มาตรฐานการพยาบาล สำนักการพยาบาล


ประเมินตนเอง

หนังสือ มาตรฐานการพยาบาล ในโรงพยาบาล โดยสำนักการพยาบาล

เกณฑ์คุุณภาพการปฏิบัติการพยบาลที่เป็นเลิศ สำนักการพยาบาล

คู่มือการเขียนรายงาน ตามเกณฑ์คุณภาพที่เป็นเลิศ สำนักการพยาบาล

เทียบเคียงมาตรฐานการพยาบาลสภาการพยาบาล และสำนักการพยาบาล

รายละเอียดที่น่าสนใจ


(Do)
3. การวัดและประเมิน (Check)
ซึ่งมี 4 มิติ
มิติที่ 1 : ด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ
มิติที่ 2 : ด้านคุณภาพการให้บริการพยาบาล
มิติที่ 3 : ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติการพยาบาล
มิติที่ 4 : ด้านการพัฒนาองค์กรพยาบาล
การประเมินคุณภาพ :
แบ่งเป็น 2 ประเภท
- การประเมินคุณภาพตนเอง
- การประเมินคุณภาพภายใน (จากหน่วยงานหรือองค์กร) และ
การประเมินคุณภาพภายนอก (จากผู้ทรงคุณวุฒิ)
เป้าหมายของการประเมิน :
- มุ่งเน้นการประเมินระบบงาน
- นำผลการประเมินมาปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนางานบริการพยาบาลต่อไป
4. การแก้ไขปัญหา /ข้อบกพร่อง (Act) และการปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI)
มีการเทียบเคียง
- ระดับคุณภาพ หรือระดับความสำเร็จ
- ผลลัพธ์
เครื่องมือการประเมินคุณภาพการพยาบาลภายในโรงพยาบาล :
มีมิติการประเมิน 2 มิติ ได้แก่
1. มิติกระบวนการ
2. มิติผลลัพธ์
วิธีการรวบรวมข้อมูล : มาจาก 3 วิธีการ

1. การทบทวนและวิเคราะห์เอกสาร
2. การสัมภาษณ์ /การสนทนา
3. การสังเกต โดยการสังเกตสภาพอาคารและสิ่งแวดล้อม
กรอบแนวคิดในการพัฒนาแบบประเมินคุณภาพการพยาบาลภายใน :
ประกอบด้วยเกณฑ์การพัฒนา 7 หมวด ได้แก่
หมวด 1 : การนำองค์กร
หมวด 2 : การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์
หมวด 3 : การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
หมวด 4 : การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
หมวด 5 : การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
หมวด 6 : การจัดการกระบวนการ
หมวด 7 : ผลลัพธ์การดำเนินการ ซึ่งในเกณฑ์ PMQA มี 4 มิติ ได้แก่
- มิติด้านประสิทธิผล
- มิติด้านคุณภาพการให้บริการ
- มิติด้านประสิทธิผลของการปฏิบัติราชการ
- มิติด้านพัฒนาองค์กร
แบบประเมิน ปรับเป็น 2 ลักษณะ คือ
1. แบบประเมินคุณภาพการบริหารการพยาบาล ประกอบด้วย 2 ส่วน
ส่วนที่ 1 แบบประเมินคุณภาพการบริหารการพยาบาลระดับองค์กร
: มิติกระบวนการ (หมวด 1 - 6)
ส่วนที่ 2 แบบประเมินคุณภาพการบริหารการพยาบาลระดับองค์กร
: มิติผลลัพธ์ (หมวด 7)
2. แบบประเมินคุณภาพการบริการพยาบาล (10 งาน) ประกอบด้วย 3 ส่วน
ส่วนที่ 1 แบบประเมินคุณภาพการบริหารการพยาบาลระดับหน่วยงาน
: มิติกระบวนการ (หมวด 1 - 6)
ส่วนที่ 2 แบบประเมินคุณภาพการบริการพยาบาล (10 งาน)
: มิติกระบวนการ (หมวด 6)
ส่วนที่ 3 แบบประเมินคุณภาพการบริการพยาบาล (10 งาน)
: มิติผลลัพธ์ (หมวด 7)
การประเมินคุณภาพการพยาบาลภายใน
มิติกระบวนการ มิติผลลัพธ์
- Approach (A) - Performance Level (Le)
- Deployment (D) - Trend (T)
- Learning (L) - Comparison (C)
- Integration (I) - Linkage (Li)
การประเมินคุณภาพภายใน
แบ่งเป็น 2 มิติ
1. มิติกระบวนการ ประกอบด้วย
- Approach (A) หมายถึง มีแนวทาง /วิธีการที่ใช้เพื่อให้กระบวนการบรรลุผล
- Deployment (D) หมายถึง มีการนำแนวทางที่กำหนดไปถ่ายทอดสู่การปฏิบัติอย่าง
ครอบคลุมและทั่วถึง
- Learning (L) หมายถึง มีการปรับปรุงแนวทางให้ดีขึ้น
- Integration (I) หมายถึง ความสอดคล้อง (Aligned) กับข้อกำหนดในมาตรฐาน
หมวดอื่นๆ
2. มิติผลลัพธ์ ประกอบด้วย
- Performance Level (Le) หมายถึง ผลการดำเนินการปัจจุบันเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่
หน่วยงาน /องค์กรกำหนด
- Trend (T) หมายถึง แนวโน้มของผลการดำเนินงาน เพื่อแสดงทิศทางของ
ผลลัพธ์และอัตราการเปลี่ยนแปลงของการปรับปรุง
ผลของการปฏิบัติงานตามมาตรฐาน
- Comparison (C) หมายถึง การเปรียบเทียบผลลัพธ์การดำเนินงานในระหว่าง
หน่วยงานบริการพยาบาล /องค์กรที่มีภารกิจที่คล้ายคลึงกัน
และระดับเทียบเคียงที่เหมาะสม
- Linkage (Li) หมายถึง การพิจารณาผลลัพธ์ของการปฏิบัติการพยาบาล โดย
เชื่อมโยงกับผลการดำเนินงานด้านต่างๆ
หมายเลขบันทึก: 444669เขียนเมื่อ 18 มิถุนายน 2011 20:32 น. ()แก้ไขเมื่อ 4 กรกฎาคม 2016 22:05 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท