งานวิจัย การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 5


งานวิจัย การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

เกศสุดา รัชฎาวิศิษฐกุล (2547) ได้ทำการวิจัยเรื่องการพัฒนาการเรียนการสอนที่ตอบสนองต่อรูปแบบการเรียนภาษาอังกฤษของนักศึกษามหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ผลการวิจัยรูปแบบการเรียนการสอนมีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ0.05 และยังมีเจตคติและแรงจูงใจ ที่มีต่อการเรียนภาษาอังกฤษสูงขึ้น

ณัฐธยาน์ อ่อนมั่น (2547) ได้ทำการวิจัยเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

วิชาภาษาอังกฤษ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 พบว่าบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีประสิทธิภาพ81.78/81.78 สูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนด้วย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สูงกว่าคะแนนก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

หมายเลขบันทึก: 445847เขียนเมื่อ 25 มิถุนายน 2011 16:24 น. ()แก้ไขเมื่อ 21 มิถุนายน 2012 14:37 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท