การสื่อธรรมของพระพุทธเจ้า


บทความวิชาการ (พระพุทธศาสนา)

ธรรมดาว่าสิ่งต่างๆ ที่เป็นรูปธรรมนั้นเข้าใจได้ง่าย เพราะเป็นสิ่งที่สามารถกระทบได้ด้วยผัสสะทั้ง ๕  คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย แต่ตรงกันข้ามสิ่งที่เป็นนามธรรมนั้นไม่สามารถใช้ประสาทสัมผัสทั้ง ๕ ได้ การรู้นามธรรมได้นั้นนอกจากการหาเหตุผลแล้วก็คือการใช้วิธีนำนามธรรมนั้นๆ ไปเปรียบเทียบกับรูปธรรม หรือแม้แต่สิ่งที่เป็นรูปธรรมบางอย่างก็เข้าใจได้ยาก จึงต้องนำไปเปรียบเทียบกับรูปธรรมที่คล้ายคลึงกันจึงถือว่าเป็นการอธิบายสิ่งหนึ่งโดยอาศัยอีกสิ่งหนึ่ง ทำให้เกิดความชัดเจนและเข้าใจได้ง่าย วิธีการนี้เรียกว่า “การเปรียบเทียบหรืออุปมาอุปมัย” (อ่านบทความฉบับเต็ม)

หมายเลขบันทึก: 439467เขียนเมื่อ 15 พฤษภาคม 2011 22:00 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 ธันวาคม 2012 13:43 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (3)

...รูปธรรมนั้นเข้าใจได้ง่าย เพราะเป็นสิ่งที่สามารถกระทบได้ด้วยผัสสะทั้ง ๕ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย แต่ตรงกันข้ามสิ่งที่เป็นนามธรรมนั้นไม่สามารถใช้ประสาทสัมผัสทั้ง ๕ ได้...

Perhaps, นามธรรม is in the 6th sense (citta) domain.

นมัสการท่าน มาเขียนบ่อยๆๆนะครับ จะตามมาอ่าน...

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท