎเกณฑ์สำหรับการปฏิบัติงานนั้นเป็นการกำหนดมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับผู้ปฏิบัติงาน ทุกคนต้องได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกัน และทุกคนต้องทราบกฎข้อบังคับที่มีอยู่

หมายเลขบันทึก: 450728เขียนเมื่อ 24 กรกฎาคม 2011 17:05 น. ()แก้ไขเมื่อ 24 มิถุนายน 2012 01:43 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท