วรรณกรรมทิเบต


วรรณกรรมทิเบต การเปลี่ยนแปลงทางสังคม ประเทศจีน

 

            "การศึกษางานวิจัยเกี่ยวกับวรรณกรรมของทิเบต"

                                                                โดย ดร.ธีรกานต์  โพธิ์แก้ว

          การพูดคุยในเชิงสภาพแวดล้อม : การอภิปรายงานวรรณกรรมต่าง ๆ ของทิเบตและการเปลี่ยนแปลงทางสังคมของประเทศจีน

                บทคัดย่อ 

               ในการศึกษาวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาในข้อโต้แย้งทางด้านวรรณกรรมงานเขียน ที่จัดทำโดยนักเขียนและนักวิเคราะห์ชาวทิเบตในศตวรรษที่ 1980 และ 1990  ภายในขอบเขตสิ่งแวดล้อมทางสังคมที่เจริญเติบโตอย่างเจริญรวดเร็ว  โครงการศึกษาในขอบเขตที่กว้างขวางออกไปก็คือการแสดงถึงวิธีของนักวิชาการที่มีสติปัญญานี้กำหนดตำแหน่งของพวกเขาอย่างไร  ในสาขาการผลิตงานด้านงานเขียนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับคำถามต่าง ๆ ด้าน นวัตกรรมใหม่ ๆ การทำหน้าที่ต่าง ๆ ของงานเขียนในสังคมเช่นนี้ สำนวนภาษา และการเข้าไปเกี่ยวกับกับทฤษฎีที่เรียกว่า KAVYA ซึ่งเป็นทฤษฎีที่มีส่วนอย่างมากต่อตัวหนังสืออักษร (belles-letters)  ของชาวธิเบต  เป็นเวลาเกือบ 700 ปี ยุทธวิธีการใดที่นักวิเคราะห์ได้นำเอามาใช้ในการกล่าวอ้างของพวกเขาด้านงานเขียนวรรณกรรม? พวกเขามีผลกระทบหรือต้านทานอย่างไรต่อการเปลี่ยนแปลงที่มีต่อวรรณกรรมงานเขียน และในที่สุดก็กำหนดลักษณะของการเปลี่ยนแปลงนี้ไว้อย่างไร?

            ในงานวิจัยนี้  จะแสดงถึงประวัติทางวัฒนธรรมที่เน้นในแนวคิดต่าง ๆของการก่อรูปขึ้นในขณะที่ยังดึงเอาแนวคิดรายละเอียดด้านทฤษฎีสังคมวิทยาและการวิเคราะห์วิพากษ์ทางงานเขียนหลังจากการแสดงถึงการที่แปลงานเขียน, การตีพิมพ์, และกิจกรรมทางการศึกษาต่าง ๆ ของนักวิชาการที่ได้รับการอบรมในด้านสงฆ์ต่าง ๆ ตั้งแต่ปีศตวรรษ 1940 นั้นได้วางพื้นฐานอย่างไรในการพัฒนาต่อมาของการวิพากษ์ในงานเขียนแบบสมัยใหม่ของทิเบต  ใน PRC (ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน)  โดยข้าพเจ้าได้คัดเลือกในเนื้อหาข้อความที่สำคัญสำหรับการอ่านอย่างวิเคราะห์ได้รับข้อมูลจากการทำการศึกษาสำรวจภาคสนาม ในระยะ 17 เดือน ใน จังหวัดเซี่ยงไฮและGansu

และเขตภูมิภาคปกครองตนเอง ทิเบตในงานศึกษาวิจัยของข้าพเจ้าได้แสดงถึง งานเขียนวรรณกรรมงานเขียนทิเบตและวรรณกรรมอื่น ๆ ที่ให้แนวคิดเห็นต่าง ๆ สำหรับปัญญาชนต่าง ๆนี้ ในการเชื่อมต่อประสานในงานเขียนวรรณกรรมและวัฒนธรรมของทิเบต  การโต้วาทีที่สำคัญ ๆ ในปีศตวรรษที่ 1980 ในระหว่างที่ หลักการ KAVYA มีอิทธิพลอยู่ทั่วไปนี้เป็นการโต้วาทีที่เกี่ยวข้องกับเกณฑ์ต่าง ๆที่มีต่อการกำหนดในงานเขียนของทิเบต, งานเขียนที่ออกมาเป็นระยะ ๆ และคำที่เกิดขึ้นมาใหม่ ๆโดยอิสระ แต่อย่างไรก็ตามในกลางศตวรรษ 1990 บทกวีหรือคำอิสระต่าง ๆนี้ ก็เป็นสิ่งที่พบเห็นได้ทั่วไปและก็ยังมีทฤษฎีต่าง ๆจากแถบประเทศตะวันตกมากขึ้น  จากการที่มีนักวิเคราะห์จำนวนเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ไดปฏิเสธต่อหลักแม่แบบ KAVYA แต่กลับได้ชี้ให้เห็นถึงรากฐานวรรณกรรมงานเขียนของทิเบตที่เก็บรักษาไว้ในงานเขียนต่าง ๆ ของพุทธศาสนิกชนรุ่นก่อน ๆ การตอบสนองที่เปลี่ยนไปหรือแนวคิดใหม่นี้ได้ก่อเกิดขึ้นท่ามกลางการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงทางวรรณกรรมของคนในยุคสมัยใหม่

หมายเลขบันทึก: 445283เขียนเมื่อ 22 มิถุนายน 2011 02:00 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 มิถุนายน 2012 21:57 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

ดีจังเลย อยากอ่านฉบับเต็มคะ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท