วิธีวิทยาการวิจัยขั้นนำ


วิธีวิทยาการวิจัยขั้นนำ

วิธีวิทยาการวิจัยขั้นนำ

ภาณุ  อดกลั้น

 

         การดำเนินการวิจัยที่ได้มาตรฐานต้องมีความรอบรู้ในประเด็นต่างๆดังนี้

๑. กำหนดปัญหา และขอบเขตการวิจัย

    ๑.๑ เลือกหัวข้อวิจัย

          ๑) จาก ประสบการณ์/งานที่ปฎิบัติ/สาเหตุที่เกิดขึ้น/แนวทางแก้ไข

รายละเอียดของปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้น/ผลที่เกิดขึ้น/แนวทางแก้ไข

          ๒) ทบทวนวรรณกรรม

          ๓) ประเด็นทางสังคม

          ๔) ตรวจสอบทฤษฎี

         ๕) จากแหล่งภายนอก/แหล่งทุน

    ๑.๒ กำหนดขอบเขตหัวข้อวิจัยให้แคบลง

    ๑.๓ ประเมินปัญหาการวิจัย

เวลาเพียงพอ

การได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่าง

ความร่วมมือจากผู้อื่น

งบประมาณเพียงพอ

การวัดตัวแปร/การเก็บข้อมูล

ประสบการณ์ของนักวิจัย

ไม่ขัดหลักจริยธรรม

ไม่ซ้ำซ้อนกับวิจัยอื่นๆ

๒. ทบทวนวรรณกรรม

    ④        วิจัยในประเทศ (ไม่เกิน 5 ปี)

    ⑤        วิจัยต่างประเทศ (ไม่เกิน ๑๐ ปี)

๓. กำหนดกรอบแนวคิด/ทฤษฎีในการวิจัย

    ⑥            อุปมาน(Inductive)หาความสัมพันธ์ของปรากฏการณ์เพื่อสรุปเป็นทฤษฎีใหม่

    ⑦            อนุมาน(Deductive)ศึกษาปรากฏการณ์เป็นไปตามทฤษฎีหรือไม่

๔. กำหนดตัวแปร

    ⑧            ตัวแปรเชิงปริมาณ/เชิงคุณภาพ

Qualitative

Quantitative

    ⑨            ตัวแปรต้น/ตัวแปรตาม

Independent V.

Dependence V.

    ⑩            ตัวแปรชนิดอื่นๆ

ตัวแปรควบคุม(control)

ตัวแปรภายนอก(extraneous)

ตัวแปรรบกวน(confounding)

๕. ตั้งสมมติฐาน

    ⑪        สมมติฐานการวิจัย(ปรากฎการณ์ที่คาดว่าจะเกิดขึ้น)

เกี่ยวข้องกับปัญหา(Relevance)

มีขอบเขต(Scope) รัดกุม

มีความสัมพันธ์(Relationship) เป็นเหตุเป็นผล

ทดสอบได้(Testability)

ทดสอบซ้ำได้(Repeatability)

สรุปอ้างอิงได้(Generalization)

    ⑫        สมมติฐานทางสถิติ(ทดสอบสมมติฐานที่ผู้วิจัยตั้งว่าจริงหรือเท็จ)

สมมติฐานไม่มีความสัมพันธ์(null hypothesis)

สมมติฐานมีความสัมพันธ์(Alternative Hypothesis)

๖. ออกแบบการวิจัย

    ⑬        วิจัยเชิงปริมาณ(Quantitative Research) มี ๓ กลุ่ม

non-experiment ๑)survey ๒) descriptive ๓)correlation

experiment ๑) pre-experiment ๒) quasi-experiment ๓) comparative

                experiment  ๔) true experiment

others ๑) meta analysis ๒) secondary data analysis ๓) methodological

     ⑭        วิจัยเชิงคุณภาพ(Qualitative Research) มี ๓ กลุ่ม

 ปรากฏการณ์วิทยา

ทฤษฏีพื้นฐาน

ชาติพันธ์วรรณนา

    ⑮        วิจัยแบบผสม(Mixed Research)

๗.สร้าง/พัฒนาเครื่องมือ

    ⑯        สร้างเครื่องมือ(กรณีไม่มี)

    ⑰        พัฒนาเครื่องมือ(กรณีมีเครื่องมือมาตรฐาน หรือผู้อื่นสร้างไว้แล้ว)

 ๘. กำหนดกลุ่มประชากร/เลือกกลุ่มตัวอย่าง

    ⑱        sampling technique

ใช้ความน่าจะเป็น(Probability) มี ๕ วิธี

          ๑) สุมแบบง่าย(Simple Random Sampling) เช่น จับฉลาก/สุ่มแบบแทนที่/สุ่มแบบไม่แทนที่/ใช้ตารางเลขสุ่ม/ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์

          ๒) สุมแบบมีระบบ(Systematic Random Sampling)

          ๓) สุมแบบแบ่งชั้น(Stratified Random Sampling) โดย ใช้สัดส่วนประชากรแต่ละชั้น(กลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่) และ ไม่ใช้สัดส่วนประชากรแต่ละชั้น(กลุ่มตัวอย่างขนาดเล็ก)

          ๔) สุมแบบกลุ่ม(Cluster Sampling)

          ๕) สุมแบบหลายขั้นตอน(Multi-stage Sampling)

ไม่ใช้ความน่าจะเป็น(Non-Probability) มี ๔ วิธี

          ๑) แบบบังเอิญ(Convenience)

          ๒) แบบเจาะจง(Purposive)

          ๓) แบบโควต้า(Quota)

          ๔) แบบบอกต่อ(snowball)

⑲        sample size

ใช้ตารางสำเร็จ(Yamane,Morgan)

คำนวณโดยใช้สูตร(Morgan, บุญธรรม)

วิเคราะห์อำนาจทดสอบ ๑) เปิดตารางอำนาจจำแนก ๒) ใช้โปรแกรม PASS(power analysis of sample size)

 ๙. เก็บรวบรวมข้อมูล

    ⑳        รายงานตนเอง(Self Reports)

แบบสอบถาม(Questions) ๑) แบบสอบถามปลายเปิด ๒) แบบสอบถามปลายปิด เช่น

checklist / Rank Order/ Rating Questions / Likert Scale / Sematic Differential Scale /  Visual Analog Scale(VAS)

    ⑳  สัมภาษณ์(Interview)

ไม่มีโครงสร้าง ๑) สัมภาษณ์เชิงลึก(Indepth Interview) ๒) สนทนากลุ่ม(Focus Group Interview)

กึ่งโครงสร้าง

มีโครงสร้าง

    ⑳  สังเกต(Observation)

สังเกตแบบมีส่วนร่วม(Participact Observation)

สังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม (Non - Participact Observation)

    ⑳  การวัดทางชีวสรีรวิทยา(Biophysiology Measures)

วัดในสิ่งมีชีวิต(In Vivo)

วัดในห้องทดลอง(In Vitro)

 ๑๐. ตรวจสอบ/เตรียมข้อมลเพื่อวิเคราะห์

    ⑳   ตรวจสอบเครื่องมือ

 ใช้ผู้ทรงคุณวุฒิ

 ใช้กลุ่มเป้าหมายที่พูดได้ทั้ง ๒ ภาษา

  ศึกษานำร่อง

  ศึกษาในกลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่

    ⑳  วิเคราะห์เครื่องมือ

ตรวจสอบความทัดเทียม(Equivaience)ของเครื่องมือ ๑) เนื้อหา(Content) ๒) ความหมาย(Semantic) ๓) เทคนิค(Technical) ๔) เกณฑ์(Criterion) ๕) มโนทัศน์(Conceptual)

คัดเลือกผู้เชี่ยวชาญด้านภาษา

เทคนิคในการแปลเครื่องมือ ๑) แปลไปข้างหน้า(Forward Translation) ๒) แปลโดยคณะกรรมการ(Commitee Translation) ๓) แปลย้อนหลัง(Back Translation) ทำ ๒ วิธี คือ แปลโดยผู้เชี่ยวชาญ ๒ คน ทั้ง ฉบับ และ แปลโดยผู้เชี่ยวชาญ ๒ คน คนละครึ่งฉบับ

    ⑳ เตรียมข้อมูลเพื่อวิเคราะห์

ตรวจสอบข้อมูลดิบ(data editing)

การให้รหัสข้อมูล(data coding)

การบันทึกข้อมูล(data entry)

ตรวจสอบข้อมูลที่บันทึก(data screening)

๑๑. วิเคราะห์ข้อมูล/แปลผล

    ⑳  สถิติในการวิเคราะห์

วิเคราะห์เชิงพรรณนา(Descriptive Analysis)

สถิติแจกแจงข้อมูล(ความถี่ ร้อยละ)

สถิติวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง(ค่าเฉลี่ย ฐานนิยม)

สถิติการกระจายข้อมูล(ความแปรปรวน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน)

    ⑳ สถิติอ้างอิง

parametric statistics ๑) เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยเพื่อหาความแตกต่างระหว่างกลุ่ม(t-test, ANOVA) ๒) หาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร(Chi Square, Regression)

non-parametric statistics

    ⑳ การแปลผลที่ใช้บ่อย

ความรู้ ๑) ความรู้รายข้อ ๒) ระดับความรู้

ประเมินค่า ๑) ระดับความรู้รวม ๒) แบ่งกลุ่มความรู้

วัดการปฏิบัติ ๑) ทักษะปฏิบัติ(คล่อง ว่องไว) ๒) พฤติกรรมการปฏิบัติ(ตั้งใจ สนใจ)

                 ผลการปฏิบัติ(เรียบร้อย สวยงาม)

    ⑳ เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย

กลุ่มเปรียบเทียบอิสระต่อกัน

กลุ่มเปรียบเทียบสัมพันธ์กัน

    ⑳ วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว(คล้าย t-test ต่างที่ตัวแปรอิสระมากกว่า ๒ กลุ่ม)

    ⑳  วิเคราะห์ความแปรปรวนสองทาง ควบคุมตัวแปรอิสระ ๑ ตัว โดยสนใจปฏิสัมพันธ์ร่วมของตัวแปรอิสระ)

    ⑳ วิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม นำตัวแปรอิสระมาควบคุมสลับกัน และตัวแปรอิสระมีการวัดเป็นแบบกลุ่ม)

    ⑳ วิเคราะห์ด้วย Chi Square(วิเคราะห์ความสัมพันธ์ใช้กับตัวแปรอิสระกับตัวแปรตามที่วัดในระดับแบ่งกลุ่ม)

    ⑳ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ๑) สัมพันธ์กันหรือไม่ ๒) สัมพันธ์กันในลักษณะใด ๓) สัมพันธ์กันมากน้อยเพียงใด

    ⑳ วิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ๑) ตัวแปรอิสระใดบ้างที่มีผลต่อตัวแปรตาม ๒) ตัวแปรอิสระมีอิทธิพลต่อตัวแปรตามมากน้อยเรียงกันตามลำดับอย่างไร

    ⑳ วิเคราะห์การจำแนก คัดเลือกตัวแปรอิสระให้เป็นกลุ่มๆที่มีผลต่อตัวแปรตาม

๑๒. เขียนรายงาน เผยแพร่

    ⑳  เขียนรายงาน

สรุปผล(ต้องตอบโจทย์วิจัย วัตถุประสงค์การวิจัยได้ทั้งหมด)

อภิปรายผล(นำสมมติฐาน ทฤษฏี ข้อเท็จจริงที่พบแล้ว และผลการวิจัยที่เกี่ยวข้องมาอธิบายผลการวิจัย)

ข้อเสนอแนะ ๑) การนำผลการวิจัยไปใช้ ๒) การทำวิจัยในครั้งต่อไป

    ⑳  เผยแพร่

ตรวจสอบต้นฉบับ และจัดพิมพ์รูปเล่ม

นำเสนอในวารสาร หรือ นำเสนอด้วยตนเองในรูปแบบ poster & oral presentation

 

 

หมายเลขบันทึก: 426936เขียนเมื่อ 18 กุมภาพันธ์ 2011 13:44 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 มิถุนายน 2012 12:06 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท