ปาฬิ - Pāḷi Part 1


ปาฬิ - Pāḷi

 

ปาฬิภาสา ในพระไตรปิฎกปาฬิ
Pāḷi : the Language of Dhamma in the Tipiṭaka
Part 1 by Siri Petchai


A brief explanation why Pāḷi should be written with ḷ (l with a dot, not Pāli or not บาลี). Examples of the Pāḷi Tipiṭaka in various scripts are presented, including the editions in Siam-Script 1893, the Burmese-script 1957, and the old Khmer-script before 1893.

Siri Petchai is the most senior scholar of Pāḷi & Tipiṭaka in Thailand. At 83, he is on Board of the Pāḷi Tipiṭaka Dictionary Committee at the Royal Institute and also acting as scholar-in-residence at the Bhūmibalobhikkhu Foundation and Chairman of the Dhamma Society Fund.

Dhamma Society's World Tipiṭaka Archives 2010

 

จดหมายเหตุบันทึกคำอธิบาย และเอกสารประกอบของ อ.สิริ เพ็ชไชย ป.ธ.๙ ซึ่งแสดงว่า ปาฬิ ที่หมายถึงพระไตรปิฎก เป็นรูปคำศัพท์ในภาษาไทยที่ถูกต้อง

ปาฬิ เป็นรูปศัพท์ที่พบในพระไตรปิฎก อักษรขอมใบลาน และในการพิมพ์พระไตรปิฎกอักษรสยาม ในสมัย ร.๕ ก็ใช้รูปนี้ด้วย

นอกจากนี้ทั้วโลก เช่น พม่า ก็ใช้คำศัพท์ว่า ปาฬิ และพระไตรปิฎกปาฬิ

ดังนั้นผู้ที่สนใจในพระไตรปิฎกศึกษา ควรพิจารณาเขียนให้ถูกต้องตามรูปศัพท์เดิม ว่า ปาฬิ ไม่ใช่ บาลี

อ.สิริ เพ็ชไชย ป.ธ.๙ ปัจจุบันเป็นประธาน​กองทุน​สน​ทนาธัมม์​นำ ​สุข ม.ล. มณีรัตน์ บุนนาค ​ใน​พระ​สังฆ​รา​ชูป​ถัมภ์สมเด็จพระญาณสัง วร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก​ ​ตั้งแต่​ ​พ​.​ศ​.​ ​2543​-2553

ท่าน​เป็น​ผู้​วาง​นโยบาย​การ​ตรวจ​ทาน​ และ​การ​จัด​พิมพ์​พระ​ไตรปิฎก​อักษร​โรมั น​ ​ฉบับ​มหา​สังคายนา​สากล​นานาชาติ​ ​พ​.​ศ​.​ ​2500​ ​พิมพ์​เป็น​อักษร​โรมัน​ ​โดย​กองทุน​สน​ทนาธัมม์​นำ​สุขฯ​ ​ใน​พระ​สังฆ​รา​ชูป​ถัมภ์ฯ​ ​

ใน​ปี​ ​พ​.​ศ​.​ ​2548​ ท่านเป็นหนึ่งใน​คณะผู้​กราบทูล​อัญเชิญ​ส มเด็จ​พระเจ้า​พี่​นาง​เธอ​ ​เจ้า​ฟ้า​กัลยาณิ​วัฒนา​ ​กรม​หลวง​นราธิวาส​รา​ชน​ค​ริ​นท์​ ​เสด็จ​จาริก​ไป​พระราชทาน​พระ​ไตรปิฎก​สา กล​อักษร​โรมัน​แก่​ประธานาธิบดี​แห่ง​สาธ ารณรัฐ​สังคมนิยม​ประ​ชาธิป​ไตย​แห่ง​ศรี​ ลังกา​เป็น​ปฐมฤกษ์​ ​เมื่อ​วัน​ที่​ ​6​ ​มีนาคม​ ​พ​.​ศ​.​ 2548​ ​

อาจารย์​สิ​ริฯ​ ​ได้​เป็นต้น​แบบ​ใน​การ​บันทึก​เสียง​ปาฬ ิ​ใน​พระ​ไตร​ปิฎก​ปาฬิ​อักษร​โรมัน​ฉบับ​ ดัง​กล่าว​ ​โดย​ดำเนิน​ตาม​การ​ศึกษา​วิธี​สวด​สังวั ธยาย​ปาฬิ​ที่​ได้​รับ​สืบทอด​จาก​สมเด็จ​ พระ​วัน​รัต​ ​(​เฮง ​เขม​จารี)​ ​และ​พระ​พิมล​ธรรม​ ​(​ช้อย​ ​ฐาน​ทตฺต​เถร)​ ​ณ​ ​วัดมหาธาตุ​ยุว​รา​ชรังสฤดิ์​ ​ซึ่ง​ทั้ง​สอง​ท่าน​ได้​รับ​การ​สืบทอด​ม า​จาก​สมเด็จ​พระ​วัน​รัต​ ​(​ฑิต​)​ ​ซึ่ง​เป็น​พระ​ราชา​คณะ​มหา​นิกาย​องค์​เ ดียว​ใน​การ​ตรวจ​ชำระ​พระ​ไตร​ปิฎกปาฬิ อักษร​สยาม ใน​สมัย​รัชกาล​ที่​ ​5​ ​นอกจาก​นี้​อาจารย์​สิริฯ ​​ยังได้​เคย​ศึกษา​กับ​อาจารย์​ปลั่ง​ ​บุญศิริ​ ​(​ป​.​ธ​.​9​)​ ​อาจารย์​วิเชียร ​บำรุง​ผล​ (​ป​.ธ.9​)​ ​และ​อาจารย์​จำลอง​ ​อิน​ท​วัฒน์​ ​(​ป​.​ธ​.​3​)​ ​

อาจารย์​ สิ​ริฯ​ ​สอบผ่าน​เปรียญธรรม​ ​9​ ​ประโยค​เป็น​คน​แรก​ใน​รัชกาลที่ 9 และเป็น​ผู้​เชี่ยวชาญ​สามารถ​อ่าน​พระ​ไต ร​ปิฎก​ปาฬิ​ ​อักษร​โรมัน​ ​อักษร​ขอม​ ​และ​อักษรพม่า​ได้​เป็น​อย่าง​ดี​ ในปี พ.ศ. 2550 อาจารย์สิริฯ ​ได้​รับ​ปริญญา​ดุษฎี​บัณฑิต​กิตติมศักดิ ์​ทาง​ปาฬิ​ ​เป็น​คน​แรก​และ​คน​เดียว​ใน​รอบ​ ​50​ ​ปี​ ​แห่ง​การ​ก่อ​ตั้ง​มหาวิทยาลัย​มหา​จุฬา​ ลง​กรณ​ราช​วิทยาลัย

สืบค้นข้อมูลเพิ่มเติม

ปาฬิภาสา : ภาษาพระธัมม์

ฟังเสียงการออกเสียงภาษาปาฬิ

พระไตรปิฎก จปร.อักษรสยาม

หมายเลขบันทึก: 405226เขียนเมื่อ 28 ตุลาคม 2010 21:41 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2012 16:57 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (3)

ขอขอบคุณมิตรภาพและบันทึกดีๆที่ได้รับมาตลอดปีนี้ และขอส่งความสุขสำหรับปีใหม่ที่กำลังจะมาถึงค่ะ..

(บัตรอวยพร ดอกม่วงเทพรัตน์ ของมูลนิธิรามาธิบดีฯ ) คลิ๊กที่:

http://gotoknow.org/blog/nongnarts3/348844

Thank you for this Pa.li in Thailand information.

I am with you. Pa.li in Thailand is different from 'International Pa.li'. This makes communication among Buddhists unnecessary difficult for no unknown historical reasons. There are little efforts to normalise Pa.li in Thailand with the rest of Pa.li speaking, Dhamma practicing communities around the world. Yet, there are dreams of being the Buddhism hub.

We have a long way to go.

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท