เก็บตกทอดบทเรียน เล่าสู่กันฟัง"งานวิจัยกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์"ตอนที่ 4 - 6 ภาระกิจใหม่ของฝ่ายพัฒนาทรัพยากรมนุษย์การฟื้นฟูองค์กรที่ล่มสลาย การใช้แรงจูงใจในการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมของคนทำงาน


เก็บตกทอดบทเรียน เล่าสู่กันฟัง"งานวิจัยกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์"ตอนที่ 4 - 6 ภาระกิจใหม่ของฝ่ายพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การฟื้นฟูองค์กรที่ล่มสลาย การใช้แรงจูงใจในการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมของคนทำงาน

เก็บตกทอดบทเรียน เล่าสู่กันฟัง"งานวิจัยกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์"ตอนที่ 4 - 6 

ภาระกิจใหม่ของฝ่ายพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

การฟื้นฟูองค์กรที่ล่มสลาย

การใช้แรงจูงใจในการปรับเปลี่ยน

พฤติกรรมของคนทำงาน

เก็บตกทอดบทเรียน เล่าสู่กันฟัง"งานวิจัยกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์"

เก็บตกทอดบทเรียน เล่าสู่กันฟัง"งานวิจัยกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์"ตอนที่ 4 -6 

ภาระกิจใหม่ของฝ่ายพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

การฟื้นฟูองค์กรที่ล่มสลาย

การใช้แรงจูงใจในการปรับเปลี่ยน

พฤติกรรมของคนทำงาน

เก็บตกทอดบทเรียน เล่าสู่กันฟัง"งานวิจัยกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์"

งานวิจัยกับการพัฒนาทรัพากรมนุษย์ เป็นสิ่งสำคัญเป็นอย่างยิ่งที่สามารถพิสูจน์ระบบ กับการบริหาร สร้างตรรกะแห่งความเป็นจริง ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ผู้บริหารชั้นเซียนต้องมุ่งเน้นงานวิจัยเพื่อการพัฒนาองค์กร และประเทศชาติ ด้วยฐานรากการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

งานวิจัยกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 

การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์บนพื้นฐานของการวิจัย เรียนรู้จากประสบการณ์ของวิทยากร 44 ปี จากงานวิจัย โครงการดีๆ HROD TALK(HUMAN RESOURCE AND ORGANIZATION DEVELOPMENT TREORY-APPLICATION LINKING KNOWLEDGE

คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ร่วมกับหนังสือ

พิมพ์ผู้จัดการ 360 องศารายสัปดาห์

จัดขึ้นในวันพฤหัสฯ ที่ 2 กันยายน 2553

มุ่งประเด็นการเสวนา

ทำไมต้องวิจัย

วัฒนธรรมองค์กรสร้างสรรค์

คนที่องค์กรไม่ต้องการ

ภาระกิจใหม่ของฝ่ายพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

การฟื้นฟูองค์กรที่ล่มสลาย

การใช้แรงจูงใจในการปรับเปลี่ยน

พฤติกรรมของคนทำงาน

 

 

 

 

โดยได้รับความรู้อย่างดียิ่งจากท่าน

ผศ.ดร.เย็นใจ เลาหวณิช

กรรมการแห่งชาติเพื่อการวิจัย และพัฒนาระบบพฤติกรรมไทย

สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติและ ผศ.ดร.บังอร โสฬส  อาจารย์ประจำคณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ นิด้า พร้อมผู้เข้าร่วมเสวนาจำนวนมากที่ให้ความสนใจ

 ผมอดคิดไม่ได้ว่า ไม่ควรพลาดกับหัวข้อการเสวนาในครั้งนี้ และหลังจากเขาร่วมแล้ว ไม่ผิดหวังจริงๆ ความถ่องแท้ในระบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สังคมไทยยังขาดเป็นอย่างยิ่งในเรื่องการวิจัย และการพัฒนาอย่างจริงจัง ต่อเนื่อง และมุ่งส่งผลต่อการพัฒนาองค์กร พัฒนาสังคม และส่งผลดีต่อการพัฒนาประเทศชาติ จึงขอนำเนื้อหาจากการเสวนาดังกล่าวมาเล่าสู่กันฟัง ให้กับสมาชิกครอบครัว gotoknow ทุกท่านเพื่อประยุกต์ใช้ และเป็นข้อมูลอ้างอิงจากผู้ที่มีประสบการณ์อย่างมาก รู้จริง และนำผลการปฏิบัติสู่สังคมที่มุ่งเน้นการพัฒนาด้วยระบบ และกรอบของทฤษฏีเพื่อสอดคล้องต่อการนำไปปฏิบัติจริง ด้วยกระบวนการวิจัย โดยผมได้ขออนุญาต นำข้อมูลทั้งหมดจากท่านวิทยากรทั้งสองเพื่อการเผยแพร่เป็นที่เรียนร้อยแล้ว และหากสมาชิกท่านใดประสงค์ขอมูลเพิ่มเติม และ powerpoint ติดต่อได้ที่ 0871382995  ,  0806231680 หรือส่ง E-mail มายัง [email protected] , [email protected] ได้นะครับ เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านงานวิจัย กับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ต่อไปครับ

ผมขอแบ่งเนื้อหาออกเป็น 7 ตอนนะครับ เพื่อประโยชน์ต่อสมาชิก และขอให้ช่วยกันออกแบบความคิด ด้วยการมีส่วนร่วมกันมากๆ นะครับ เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่สังคมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ต่อไป

1.ทำไมต้องวิจัย

2.วัฒนธรรมองค์กรสร้างสรรค์

3.คนที่องค์กรไม่ต้องการ

4.ภาระกิจใหม่ของฝ่ายพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

5.การฟื้นฟูองค์กรที่ล่มสลาย

6.การใช้แรงจูงใจในการปรับเปลี่ยน

พฤติกรรมของคนทำงาน

7.บทสรุปส่งท้ายจาก hcc hot station by puchiss

 

หลักการที่ใช้ในการ

พัฒนาพนักงาน

คือ ธรรมภิบาล

7 ประการ ได้แก่

1.งดเว้นการตำหนิ แต่ให้ทุกคนรับรู้ปัญหา และช่วยกันรายงานปัญหาที่พบ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาของผู้อื่นหรือของตนเอง ถือว่าปัญหาเป็นสิ่งที่ไม่น่ากลัว แก้ไขได้ และท้าทายให้เราแก้ จึงต้องไม่กลัวปัญหา ไม่ซ่อน ไม่นั่งทับปัญหา ถ้าทำเช่นนั้น ถือว่าได้ทำร้ายองค์กร

2.เมื่อพบว่ามีปัญหาเกิดขึ้นหรือมีการทำผิดโดยไม่จงใจให้รีบวิเคราะห์ปัญหาทันที ให้ชัดเจน และค้นหาสาเหตุเท่าที่จะทำได้ แล้ววางแผนร่วมกันในการแก้ไขปัญหา หรือป้องกันปัญหามิให้เกิดซ้ำโดยมุ่งแก้ไขที่สาเหตุ แล้วนำไปสู่การเรียนรู้ร่วมกันในการประชุม

3.การสื่อสารเป็นเรื่องสำคัญ ต้องสื่อกันทั้งวาจา และลายลักษณ์อักษรให้ชัดเจน ถ้าเป็นเรื่องเล็กน้อยให้ใช้แต่วาจาได้ ต้องมีการประชุมกันทุกวันเพื่อสรุปปัญหา และการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม

4.วิธีการทำงานที่ดีคือ ทำทันที ทำงานเชิงรุก ไม่ตั้งรับ ถ้ามีข้อสงสัย ไม่แน่ใจ ให้รีบแก้ไขหรือทำให้เกิดความกระจ่างโดยเร็วที่สุด และเมื่อทำงานเสร็จต้องมีการประเมินผลและเรียนรู้ทุกครั้ง

5.ส่งเสริมการมีความคิดริเริ่ม ยอมให้มีการทดลองสิ่งใหม่ แต่ต้องเกิดขึ้นภายใต้การควบคุมของหัวหน้า ถ้าทำได้สำเร็จจะบันทึกเป็นความดีความชอบ

6.ต้องถือว่านโยบาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ เป็นเรื่องสำคัญ ต้องปฏิบัติตามโดยเคร่งครัดเช่นเดียวกับสัญญาที่ให้ไว้กับผู้อื่น

7.ให้ใช้โลกทัศน์เชิงบวกและสร้างสรรค์แต่ต้องไม่ประมาท ไม่กลัวงานหนัก ต้องประหยัดและมุ่งผลสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด

โดยอาศัยหลักธรรมาภิบาล7 ประการนี้ บริษัทได้ประสบความสำเร็จในการสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่เข้มแข็งและประสบความสำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ได้

หมายเลขบันทึก: 390623เขียนเมื่อ 4 กันยายน 2010 01:32 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 23:28 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท