KM (แนวปฏิบัติ) วันละคำ : ๕๗๗. KM กับการวิจัย



          โรงพยาบาลนครพิงค์และเครือข่ายวิจัยโรงพยาบาลเขตภาคเหนือ (RNNRHS – Research Network of Northern Region Hospitals) จัดการประชุมวิชาการระหว่างวันที่ ๗ – ๙ ก.ค. ๕๓ ที่เชียงใหม่   และเชิญผมไปบรรยายเรื่อง การจัดการความรู้กับการวิจัย

          ผมจึงนำ Narrated Ppt มา ลปรร. ที่นี่

วิจารณ์ พานิช
๙ ก.ค. ๕๓
         

หมายเลขบันทึก: 378722เขียนเมื่อ 26 กรกฎาคม 2010 10:26 น. ()แก้ไขเมื่อ 22 มิถุนายน 2012 16:14 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

ขอบพระคุณครับท่านอาจารย์...วันนี้ได้เห็นความสัมพันธ์ของงานวิจัย กับการจัดการความรู้ในมุมมองใหม่ๆของตัวเองผ่านบันทึกเมตตาของท่านอาจารย์ชัดมากขึ้นเลยครับ.. 4-5ปีที่ผ่านมาได้ร่วมกับเพื่อนๆจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับครอบครัวในชุมชน โดยพยายามชวนคนตัวเล็กตัวน้อยรวมทั้งตัวเรา ได้นิยามคำว่างานวิจัยให้ดูใกล้ตัวมากขึ้น ราวๆว่างานวิจัยคือกระบวนการที่อยากรู้เรื่องอะไรก็ไปค้นคว้าหาคำตอบมา ด้วยวิธีการที่ง่ายๆเป็นธรรมชาติไปหาข้อมูลแล้วก็มาชวนกันคิดกันวิเคราะห์จนได้คำตอบของเราและของกลุ่ม(แล้วก็ให้ลองปฏิบัติจริงในชุมชน) จากการสังเกตุก็พบว่าคนตัวเล็กตัวน้อยในชุมชนดูจะเป็นกันเองและมีความสุขกับคำว่าความรู้ ,งานวิจัยในทิศทางที่ดีขึ้น ในระยะหลังได้นำแนวทางการจัดการความรู้ที่ได้ศึกษาจาก ท่านอาจารย์ และอาจารย์ประพนธ์ไปใช้ โดยเน้น การชวนกลุ่มให้สร้างความรู้จากความสำเร็จที่เกิดขึ้นจริงจากการทำงานพัฒนาครอบครัวในชุมชน โดยคณะทำงานของชุมชน ก็พบว่าการจัดการความรู้แนวนี้นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทั้งในระดับบุคคล ระดับครอบครัว ระดับคณะทำงานชุมชน และในระดับชุมชนอย่างน่าชื่นชมเป็นอย่างยิ่งเลยครับ..เรียนเสริมมาเพื่อยืนยันผลการปฏิบัติตามแนวคิดของท่านอาจารย์ครับ

เรียนอาจารย์หมอวิจารณ์ นับว่ามีประโยชย์มากเลยครับ ทำให้ผมเข้าใจ KM มากขึ้นครับ แต่ที่สำคัญที่สุด ต้องปฏิบัติอย่างอาจารย์บอกนะครับ ถึงจะเข้าใจจริงๆ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท