หน่วยที่ 1 ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ


ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ

หน่วยที่ 1 ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ

1  ทัศนธาตุหรือองค์ประกอบทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างไร

2  การพิจารณผลงานชิ้นหนึ่งว่ามีความงามหรือไม่นั้นต้องพิจารณาจากอะไร

3  เส้นในแต่ละลักษณะให้ความรู้สึกต่อการมองเห็นแตกต่างกันอย่างไร

4  นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับข้อความที่ว่า สีเป็นองค์ประกอบทัศนศิลป์ที่สำคัญที่สุดในงานจิตกรรม

5  หลักการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง

6  การใช้ตัวอักษรและภาพประกอบในงานสิ่งพิมพ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจน ควรมีลักษณะอย่างไร

7  เพราะเหตุใดในการบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ควรใช้คำศัพท์ทางทัศนศิลป์ประกอบลงไปด้วย

หมายเลขบันทึก: 368137เขียนเมื่อ 20 มิถุนายน 2010 19:47 น. ()แก้ไขเมื่อ 24 มิถุนายน 2012 03:17 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (45)

1  ทัศนธาตุหรือองค์ประกอบทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างไร

ตอบ เป็นวัตถุดิบที่มนุษย์สามารถใช้ในการนำมาประยุกต์ใช้สร้างหรือดัดแปลงให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปจากสภาพเดิม เพื่อความงามและประโยชน์ในการใช้สอยให้มากขึ้นอีก

ถึง นักเรียนทุกท่าน ว่างๆๆก็เข้าไปอ่านบล๊อก ของ อ.อ้อยเล็ก เพื่อหาความรู้ทางศิลปะด้วยนะคับ

http://gotoknow.org/blog/xtra/260260

http://gotoknow.org/blog/2xtra/260261

http://gotoknow.org/blog/3xtra/260264

และขอขอบคุณคุณครูอ้อยเล็ก ที่แบ่งปั้นความรู้มาให้ นะคับ

น.ส.ลีนา บินลอง เลขที่ 23 ม.4

1 ทัศนธาตุหรือองค์ประกอบทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างไร

ตอบ ทำให้รูปทที่เราวาดออกมามีความสวยงาม ความสมดุล ความมีมิติ สื่อถึงความหมายได้อย่างลึกซึ้ง

2 การพิจารณผลงานชิ้นหนึ่งว่ามีความงามหรือไม่นั้นต้องพิจารณาจากอะไร

ตอบ การลงสี ว่าน้ำหนักของสีเป็นอย่างไร ความหมายของภาพ องค์ประกอบของภาพ ความสมดุล และ มิติ

3 เส้นในแต่ละลักษณะให้ความรู้สึกต่อการมองเห็นแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ เส้นตั้งตรง เหมือนคนยืน เหมือนต้นเสา ต้นไม้ เป็นสัญลักษณ์ของความมั่นคง เคร่งขรึม เอาจริงเอาจัง

เส้นตรงแนวนอน เป็นลักษณะของคนนอน ต้นไม้ล้ม หรือเส้นขอบฟ้า แสดงถึงอารมณ์ที่ราบเรียบ ผ่อนคลาย สงบเงียบ

เส้นทะแยงมุม เหมือนกับต้นไม้ใบหญ้าที่โอนเอนเมื่อถูกลมพัด ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหวที่รุนแรง และความมีชีวิตชีวา

เส้นโค้งคดเคี้ยว ที่ต่อเนื่องอย่างนุ่มนวล เป็นความสนุกสนาน ความกลมกลืน และความเป็นหนุ่มเป็นสาว

เส้นที่แตกเป็นแฉกแหลมๆ เหมือนเส้นสายฟ้า เป็นสัญลักษณ์ของความโกรธ ความตื่นเต้นระทึกใจ

เส้นที่ตั้งขึ้นแล้วโค้งลงเหมือนไม้เลื้อย ให้อารมณ์หม่นหมอง เศร้าสลด เช่นเดียวกับคนก้มหน้าร้องไห้

4 นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับข้อความที่ว่า สีเป็นองค์ประกอบทัศนศิลป์ที่สำคัญที่สุดในงานจิตกรรม

ตอบ เห็นด้วย เพราะสีเป็นพื้นฐานของภาพ

5 หลักการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง

ตอบ ในการออกแบบสิ่งใดก็ตาม นักออกแบบควรจะต้องคำนึงถึงประโยชน์ใช้สอยและความงาม งานออกแบบนั้นจึงจะมีคุณค่าสมบูรณ์ ทางด้านประโยชน์ใช้สอย เราคงทราบกันดีแล้ว เช่น เก้าอี้ใช้ประโยชน์ในการนั่ง แต่ทางด้านความงามของรูปแบบเก้าอี้มีไว้สำหรับชื่นชมสิ่งที่จะนำมาประกอบกันให้เกิดความงาม ก็คือ ส่วนประกอบในการออกแบบ แต่การจัดส่วนประกอบเข้าด้วยกันต้องมีหลัก หลักดังกล่าวนั้น ได้แก่ หลักการออกแบบ ซึ่งมีอยู่ 7 ประการ ดังต่อไปนี้

1. เอกภาพ

2. ดุลยภาพ

3. ความกลมกลืน

4. ความขัดแย้ง

5. สัดส่วน

6. ช่วงจังหวะ

7. การเน้น

6 การใช้ตัวอักษรและภาพประกอบในงานสิ่งพิมพ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจน ควรมีลักษณะอย่างไร

ตอบ ควรใช้ตัวอักษรและภาพที่มีความพอดีกับสิ่งพิมพ์และสามารถสื่อความหมายออกมาได้ดี

7 เพราะเหตุใดในการบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ควรใช้คำศัพท์ทางทัศนศิลป์ประกอบลงไปด้วย

ตอบ เพราะการใช้ศัพท์ทางศิลป์ในการบรรยายจะทำให้เกิดความเข้าใจความหมายของภาพมากขึ้น สามารถสื่อความหมายระหว่างผู้พูดกับผู้ฟังได้เข้าใจมากขึ้น

นายธเนศ รุจิรเสรีชัย

หน่วยที่ 1 ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ

1  ทัศนธาตุหรือองค์ประกอบทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างไร

ตอบ ทำให้รูปที่วาดดูสวยงามมากขึ้น เเละสื่อถึงความหมายของภาพ

2  การพิจารณผลงานชิ้นหนึ่งว่ามีความงามหรือไม่นั้นต้องพิจารณาจากอะไร

ตอบ การระบายสี ว่ามีการลงที่สมดุล หรือป่าว

3  เส้นในแต่ละลักษณะให้ความรู้สึกต่อการมองเห็นแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ เส้นตั้งตรง เหมือนคนยืน เหมือนต้นเสา ต้นไม้ เป็นสัญลักษณ์ของความมั่นคง เคร่งขรึม เอาจริงเอาจัง

เส้นตรงแนวนอน เป็นลักษณะของคนนอน ต้นไม้ล้ม หรือเส้นขอบฟ้า แสดงถึงอารมณ์ที่ราบเรียบ ผ่อนคลาย สงบเงียบ

เส้นทะแยงมุม เหมือนกับต้นไม้ใบหญ้าที่โอนเอนเมื่อถูกลมพัด ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหวที่รุนแรง และความมีชีวิตชีวา

เส้นโค้งคดเคี้ยว ที่ต่อเนื่องอย่างนุ่มนวล เป็นความสนุกสนาน ความกลมกลืน และความเป็นหนุ่มเป็นสาว

เส้นที่แตกเป็นแฉกแหลมๆ เหมือนเส้นสายฟ้า เป็นสัญลักษณ์ของความโกรธ ความตื่นเต้นระทึกใจ

เส้นที่ตั้งขึ้นแล้วโค้งลงเหมือนไม้เลื้อย ให้อารมณ์หม่นหมอง เศร้าสลด เช่นเดียวกับคนก้มหน้าร้องไห้

4  นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับข้อความที่ว่า สีเป็นองค์ประกอบทัศนศิลป์ที่สำคัญที่สุดในงานจิตกรรม

ตอบ เห็นด้วยเพราะ สีเป็นศิลป์ที่สำคัญต่อการวาดรูป

5  หลักการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง

ตอบในการออกแบบสิ่งใดก็ตาม นักออกแบบควรจะต้องคำนึงถึงประโยชน์ใช้สอยและความงาม งานออกแบบนั้นจึงจะมีคุณค่าสมบูรณ์ ทางด้านประโยชน์ใช้สอย เราคงทราบกันดีแล้ว เช่น เก้าอี้ใช้ประโยชน์ในการนั่ง แต่ทางด้านความงามของรูปแบบเก้าอี้มีไว้สำหรับชื่นชมสิ่งที่จะนำมาประกอบกันให้เกิดความงาม ก็คือ ส่วนประกอบในการออกแบบ แต่การจัดส่วนประกอบเข้าด้วยกันต้องมีหลัก หลักดังกล่าวนั้น ได้แก่ หลักการออกแบบ ซึ่งมีอยู่ 7 ประการ ดังต่อไปนี้

1. เอกภาพ

2. ดุลยภาพ

3. ความกลมกลืน

4. ความขัดแย้ง

5. สัดส่วน

6. ช่วงจังหวะ

7. การเน้น

6  การใช้ตัวอักษรและภาพประกอบในงานสิ่งพิมพ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจน ควรมีลักษณะอย่างไร

ตอบ ควรใช้ตัวอักษรเเบบพอดีไม่เล็ก  เเละใหญ่เกินไป

7  เพราะเหตุใดในการบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ควรใช้คำศัพท์ทางทัศนศิลป์ประกอบลงไปด้วย

ตอบ เพราะการใช้ศัพท์ทางศิลป์ในการบรรยายจะทำให้เกิดความเข้าใจความหมายของภาพมากขึ้น สามารถสื่อความหมายระหว่างผู้พูดกับผู้ฟังได้เข้าใจมากขึ้น

น.ส.รัตนาภรณ์ อุดมบริภัณฑ์ เลขที่ 13 ชั้น ม.4

1 ทัศนธาตุหรือองค์ประกอบทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างไร

ตอบ ทำให้ภาพที่เราทำดูสวยงามและทำให้ภาพที่เราวาดนั้นเหมือนจริงมากยิ่งขึ้น มีความสมดุล ว่าตรงนี้ควรวาดอย่างไรดี วาดแล้วเหมาะกับภาพหรือป่าว

2 การพิจารณผลงานชิ้นหนึ่งว่ามีความงามหรือไม่นั้นต้องพิจารณาจากอะไร

ตอบ จากภาพที่วาดว่ามีความสมดุลของภาพรึป่าว การใช้สีหนักเบาเป็นอย่างไรบ้าง ภาพเหมือนจริงมากแค่ไหน

3 เส้นในแต่ละลักษณะให้ความรู้สึกต่อการมองเห็นแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ เส้นตั้งฉาก ให้ความรู้สึก สูง เด่น สง่า มั่นคง แข็งแรง

เส้นระดับ ให้ความรู้สึก สงบ แน่นอน

เส้นทะแยง ให้ความรู้สึก แสดงความเร็ว ความไม่มั่งคง

เส้นโค้ง ให้ความรู้สึก อ่อนน้อม เศร้า ผิดหวัง

เส้นคด ให้ความรู้สึก แสดงการเคลื่อนไหวอย่างอ่อนช้อย

เส้นประ ให้ความรู้สึก แสดงความไม่แน่นอน ลังเล แตกแยก

4 นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับข้อความที่ว่า สีเป็นองค์ประกอบทัศนศิลป์ที่สำคัญที่สุดในงานจิตกรรม

ตอบ เห็นด้วย เพราะสีเป็นหลักสำคัญของการวาดรูปถ้าไม่มีสีก็จะทำให้ภาพไม่ดูสมจริง

5 หลักการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง

ตอบ หลักการออกแบบ ซึ่งมีอยู่ 7 ประการคือ

1. เอกภาพ

2. ดุลยภาพ

3. ความกลมกลืน

4. ความขัดแย้ง

5. สัดส่วน

6. ช่วงจังหวะ

7. การเน้น

6 การใช้ตัวอักษรและภาพประกอบในงานสิ่งพิมพ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจน ควรมีลักษณะอย่างไร

ตอบ ใช้ตัวอักษรและภาพที่เข้ากัน สื่อความหมายเหมือนกัน

7 เพราะเหตุใดในการบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ควรใช้คำศัพท์ทางทัศนศิลป์ประกอบลงไปด้วย

ตอบ เพราะจะทำให้เข้าใจมากยิ่งขึ้นและดูเป็นทางการมากกว่า

น.ส.อรวรรณ แซ่โล้ ชั้นม.4 เลขที่29

1 ทัศนธาตุหรือองค์ประกอบทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างไร

ตอบ ทัศนธาตุหมายถึงอะไร

ทัศนธาตุ (Visual Elements) ในทางทัศนศิลป์ หมายถึง ส่วนประกอบของศิลปะที่มองเห็นได้

ประกอบไปด้วย

จุด

เส้น

รูปร่าง

รูปทรง

น้ำหนักอ่อน-แก่

สี

บริเวณว่าง

และพื้นผิว

2 การพิจารณผลงานชิ้นหนึ่งว่ามีความงามหรือไม่นั้นต้องพิจารณาจากอะไร

ตอบ พิจารณาจากภาพว่ามีความสมดุลหรือไม่ ดูจากลายเส้นและอารมณ์ของผู้วาดที่จะสื่อความหมายให้ผู้ดูได้รู้

3 เส้นในแต่ละลักษณะให้ความรู้สึกต่อการมองเห็นแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ เส้นแต่ละเส้นจะมีความหมายในตัวของมันเองอยู่แล้ว

เส้น คือ ร่องรอยที่เกิดจากเคลื่อนที่ของจุด หรือถ้าเรานำจุดมาวางเรียงต่อ ๆ กันไป ก็จะเกิดเป็นเส้นขึ้น เส้นมีมิติเดียว คือ ความยาว ไม่มีความกว้าง ทำหน้าที่เป็นขอบเขต ของที่ว่าง รูปร่าง รูปทรง น้ำหนัก สี ตลอดจนกลุ่มรูปทรงต่าง ๆ รวมทั้งเป็นแกนหรือ โครงสร้างของรูปร่างรูปทรง

เส้นเป็นพื้นฐานที่สำคัญของงานศิลปะทุกชนิด เส้นสามารถให้ความหมาย แสดง ความรู้สึก และอารมณ์ได้ด้วยตัวเอง และด้วยการสร้างเป็นรูปทรงต่าง ๆ ขึ้น เส้นมี 2 ลักษณะคือ เส้นตรง (Straight Line) และ เส้นโค้ง (Curve Line) เส้นทั้งสองชนิดนี้ เมื่อนำมาจัดวางในลักษณะต่าง ๆ กัน จะมีชื่อเรียกต่าง ๆ และให้ความหมาย ความรู้สึก ที่แตกต่างกันอีกด้วย

ลักษณะของเส้น

1. เส้นตั้ง หรือ เส้นดิ่ง ให้ความรู้สึกทางความสูง สง่า มั่นคง แข็งแรง หนักแน่น เป็นสัญลักษณ์ของความซื่อตรง

2. เส้นนอน ให้ความรู้สึกทางความกว้าง สงบ ราบเรียบ นิ่ง ผ่อนคลาย

3. เส้นเฉียง หรือ เส้นทะแยงมุม ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหว รวดเร็ว ไม่มั่นคง

4. เส้นหยัก หรือ เส้นซิกแซก แบบฟันปลา ให้ความรู้สึก คลื่อนไหว อย่างเป็น จังหวะ มีระเบียบ ไม่ราบเรียบ น่ากลัว อันตราย ขัดแย้ง ความรุนแรง

5. เส้นโค้ง แบบคลื่น ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหวอย่างช้า ๆ ลื่นไหล ต่อเนื่อง สุภาพ อ่อนโยน นุ่มนวล

6. เส้นโค้งแบบก้นหอย ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว คลี่คลาย หรือเติบโตในทิศทางที่ หมุนวนออกมา ถ้ามองเข้าไปจะเห็นพลังความเคลื่อนไหวที่ไม่สิ้นสุด

7. เส้นโค้งวงแคบ ให้ความรู้สึกถึงพลังความเคลื่อนไหวที่รุนแรง การเปลี่ยนทิศทาง ที่รวดเร็ว ไม่หยุดนิ่ง

8. เส้นประ ให้ความรู้สึกที่ไม่ต่อเนื่อง ขาด หาย ไม่ชัดเจน ทำให้เกิดความ

4 นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับข้อความที่ว่า สีเป็นองค์ประกอบทัศนศิลป์ที่สำคัญที่สุดในงานจิตกรรม

ตอบ เห็นด้วย เพราะการวาดภาพนั้นหากขาดสีไปภาพก็จะดูจืดไปเลยและสื่อถึงความหมายไม่ได้มากนัก

5 หลักการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง

ตอบ ในกระบวนการออกแบบและสร้างเว็บไซต์นั้นมีองค์ประกอบหลายประการที่ผู้ออกแบบจะต้องคำนึงถึงเพื่อที่จะให้เว็บไซต์ที่สร้างขึ้นมานั้นสามารถบรรลุจุดประสงค์สูงสุดที่ตั้งเอาไว้ได้ ทั้งนี้ก็เพื่อผลประโยชน์ต่อบุคคล กลุ่มบุคคล หรือองค์กรที่สร้างเว็บไซต์ขึ้นมานั้นเอง

1. ความเรียบง่าย (Simplicity)

2. ความสม่ำเสมอ (Consistency)

3. ความเป็นเอกลักษณ์ (Uniqueness)

4. เนื้อหามีประโยชน์ (Usefulness)

5. ระบบ Navigation ที่ใช้งานง่าย (Easy-use Navigation)

6. แสดงผลได้อย่างรวดเร็ว (Rapid Output)

7. มีความชัดเจน (Clearance)

8. เป็นไปตามรูปแบบมาตราฐาน (Standardzation)

9. แสดงผลได้ดีในสิ่งแวดล้อมที่ต่างกัน

10. ระบบใช้งานที่ถูกต้อง

6 การใช้ตัวอักษรและภาพประกอบในงานสิ่งพิมพ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจน ควรมีลักษณะอย่างไร

ตอบ องค์ประกอบต่าง ๆ ของการออกแบบสามารถนำมาใช้ประกอบกันเมื่อเริ่มคิดแบบและวางเลย์เอ้าท์ เป็นสิ่งที่ช่วยให้มีจุดยืนในการเริ่มต้นออกแบบ และเพิ่มความหลากหลายของงาน องค์ประกอบของการออกแบบ

การใช้ตัวอักษรในงานออกแบบสิ่งพิมพ์

• ใช้บอกกล่าวข้อความที่องค์ประกอบอื่นไม่สามารถสื่อออกมาได้

• ดึงดูดให้เกิดความสนใจด้วยขนาด สีสันและข้อความที่เร้าใจ

• จัดลำดับความสำคัญและบอกเล่ารายละเอียดโดยจัดทำหัวข้อหลัก หัวข้อรอง และเนื้อหา ฯลฯ

• สามารถจัดเรียงตัวอักษรประกอบเป็นภาพ หรือรูปทรงต่าง ๆ โดยใช้แบบอักษร ขนาด และสีสัน ที่ต่าง ๆ กัน

• สามารถจัดแบ่งเป็นกลุ่มก้อน จัดวางและใช้ช่องไฟ สีสันตลอดจนองค์ประกอบอื่นในการแบ่งแยกให้เป็นระเบียบ ง่ายต่อการสื่อสาร และดูสวยงาม

• ใช้ขยายความ หรืออธิบายภาพประกอบต่าง ๆ

7 เพราะเหตุใดในการบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ควรใช้คำศัพท์ทางทัศนศิลป์ประกอบลงไปด้วย

ตอบ เพื่อพัฒนาสื่อสารความรู้ความเข้าใจด้วยหลักเหตุผล สามารถคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดสร้างสรรค์อย่างมีวิจารณญาณ

แก้ปัญหาอุปสรรคต่างๆอย่างถูกต้องเหมาะสม มีทักษะกระบวนการในการดำเนินชีวิตประจำวัน มีกระบวนการทางเทคโนโลยี

เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม มีคุณธรรมสร้างความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัยใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียงมุ่งมั่นในการทำงาน

อ้างอิง

www.thaigoodview.com/library/...p/...art/sec02p01.html

www.mew6.com/composer/art/line.php

http://www.yourconnect.com/artical_detail.php?id=6

www.supremeprint.net/index.php?lay=show&ac=article&Id...

www.pottana.spaces.live.com/.../cns!B95252B66C8FC0CE!1731.entry

น.ส.พนิดา แซ่ฮ่อ ชั้นม.4 เลขที่29

1 ทัศนธาตุหรือองค์ประกอบทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างไร

ตอบ ทัศนธาตุ(Visual Elements ) คือส่วนประกอบของผลงานทัศนศิลป์ที่มองเห็นได้ซึ่งได้แก่ จุด เส้น รูปร่างรูปทรง แสงเงา สี บริเวณว่าง และพื้นผิวซึ่งส่วนประกอบย่อยๆ เหล่านี้เราสัมผัสรับรู้จากธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรอบตัวเราตั้งแต่เด็กจนโตความรู้สึกสัมผัสจากสิ่งที่มองเห็นทำให้เราจดจำและเมื่อได้สัมผัสอีกครั้งก็จะมีผลต่อความรู้สึกในปัจจุบันด้วย

2 การพิจารณผลงานชิ้นหนึ่งว่ามีความงามหรือไม่นั้นต้องพิจารณาจากอะไร

ตอบ -ความคิดสร้างสรรค์

-รูปแบบการจัดวางของภาพ

-ลายเส้น และความสมดุล

-การลงสี

3 เส้นในแต่ละลักษณะให้ความรู้สึกต่อการมองเห็นแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ เส้นเป็นพื้นฐานที่สำคัญของงานศิลปะทุกชนิด เส้นสามารถให้ความหมาย แสดง ความรู้สึก และอารมณ์ได้ด้วยตัวเอง และด้วยการสร้างเป็นรูปทรงต่าง ๆ ขึ้น เส้นมี 2 ลักษณะคือ เส้นตรง (Straight Line) และ เส้นโค้ง (Curve Line) เส้นทั้งสองชนิดนี้ เมื่อนำมาจัดวางในลักษณะต่าง ๆ กัน จะมีชื่อเรียกต่าง ๆ และให้ความหมาย ความรู้สึก ที่แตกต่างกันอีกด้วย

ลักษณะของเส้น

1. เส้นตั้ง หรือ เส้นดิ่ง ให้ความรู้สึกทางความสูง สง่า มั่นคง แข็งแรง หนักแน่น เป็นสัญลักษณ์ของความซื่อตรง

2. เส้นนอน ให้ความรู้สึกทางความกว้าง สงบ ราบเรียบ นิ่ง ผ่อนคลาย

3. เส้นเฉียง หรือ เส้นทะแยงมุม ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหว รวดเร็ว ไม่มั่นคง

4. เส้นหยัก หรือ เส้นซิกแซก แบบฟันปลา ให้ความรู้สึก คลื่อนไหว อย่างเป็น จังหวะ มีระเบียบ ไม่ราบเรียบ น่ากลัว อันตราย ขัดแย้ง ความรุนแรง

5. เส้นโค้ง แบบคลื่น ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหวอย่างช้า ๆ ลื่นไหล ต่อเนื่อง สุภาพ อ่อนโยน นุ่มนวล

6. เส้นโค้งแบบก้นหอย ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว คลี่คลาย หรือเติบโตในทิศทางที่ หมุนวนออกมา ถ้ามองเข้าไปจะเห็นพลังความเคลื่อนไหวที่ไม่สิ้นสุด

7. เส้นโค้งวงแคบ ให้ความรู้สึกถึงพลังความเคลื่อนไหวที่รุนแรง การเปลี่ยนทิศทาง ที่รวดเร็ว ไม่หยุดนิ่ง

8. เส้นประ ให้ความรู้สึกที่ไม่ต่อเนื่อง ขาด หาย ไม่ชัดเจน ทำให้เกิดความเครียด

5 หลักการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง

ตอบ ตัวอักษร (Typography) ตัวอักษรเป็นองค์ประกอบที่แตกต่างไปจากองค์ประกอบอื่น ตัวอักษรสามารถเรียงร้อยบอกเล่าเรื่องราวให้ผู้อ่านได้โดยตรง ไม่ต้องแปลความหมายเหมือนเช่นองค์ประกอบอื่น ในขณะเดียวกันเราก็สามารถตกแต่งตัวอักษรโดยใช้รูปแบบ ขนาด และสีสัน มาจัดวางเป็นรูปแบบต่าง ๆ สร้างแรงดึงดูดให้สนใจและน่าติดตาม

6 การใช้ตัวอักษรและภาพประกอบในงานสิ่งพิมพ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจน ควรมีลักษณะอย่างไร

ตอบ การใช้ตัวอักษรในงานออกแบบสิ่งพิมพ์

• ใช้บอกกล่าวข้อความที่องค์ประกอบอื่นไม่สามารถสื่อออกมาได้

• ดึงดูดให้เกิดความสนใจด้วยขนาด สีสันและข้อความที่เร้าใจ

• จัดลำดับความสำคัญและบอกเล่ารายละเอียดโดยจัดทำหัวข้อหลัก หัวข้อรอง และเนื้อหา ฯลฯ

• สามารถจัดเรียงตัวอักษรประกอบเป็นภาพ หรือรูปทรงต่าง ๆ โดยใช้แบบอักษร ขนาด และสีสัน ที่ต่าง ๆ กัน

• สามารถจัดแบ่งเป็นกลุ่มก้อน จัดวางและใช้ช่องไฟ สีสันตลอดจนองค์ประกอบอื่นในการแบ่งแยกให้เป็นระเบียบ ง่ายต่อการสื่อสาร และดูสวยงาม

• ใช้ขยายความ หรืออธิบายภาพประกอบต่าง ๆ

หลักการออกแบบสิ่งพิมพ์เป็นหลักในการพิจารณาว่าจะใช้องค์ประกอบของการออกแบบอย่างไร และช่วยให้สามารถผสมผสานส่วนประกอบต่าง ๆ ของงานจนจัดวางเป็นเลย์เอ้าท์ที่ดีได้

หลักการออกแบบฯ มี 4 ข้อดังนี้

1. ความสมดุล

2. จังหวะ

3. การเน้น

4. เอกภาพ

7 เพราะเหตุใดในการบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ควรใช้คำศัพท์ทางทัศนศิลป์ประกอบลงไปด้วย

ตอบ ทัศนศิลป์ คือ กระบวนการถ่ายทอดผลงานทางศิลปะ การทำงานศิลปะอย่างมีจิตนาการความคิดสร้างสรรค์มีระบบระเบียบ

เป็นขั้นเป็นตอน การสร้างสรรค์งานอย่างมีประสิทธิภาพสวยงาม มีการปฏิบัติงานตามแผนและมีการพัฒนาผลงานให้ดีขึ้นต่อเนื่อง

ทัศนศิลป์คือการรับรู้ทางจักษุประสาท โดยการมองเห็น สสาร วัตถุ และสรรพสิ่งต่าง ๆ ที่เข้ามากระทบ รวมถึงมนุษย์ และสัตว์ จะด้วยการหยุดนิ่ง หรือเครื่อนไหวก็ตาม หรือจะด้วยการปรุงแต่ง หรือไม่ปรุงแต่งก็ตาม ก่อให้เกิดปัจจัยสมมุติต่อจิตใจ และอารมณ์

ของมนุษย์ อาจจะป็นไปในทางเดียวกันหรือไม่ก็ตาม

ทัศนศิลป์เป็นการแปลความหมายทางศิลปะ ที่แตกต่างกันไปแต่ละมุมมอง ของแต่ละบุคคล ในงานศิลปะชิ้นเดียวกัน

ซึ่งไร้ขอบเขตทางจินตนาการ ไม่มีกรอบที่แน่นอน ขึ้นกับอารมณ์ของบุคคลในขณะนั้น

ทัศนศิลป์ เป็นส่วนหนึ่งของวิจิตรศิลป์ ซึ่งเป็นศิลปะที่เน้นคุณค่าทางด้านจิตใจและอารมณ์เป็นสำคัญ

ทัศนศิลป์ มีความหมายตรงกับภาษาอังกฤษว่า Visual Art หมายถึง ศิลปะที่มองเห็น หรือศิลปะที่สามารถสัมผัส รับรู้

ชื่นชมด้วยประสาทตา สัมผัสจับต้องได้ และกินเนื้อที่ในอากาศ

ทัศนศิลป์ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ จิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปัตยกรรม

แหล่งอ้างอิง

alasat.wordpress.com/2010/07/12/

www.supremeprint.net/index.php?lay=show&ac=article&Id...

www.thaigoodview.com/node/17307

นางสาว พนัชกร แดงประเทศ ชั้น ม.4 เลขที่ 40

หน่วยที่ 1 ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ

1 ทัศนธาตุหรือองค์ประกอบทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างไร

ตอบ..

ทัศนธาตุ (Visual Elements) ในทางทัศนศิลป์ หมายถึง ส่วนประกอบของศิลปะที่มองเห็นได้ ประกอบไปด้วย จุด

เส้น รูปร่าง รูปทรง น้ำหนักอ่อน-แก่ สี บริเวณว่าง และพื้นผิว

ทัศนศิลป์ คือ กระบวนการถ่ายทอดผลงานทางศิลปะ การทำงานศิลปะอย่างมีจิตนาการความคิดสร้างสรรค์มีระบบระเบียบ

เป็นขั้นเป็นตอน การสร้างสรรค์งานอย่างมีประสิทธิภาพสวยงาม มีการปฏิบัติงานตามแผนและมีการพัฒนาผลงานให้ดีขึ้นต่อเนื่อง

มีความสำคัญต่อการสร้าสรรค์มากสามารถทำให้เรานั้นวาดรูปสวยมากขึ้น มีจินตนาการมากขึ้น

2 การพิจารณผลงานชิ้นหนึ่งว่ามีความงามหรือไม่นั้นต้องพิจารณาจากอะไร

ตอบ...

1.การวางแผนการทำงาน

2.การสร้าสรรค์

3.การจัดวาง

4.การลงลวดลาย

5.ความเหมาะสมของภาพ

6.สีสัน

7.ลายเส้น

3 เส้นในแต่ละลักษณะให้ความรู้สึกต่อการมองเห็นแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ....

เส้นเป็นพื้นฐานที่สำคัญของงานศิลปะทุกชนิด เส้นสามารถให้ความหมาย แสดง ความรู้สึก และอารมณ์ได้ด้วยตัวเอง และด้วยการสร้างเป็นรูปทรงต่าง ๆ ขึ้น เส้นมี 2 ลักษณะคือ เส้นตรง (Straight Line) และ เส้นโค้ง (Curve Line) เส้นทั้งสองชนิดนี้ เมื่อนำมาจัดวางในลักษณะต่าง ๆ กัน จะมีชื่อเรียกต่าง ๆ และให้ความหมาย ความรู้สึก ที่แตกต่างกัน เช่น

1. เส้นตั้ง หรือ เส้นดิ่ง ให้ความรู้สึกทางความสูง สง่า มั่นคง แข็งแรง หนักแน่น เป็นสัญลักษณ์ของความซื่อตรง

2. เส้นนอน ให้ความรู้สึกทางความกว้าง สงบ ราบเรียบ นิ่ง ผ่อนคลาย

3. เส้นเฉียง หรือ เส้นทะแยงมุม ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหว รวดเร็ว ไม่มั่นคง

4. เส้นหยัก หรือ เส้นซิกแซก แบบฟันปลา ให้ความรู้สึก คลื่อนไหว อย่างเป็น จังหวะ มีระเบียบ ไม่ราบเรียบ น่ากลัว อันตราย ขัดแย้ง ความรุนแรง ฯลฯ

4 นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับข้อความที่ว่า สีเป็นองค์ประกอบทัศนศิลป์ที่สำคัญที่สุดในงานจิตกรรม

ตอบ.......

เห็นด้วย เพราะสีเป็นหลักสำคัญของรูปภาพ และถ้าหากไม่มีสีรูปภาพก็จะไม่สมบูรณ์ตามที่ต้องการ

5 หลักการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง

ตอบ......

ในการออกแบบสิ่งใดก็ตาม นักออกแบบควรจะต้องคำนึงถึงประโยชน์ใช้สอยและความงาม งานออกแบบนั้นจึงจะมีคุณค่าสมบูรณ์ ทางด้านประโยชน์ใช้สอย เราคงทราบกันดีแล้ว เช่น เก้าอี้ใช้ประโยชน์ในการนั่ง แต่ทางด้านความงามของรูปแบบเก้าอี้มีไว้สำหรับชื่นชมสิ่งที่จะนำมาประกอบกันให้เกิดความงาม ก็คือ ส่วนประกอบในการออกแบบ แต่การจัดส่วนประกอบเข้าด้วยกันต้องมีหลัก หลักดังกล่าวนั้น ได้แก่ หลักการออกแบบ ซึ่งมีอยู่ 7 ประการ ดังต่อไปนี้

1. เอกภาพ

2. ดุลยภาพ

3. ความกลมกลืน

4. ความขัดแย้ง

5. สัดส่วน

6. ช่วงจังหวะ

7. การเน้น

6 การใช้ตัวอักษรและภาพประกอบในงานสิ่งพิมพ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจน ควรมีลักษณะอย่างไร

ตอบ....ต้องมีหลักการดังนี้

1.ระยะระหว่างตัวอักษร ควรมีระยะพอเหมาะไม่เบียดหรือชิดเกินไป

2.ระยะระหว่างคำ ในภาษาไทยอาจมีใช้น้อย แต่ในภาษาอังกฤษจำเป็น อยู่ห่างกันจะเกิดช่องสีขาว

3.ระยะระหว่างบรรทัด ส่วนใหญ่เรียกว่า Leading

ความห่างระหว่างบรรทัด (Leading) ขึ้นอยู่กับของตัวหนังสือ และความยาวของข้อความ การนำตัวอักษรแต่ละตัวหรือแต่ละคำมาเรียงกันเป็นบรรทัด อาจทำให้หลายแบบ ดังนี้

-เสมอหน้า ตัวอักษรจะเรียงชิดเส้นขอบหน้า ส่วนปลายบรรทัดด้านขวาจะขาดหรือเกินก็ได้

-เสมอหลัง ตัวอักษรเรียงชิดขอบด้านหลัง ส่วนปลายบรรทัดด้านซ้ายจะขาดหรือเกินก็ได้

-วางไม่สมดุล จะเรียงบรรทัดไหนอย่างไรก็ได้ แต่เมื่อดูรวม ๆ กันแล้ว ต้องให้เกิดความสมดุล

-วางรอบภาพประกอบ เป็นการจัดตัวอักษรรวมกับภาพประกอบวางในทิศทาง ต่าง ๆ เช่น วางเอียง วางทแยง วางเป็นเส้นตรง

7 เพราะเหตุใดในการบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ควรใช้คำศัพท์ทางทัศนศิลป์ประกอบลงไปด้วย

ตอบ...

ทัศนศิลป์คือการรับรู้ทางจักษุประสาท โดยการมองเห็น สสาร วัตถุ และสรรพสิ่งต่าง ๆ ที่เข้ามากระทบ รวมถึงมนุษย์ และสัตว์ จะด้วยการหยุดนิ่ง หรือเครื่อนไหวก็ตาม หรือจะด้วยการปรุงแต่ง หรือไม่ปรุงแต่งก็ตาม ก่อให้เกิดปัจจัยสมมุติต่อจิตใจ และอารมณ์ของมนุษย์ อาจจะป็นไปในทางเดียวกันหรือไม่ก็ตาม

ทัศนศิลป์จึงต้องใช้ศัพท์ทางทัศนศิลป์เพื่อสื่อให้เห็น และเข้าใจยิ่งขึ้น ระหว่างผู้พูดกับผู้ฟัง

อ้างอิง.....

http://www.mew6.com/composer/art/line.php

http://www.rbru.ac.th/courseware/human/2641602/lesson6/lesson6.1.html

http://www.thaigoodview.com/node/17307

http://error1704.exteen.com/20080525/type

http://www.thaigoodview.com/node/3268

น.ส.ณัชชา ชูชาติ ม.4 เลขที่ 39

1. ทัศนธาตุหรือองค์ประกอบทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างไร

ตอบ ทำให้ภาพมีความสวยงาม สมดุล สมกับเป็นงานศิลปะ

2.การพิจารณาผลงานชิ้นหนึ่งว่ามีความงามหรือไม่นั้นต้องพิจารณาจากอะไร

ตอบ องค์ประกอบของภาพหลายๆอย่าง อย่างเช่น ความสมดุลในการจัดวางรูปภาพ การลงสี ความคิดของผู้ที่วาด การลงเส้น

3. เส้นในแต่ละลักษณะให้ความรู้สึกต่อการมองเห็นแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ เส้นในแต่ละเส้นให้ความรู้สึกที่แตกต่างกัน แล้วแต่โอกาส ความรู้สึกของผู้ที่เห็น การจัดวางของเส้น เช่น

1) เส้นตั้ง หรือ เส้นดิ่ง ให้ความรู้สึกทางความสูง สง่า มั่นคง แข็งแรง หนักแน่น เป็นสัญลักษณ์ของความซื่อตรง

2) เส้นนอน ให้ความรู้สึกทางความกว้าง สงบ ราบเรียบ นิ่ง ผ่อนคลาย

3)เส้นเฉียง หรือ เส้นทะแยงมุม ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหว รวดเร็ว ไม่มั่นคง ฯลฯ

4. นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับข้อความที่ว่า สีเป็นองค์ประกอบทัศนศิลป์ที่สำคัญที่สุดในงานจิตรกรรม

ตอบ ไม่เห็นด้วย เพราะว่าในงานจิตรกรรมนั้น ขั้นตอนการลงสีถ้าขาดหายไปเรายังสามารถดูภาพนั้นออกว่าเป็นภาพอะไร แต่การลงเส้นถ้าลงไม่ชัดเราก็จะมองไม่ออกเลยว่าผู้วาดคิดอะไร แลววาดรูปอะไรออกมา

5. หลักการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง

ตอบ 1)องค์ประกอบในความคิด(Conceptual Elements)

2)องค์ประกอบที่มองเห็นได้ (Visual Elements)

3)องค์ประกอบที่สัมพันธ์ (Relational Elements)

4) องค์ประกอบที่นำมาใช้ประโยชน์ (Practical Elements)

6. การใช้ตัวอักษรและภาพประกอบในงานสิ่งพิมพ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจน ควรมีลักษณะอย่างไร

ตอบ ต้องเป็นตัวอักษรที่ดูง่าย ไม่บิดเอียงไปมา ใช้ภาษาที่ถูกต้อง ส่วนภาพก็ต้องสอดคล้องกับเนื้อหา

7. เพราะเหตุใดในการบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ควรใช้คำศัพท์ทางทัศนศิลป์ประกอบลงไปด้วย

ตอบ เพื่อจะได้ ได้อารมณ์ในงานศิลปะลึกซึ้งยิ่งขึ้น

อ้างอิง

นางสาวณัชชา ชูชาติ

http://aca.212cafe.com/archive/

นาย ธนกร เลื่องวิจิตรสกุล

1 ทัศนธาตุหรือองค์ประกอบทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างไร

ตอบ ทำให้รูปที่วาดดูสวยงามมากขึ้น เเละสื่อถึงความหมายของภาพ

2.การพิจารณาผลงานชิ้นหนึ่งว่ามีความงามหรือไม่นั้นต้องพิจารณาจากอะไร

ตอบ องค์ประกอบของภาพหลายๆอย่าง อย่างเช่น ความสมดุลในการจัดวางรูปภาพ การลงสี ความคิดของผู้ที่วาด การลงเส้น

3. เส้นในแต่ละลักษณะให้ความรู้สึกต่อการมองเห็นแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ เส้นในแต่ละเส้นให้ความรู้สึกที่แตกต่างกัน แล้วแต่โอกาส ความรู้สึกของผู้ที่เห็น การจัดวางของเส้น เช่น

1) เส้นตั้ง หรือ เส้นดิ่ง ให้ความรู้สึกทางความสูง สง่า มั่นคง แข็งแรง หนักแน่น เป็นสัญลักษณ์ของความซื่อตรง

2) เส้นนอน ให้ความรู้สึกทางความกว้าง สงบ ราบเรียบ นิ่ง ผ่อนคลาย

3)เส้นเฉียง หรือ เส้นทะแยงมุม ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหว รวดเร็ว ไม่มั่นคง ฯลฯ

4 นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับข้อความที่ว่า สีเป็นองค์ประกอบทัศนศิลป์ที่สำคัญที่สุดในงานจิตกรรม

ตอบ เห็นด้วย เพราะสีเป็นหลักสำคัญของการวาดรูปถ้าไม่มีสีก็จะทำให้ภาพไม่ดูสมจริง

5. หลักการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง

ตอบ 1)องค์ประกอบในความคิด(Conceptual Elements)

2)องค์ประกอบที่มองเห็นได้ (Visual Elements)

3)องค์ประกอบที่สัมพันธ์ (Relational Elements)

4) องค์ประกอบที่นำมาใช้ประโยชน์ (Practical Elements)

6. การใช้ตัวอักษรและภาพประกอบในงานสิ่งพิมพ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจน ควรมีลักษณะอย่างไร

ตอบ ต้องเป็นตัวอักษรที่ดูง่าย ไม่บิดเอียงไปมา ใช้ภาษาที่ถูกต้อง ส่วนภาพก็ต้องสอดคล้องกับเนื้อหา

7. เพราะเหตุใดในการบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ควรใช้คำศัพท์ทางทัศนศิลป์ประกอบลงไปด้วย

ตอบ เพื่อจะได้ ได้อารมณ์ในงานศิลปะลึกซึ้งยิ่งขึ้น

อ้างอิง

http://aca.212cafe.com/archive/

นาย ธนกร เลื่องวิจิตรสกุล

นาย รัตน์นิพนธ์ ไวสุรกุล

1 ทัศนธาตุหรือองค์ประกอบทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างไร

ตอบ ทำให้ภาพที่เราทำดูสวยงามและทำให้ภาพที่เราวาดนั้นเหมือนจริงมากยิ่งขึ้น มีความสมดุล ว่าตรงนี้ควรวาดอย่างไรดี วาดแล้วเหมาะกับภาพหรือป่าว

2 การพิจารณผลงานชิ้นหนึ่งว่ามีความงามหรือไม่นั้นต้องพิจารณาจากอะไร

ตอบ จากภาพที่วาดว่ามีความสมดุลของภาพรึป่าว การใช้สีหนักเบาเป็นอย่างไรบ้าง ภาพเหมือนจริงมากแค่ไหน

3 เส้นในแต่ละลักษณะให้ความรู้สึกต่อการมองเห็นแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ เส้นตั้งฉาก ให้ความรู้สึก สูง เด่น สง่า มั่นคง แข็งแรง

เส้นระดับ ให้ความรู้สึก สงบ แน่นอน

เส้นทะแยง ให้ความรู้สึก แสดงความเร็ว ความไม่มั่งคง

เส้นโค้ง ให้ความรู้สึก อ่อนน้อม เศร้า ผิดหวัง

เส้นคด ให้ความรู้สึก แสดงการเคลื่อนไหวอย่างอ่อนช้อย

เส้นประ ให้ความรู้สึก แสดงความไม่แน่นอน ลังเล แตกแยก

4 นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับข้อความที่ว่า สีเป็นองค์ประกอบทัศนศิลป์ที่สำคัญที่สุดในงานจิตกรรม

ตอบ เห็นด้วย เพราะสีเป็นหลักสำคัญของการวาดรูปถ้าไม่มีสีก็จะทำให้ภาพไม่ดูสมจริง

5 หลักการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง

ตอบ หลักการออกแบบ ซึ่งมีอยู่ 7 ประการคือ

1. เอกภาพ

2. ดุลยภาพ

3. ความกลมกลืน

4. ความขัดแย้ง

5. สัดส่วน

6. ช่วงจังหวะ

7. การเน้น

6 การใช้ตัวอักษรและภาพประกอบในงานสิ่งพิมพ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจน ควรมีลักษณะอย่างไร

ตอบ ใช้ตัวอักษรและภาพที่เข้ากัน สื่อความหมายเหมือนกัน

7 เพราะเหตุใดในการบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ควรใช้คำศัพท์ทางทัศนศิลป์ประกอบลงไปด้วย

ตอบ เพราะจะทำให้เข้าใจมากยิ่งขึ้นและดูเป็นทางการมากกว่า

นาย สมพร แซ่จง ชั้นม.4 เลขที่7

1. ทัศนธาตุหรือองค์ประกอบทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างไร

ตอบ ทัศนศิลป์ คือ กระบวนการถ่ายทอดผลงานทางศิลปะ การทำงานศิลปะอย่างมีจิตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ มีระบบระเบียบเป็นขั้นเป็นตอน การสร้างสรรค์งานอย่างมีประสิทธิภาพสวยงาม มีการปฏิบัติงานตามแผนและมีการพัฒนาผลงานให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง

2. การพิจารณาผลงานชิ้นหนึ่งว่ามีความงามหรือไม่นั้นต้องพิจารณาจากอะไร

ตอบ พิจารณาโดย องค์ประกอบของภาพมีสีสันหรือป่ะและมีความติดตาของผู้ดูไม่หรือป่ะทำให้ภาพที่ทำเหมือนเป็นจริงยิ่งขึ้น

3. เส้นในแต่ละลักษณะให้ความรู้สึกต่อการมองเห็นแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ เส้น คือการเชื่อมต่อของจุดสองจุดด้วยจุดหรือเครื่องหมายใด ๆ อย่างต่อเนื่องกัน เส้นมีหลายลักษณะ เช่น เส้นตรง เส้นโค้ง เส้นหนา เส้นบาง เส้นประ เป็นต้น

4.นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับข้อความที่ว่า สีเป็นองค์ประกอบทัศนศิลป์ที่สำคัญที่สุดในงานจิตกรรม

ตอบ เห็นด้วย เพราะว่าถ้าเกิดว่าไม่สีดูรูปภาพเหมือนกับไม่มีความหมายเลยในภาพที่คุณวาด ทำให้ขาดความสมจริงยิ่งขึ้น

5.หลักการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง

ตอบ มีความตัดกันและคมชัด ภาพที่เน้นจุดสนใจจะทำให้ภาพแลดูน่าสนใจ มากกว่าภาพที่ไม่มีการเน้นส่วนสำคัญซึ่งจะทำให้ภาพดูไม่มีมิติ

การออกแบบมีหลักดังนี้

1. ความง่าย ( Simplify ) หมายถึง ง่ายต่อการสื่อความหมายสามารถเข้าใจได้ทัน ง่ายในการอ่าน และง่ายต่อการนำไปใช้

2. เป็นเอกภาพ ( Unity ) หมายถึง มีความกลมกลืนกัน ไม่ว่าจะเป็นรูปร่าง สี หรือช่องว่าง

3. การเน้น ( Emphasis ) หมายถึง ออกแบบให้มีแนวความคิดเดียวหรือจุดสนใจเดียว

4. ความสมดุล ( Balance ) หมายถึง น้ำหนักทางซ้ายและขวา จะเท่า ๆ กัน ซึ่งความสมดุลแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ

4.1 ความสมดุลตามแบบ ( Formal balance ) คือลักษณะทั้งสองข้างจะเท่ากัน

4.2 ความสมดุลไม่ตามแบบ,สมดุลด้วยสายตา ( Informal balance ) คือลักษณะทั้งสองข้างจะไม่เหมือนกัน แต่ความรู้สึกเหมือนสมดุลกัน เช่น ภาพใหญ่สีอ่อน จะสมดุลกับภาพเล็กสีเข้ม ในการออกแบบภาพประกอบการสอน การออกแบบแผ่นใส หรือการจัดองค์ประกอบภาพ สามารถใช้องค์ประกอบทางศิลปะเป็นแนวทางได้

6.การใช้ตัวอักษรและภาพประกอบในงานสิ่งพิมพ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจน ควรมีลักษณะอย่างไร

ตอบ ในการออกแบบนอกจากจะต้องมีความชัดเจน ยังต้องตอบสนองจุดประสงค์ที่เกี่ยวข้องกับความสวยงาม เพื่อสร้างความอยากรู้้อยากเห็น รู้สึกตื่นเต้น ตลกขบขัน หรือสร้างความพิศวง

การออกแบบงานกราฟิกและสื่อ ควรจะต้องคำนึงถึงหลักการ ดังนี้

1. ความมีเอกภาพ (Unity)

2. ความกลมกลืน (harmony)

3. ความมีสัดส่วนที่สวยงาม (proportion)

4. ความมีสมดุล (balance)

5. ความมีจุดเด่น (emphasis)

7.เพราะเหตุใดในการบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ควรใช้คำศัพท์ทางทัศนศิลป์ประกอบลงไปด้วย

ตอบ ควรใช่ศัพท์ที่ง่ายและมีความหมายต่อทัศนศิลป์ เพราะว่าจะทำให้รู้หรือเข้าใจยิ่งขึ้น

นาย อัษฎาวุธ ทิพย์บุญศรี ม.4 เลขที่42

1 ทัศนธาตุหรือองค์ประกอบทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างไร

ตอบ ทำให้งานศิลป์ของเรามีความสวยงามน่าดูน่าชมยิ่งขึ้น

2. การพิจารณาผลงานชิ้นหนึ่งว่ามีความงามหรือไม่นั้นต้องพิจารณาจากอะไร

ตอบ พิจารณาจากสีสันความสมดุลความชัดของเส้นแสงเงาและจุดเด่นจุดสำคัญของภาพ

3. เส้นในแต่ละลักษณะให้ความรู้สึกต่อการมองเห็นแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ เส้นในแต่ลักษณะให้ความรู้สึกต่อการมองเห็นต่างกัน เนื่องจากเส้นแต่ละเส้นไม่เหมือนกัน เช่น 1. เส้นตั้ง หรือ เส้นดิ่ง ให้ความรู้สึกทางความสูง สง่า มั่นคง แข็งแรง หนักแน่น เป็นสัญลักษณ์ของความซื่อตรง

2. เส้นนอน ให้ความรู้สึกทางความกว้าง สงบ ราบเรียบ นิ่ง ผ่อนคลาย

3. เส้นเฉียง หรือ เส้นทะแยงมุม ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหว รวดเร็ว ไม่มั่นคง

4. เส้นหยัก หรือ เส้นซิกแซก แบบฟันปลา ให้ความรู้สึก คลื่อนไหว อย่างเป็น จังหวะ มีระเบียบ ไม่ราบเรียบ น่ากลัว อันตราย ขัดแย้ง ความรุนแรง

5. เส้นโค้ง แบบคลื่น ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหวอย่างช้า ๆ ลื่นไหล ต่อเนื่อง สุภาพ อ่อนโยน นุ่มนวล

6. เส้นโค้งแบบก้นหอย ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว คลี่คลาย หรือเติบโตในทิศทางที่ หมุนวนออกมา ถ้ามองเข้าไปจะเห็นพลังความเคลื่อนไหวที่ไม่สิ้นสุด

7. เส้นโค้งวงแคบ ให้ความรู้สึกถึงพลังความเคลื่อนไหวที่รุนแรง การเปลี่ยนทิศทาง ที่รวดเร็ว ไม่หยุดนิ่ง

8. เส้นประ ให้ความรู้สึกที่ไม่ต่อเนื่อง ขาด หาย ไม่ชัดเจน ทำให้เกิดความ

4 นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับข้อความที่ว่า สีเป็นองค์ประกอบทัศนศิลป์ที่สำคัญที่สุดในงานจิตกรรม

ตอบ เห็นด้วยเพราะสีทำให้เกิดความงดงามสะดุดตาทำให้เกิดอารมณ์ศิลป์ขึ้น

5 หลักการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง

ตอบ การออกแบบมีหลักดังนี้

1. ความง่าย ( Simplify ) หมายถึง ง่ายต่อการสื่อความหมายสามารถเข้าใจได้ทัน ง่ายในการอ่าน และง่ายต่อการนำไปใช้

2. เป็นเอกภาพ ( Unity ) หมายถึง มีความกลมกลืนกัน ไม่ว่าจะเป็นรูปร่าง สี หรือช่องว่าง

3. การเน้น ( Emphasis ) หมายถึง ออกแบบให้มีแนวความคิดเดียวหรือจุดสนใจเดียว

4. ความสมดุล ( Balance ) หมายถึง น้ำหนักทางซ้ายและขวา จะเท่า ๆ กัน

6 การใช้ตัวอักษรและภาพประกอบในงานสิ่งพิมพ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจน ควรมีลักษณะอย่างไร

ตอบ ควรมีตัวอักษรที่ตัวที่มองเห็นได้ไม่เล็กเกินไปหรือสีของตัวอักษรที่มีสีเค็มจะทำให้มองเห็นง่ายส่วนภาพควรมีสีจะทำให้ภาพนั้นน่าดูยิ่งขึ้นและควรเป็นภาพเดียวกันกับเรื่องที่อ่าน

7.เพราะเหตุใดในการบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ควรใช้คำศัพท์ทางทัศนศิลป์ประกอบลงไปด้วย

ตอบ จะทำให้เกิดความชัดเจนของภาพที่บรรยายทำเกิดอารมณ์ศิลป์ต่อผู้ฟังและผู้บรรยายยิ่งขึ้น

ลืมรอบสอง2อันบนของผม

นาย ชานนท์ ธนพัฒน์กุล ม.4 เลขที่11

1 ทัศนธาตุหรือองค์ประกอบทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างไร

ตอบ มีความสำคัญ คือ ทำให้มีความสวยงามกับรูปภาพนั้นมากขึ้น ดูมีมิติ

เพราะ ทัศนธาตุ หมายถึง ส่วนประกอบของศิลปะที่มองเห็นได้ ประกอบไปด้วย

จุด เส้น รูปร่าง รูปทรง น้ำหนักอ่อน - แก่ สี บริเวณว่าง และพื้นผิว

2 การพิจารณาผลงานชิ้นหนึ่งว่ามีความงามหรือไม่นั้นต้องพิจารณาจากอะไร

ตอบ เส้น รูปร่าง รูปทรง สี แสงเงา บริเวณว่าง ลักษณะผิว

3 เส้นในแต่ละลักษณะให้ความรู้สึกต่อการมองเห็นแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ ความรู้สึกที่เกิดจากลักษณะของเส้น

1.เส้นตรง ให้ความรู้สึกแข็งแรง แน่นอน ตรง เข้ม ไม่ประนีประนอม และเอาชนะ

2.เส้นโค้งน้อย หรือเส้นเป็นคลื่นน้อย ๆ ให้ความรู้สึกสบาย เปลี่ยนแปลงได้ เลื่อนไหลต่อเนื่อง มีความกลมกลืน ในการเปลี่ยนทิศทาง ความเคลื่อนไหวช้า ๆ สุภาพ นุ่ม อิ่มเอิบ แต่ถ้าใช้เส้นลักษณะนี้มากเกินไป จะให้ความรู้สึกกังวล เรื่อยเฉื่อย ขาดจุดหมาย

3.เส้นโค้งวงแคบ เปลี่ยนทิศทางรวดเร็ว มีพลังเคลื่อนไหรุนแรง

4.เส้นโค้งของวงกลม การเปลี่ยนทิศทางที่ตายตัว ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ให้ความรู้สึกเป็นเรื่องซ้ำ ๆ เป็นเส้นโค้ง ที่มีระเบียบ มากที่สุด แต่จืดชืดไม่น่าสนใจ เพราะขาดความเปลี่ยนแปลง

5.เส้นโค้งก้นหอย ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหวคลี่คลาย เติบโต เมื่อมองจาก ภายในออกมา และถ้ามองจากภายนอกเข้าไป จะให้ความรู้สึกที่ไม่สิ้นสุดของ พลังเคลื่อนไหว

6.เส้นฟันปลาหรือเส้นคดที่หักเหโดยกะทันหัน เปลี่ยนทิศทางรวดเร็วมาก ทำให้ประสาทกระตุก ให้จังหวะกระแทก รู้สึกถึงกิจกรรมที่ขัดแย้งและความรุนแรง

ความหมายของเส้น

ความรู้สึกที่เกิดจากทิศทางของเส้น

เส้นทุกเส้นมีทิศทาง คือ ทางตั้ง ทางนอน และทางเฉียง ในแต่ละทิศทางจะให้ความรู้สึกต่างกัน

1. เส้นตั้ง ให้ความรู้สึกมั่นคง แข็งแรง พุ่งขึ้น จริงจัง เงียบขรึม และให้ความสมดุล เป็นสัญลักษณ์ของความถูกต้อง ซื่อสัตย์ มีความสมบูรณ์ในตัว สง่า ทะเยอทะยาน และรุ่งเรือง

2. เส้นนอน ให้ความรู้สึกพักผ่อน ผ่อนคลา เงียบ เฉย สงบ

3. เส้นเฉียง เป็นเส้นที่อยู่ระหว่างเส้นตั้งกับเส้นนอน ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว ไม่มั่นคง ไม่สมบูรณ์ ต้องการเส้นเฉียงอีกเส้นหนึ่งมาช่วยให้มั่นคงสมดุลในรูปของมุมฉาก

4. เส้นที่เฉียงและโค้ง ให้ความรู้สึกที่ขาดระเบียบตามยถากรรม ให้ความรู้สึกพุ่งเข้าหรือพุ่งออกจากที่ว่าง

4 นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับข้อความที่ว่า สีเป็นองค์ประกอบทัศนศิลป์ที่สำคัญที่สุดในงานจิตกรรม

ตอบ เห็นด้วยสีที่มีความเข้ม สดใส ที่แตกต่างกว่าสีส่วนรวม ในภาพ ก็จะสร้างจุดสนใจได้ดี หรือสีและน้ำหนักที่แตกต่าง ก็สร้างจุดเด่น ได้เช่นกัน

5 หลักการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง

ตอบ 1. การจัดองค์ประกอบดี วางตำแหน่งทิศทางของเส้นต่าง ๆ ให้สมดุล มีการให้สี แสง เงาที่ดี มีจุดสนใจโดยเน้นจุดสนใจให้เด่นชัด

2. สื่อความหมายได้ชัดเจน เมื่อผู้ดูดูแล้วจะได้ทราบถึงสิ่งที่ต้องการสื่อความหมาย

3. มีความตัดกันและคมชัด ภาพที่เน้นจุดสนใจจะทำให้ภาพแลดูน่าสนใจ มากกว่าภาพที่ไม่มีการเน้นส่วนสำคัญซึ่งจะทำให้ภาพดูไม่มีมิติ

4. ใช้วัสดุให้เหมาะสม โดยใช้ทรัพยากรอย่างมีคุณค่า ในการออกแบบเพื่อที่จะได้สื่อความหมายให้ตรงกับวัตถุประสงค์ ควรมีการวางแผนหรือวางโครงร่างคร่าว ๆ ก่อน

6 การใช้ตัวอักษรและภาพประกอบในงานสิ่งพิมพ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจน ควรมีลักษณะอย่างไร

ตอบ ตัวอักษร ต้องใช้ตัวอักษร ที่มีขนาดไม่เล็กและไม่ใหญ่เกินไป ควรใช้ตัวอักษรและภาพที่มีความพอดีกับสิ่งพิมพ์

สามารถสื่อความหมายออกมาได้ดี

ภาพประกอบ ควรเป็นภาพเดียวกันกับเรื่องที่อ่าน

7.เพราะเหตุใดในการบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ควรใช้คำศัพท์ทางทัศนศิลป์ประกอบลงไปด้วย

ตอบ จะทำให้ผู้ที่มาชมผลงาน เข้าใจถึงความหมายของผลงานนั้นมากขึ้นกว่าการไม่ใช้คำศัพท์ทางทัศนศิลป์

คำศัพท์ทางทัศนศิลป์จึงสำคัญระหว่างผู้พูดกับผู้ฟัง

อ้างอิง

http://www.thaigoodview.com/node/17307

http://cheeranan.exteen.com/20071216/entry

http://www.novabizz.com/CDC/Garden/Garden_Art.htm

http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/art04/18/The_Theory_Of_Art/dominance.html

http://narissaraenglish.blogspot.com/2007/09/1.html

นาย เทียนชัย แซ่ลิ่ว เลขที่36 ม.4

1.ทัศนธาตุหรือองค์ประกอบทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างไร

ตอบ มีความสำคัญต่อการวาดภาพทำให้ภาพที่วาดนั้นดูสวยงามและมีความเหมือนจริง แล้วมีความเหมาะสมต่อภาพที่วาด

ทัศนศิลป์ คือ กระบวนการถ่ายทอดผลงานทางศิลปะ การทำงานศิลปะอย่างมีจิตนาการความคิดสร้างสรรค์มีระบบระเบียบ

เป็นขั้นเป็นตอน การสร้างสรรค์งานอย่างมีประสิทธิภาพสวยงาม มีการปฏิบัติงานตามแผนและมีการพัฒนาผลงานให้ดีขึ้นต่อเนื่อง

http://www.thaigoodview.com/node/17307

“องค์ประกอบทัศนศิลป์” คือองค์ประกอบที่ประกอบด้วย จุด เส้น สี พื้นผิว ค่าน้ำหนักอ่อนแก่ (แสง-เงา) รูปร่าง รูปทรง และบริเวณว่าง

ประกอบด้วยองค์ประกอบสำคัญที่เป็นมูลฐาน 7 ประการคือ

1. จุด (Point,Dot) หมายถึง ส่วนประกอบที่เล็กที่สุด เป็นส่วนเริ่มต้นไปสู่ส่วนอื่นๆ

2. 2. เส้น (Line) หมายถึง จุดหลาย ๆ จุดที่เคลื่อนที่ต่อเนื่องไปในที่ว่างเปล่าจากทิศทางการเคลื่อนที่ต่าง ๆ กัน

3. 3. สี (Colour) หมายถึง ลักษณะของแสงสว่างที่ปรากฏแก่สายตาให้เห็นสีต่างกันสีเป็นสิ่งที่มีอิทธิพลต่อความรู้สึก เมื่อมองเห็น และทำให้เกิดอารมณ์ สะเทือนใจต่าง ๆ

4. พื้นผิว (Texture) หมายถึง คุณลักษณะต่าง ๆ ของผิวด้านหน้าของวัตถุทุกชนิดที่มีลักษณะต่าง ๆ กันเช่นเรียบ ขรุขระ เป็นมันวาว ด้าน เป็นต้น

5. รูปร่าง (Shape) หมายถึง การบรรจบกันของเส้นที่เป็นขอบเขตของวัตถุที่มองเห็นเป็น 2 มิติ คือ มีความกว้างและความยาว 2 ด้านเท่านั้น

รูปทรง (form) หมายถึงรูปลักษณะที่มองเห็นเป็น 3 มิติ คือ มีความกว้างความยาวและความหนาลึก

4. ค่าน้ำหนัก (value) หมายถึง ค่าความอ่อนเข้มของสีที่เกิดจากของสีที่เกิดจากแสงและเงา

5. 7. ช่องว่าง(space) หมายถึง บริเวณที่ว่างเปล่าที่เรียกกันว่า "ช่องไฟ"

ทัศนธาตุเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าองค์ประกอบทัศนศิลป์ หมายถึง สิ่งที่เป็นส่วน

ประกอบสำคัญต่าง ๆ ในงานทัศนศิลป์ ได้แก่ เส้น สี พื้นผิว แสงเงาและช่องว่าง การวาดภาพที่ดี การนำส่วนประกอบสำคัญต่าง ๆ เหล่านี้มาจัดให้เกิดความสมดุลและเกิดความงาม ซึ่งจะทำให้เป็นภาพที่สมบูรณ์ได้ เรียกว่าการจัดทัศนธาตุหรือการจัดองค์ประกอบของทัศนศิลป์

การจัดองค์ประกอบทัศนศิลป์ เป็นหลักสำคัญสำหรับผู้สร้างสรรค์ และผู้ศึกษางานศิลปะ เนื่องจากผลงานศิลปะใด ๆ ก็ตาม ล้วนมีคุณค่าอยู่ 2 ประการ คือ คุณค่าทางด้านรูปทรงและคุณค่าทางด้านเรื่องราว

องค์ประกอบศิลป์ (Art composition)

การจัดองค์ประกอบของศิลป์ มีหลักที่ควรคำนึงอยู่ 4 ประการ คือ

1. ความสมดุล (Balance)

2. ส่วน (Proportion)

3. จุดสนใจ (Emphasis)

4. เอกภาพ (Unity)

1. ความสมดุล (Balance)

ความสมดุลหรือดุลยภาพ หมายถึง น้ำหนักที่เท่ากันขององค์ประกอบ ไม่เอนเอียงไปข้างใดข้างหนึ่ง

2. ส่วน (Proportion)

ส่วน หมายถึง ความสัมพันธ์กันอย่างเหมาะสมขององค์ประกอบส่วนจัดเป็นประเภทต่าง ๆ ได้อีก เช่น

1) ส่วนการจัดวางภาพ

2) ส่วนขนาดของภาพ

- 3) ส่วนของสี

- รูปหรือภาพสีแก่ พื้นต้องสีอ่อน

- รูปหรือภาพสีอ่อน พื้นต้องสีแก่

- รูปหรือภาพและพื้นมีสีเท่ากันแต่จะต้องมีค่าน้ำหนักของสีต่างกัน

3. จุดสนใจ (Emphasis)

จุดสนใจ หมายถึง การกระทำให้เด่นเป็นพิเศษกว่าธรรมดา

4. เอกภาพ (Unity)

เอกภาพ หมายถึง การจัดองค์ประกอบที่อยู่ในภาพให้มีลักษณะเป็นกลุ่ม ไม่ให้กระจัดกระจาย

http://dek-d.com/board/view.php?id=1048341

2. การพิจารณผลงานชิ้นหนึ่งว่ามีความงามหรือไม่นั้นต้องพิจารณาจากอะไร

ตอบ -ลายมือการเขียน ความคิดสร้างสรรค์ การลงสีหรือลวดลาย การจัดวางเนื้อหา

3. เส้นในแต่ละลักษณะให้ความรู้สึกต่อการมองเห็นแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ เส้นเป็นองค์ประกอบที่สำคัญส่วนหนึ่งของศิลปภาพถ่าย เส้นสายในภาพถ่ายนอกจากจะเป็นเส้นนำสายตาผู้ชมภาพไปสู่จุดสนใจแล้ว เส้นเหล่านั้นยังให้ความรู้สึกและความหมายของภาพแตกต่างกัน บางเส้นให้อารมณ์รุนแรง ตื่นเต้น ในขณะเดียวกัน บางเส้นก็ให้ความรู้สึกเงียบสงบ อ่อนโยน

เส้นตั้งตรง เหมือนคนยืน เหมือนต้นเสา ต้นไม้ เป็นสัญลักษณ์ของความมั่นคง เคร่งขรึม เอาจริงเอาจัง

เส้นตรงแนวนอน เป็นลักษณะของคนนอน ต้นไม้ล้ม หรือเส้นขอบฟ้า แสดงถึงอารมณ์ที่ราบเรียบ ผ่อนคลาย สงบเงียบ

เส้นทะแยงมุม เหมือนกับต้นไม้ใบหญ้าที่โอนเอนเมื่อถูกลมพัด ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหวที่รุนแรง และความมีชีวิตชีวา

เส้นโค้งคดเคี้ยว ที่ต่อเนื่องอย่างนุ่มนวล เป็นความสนุกสนาน ความกลมกลืน และความเป็นหนุ่มเป็นสาว

เส้นที่แตกเป็นแฉกแหลมๆ เหมือนเส้นสายฟ้า เป็นสัญลักษณ์ของความโกรธ ความตื่นเต้นระทึกใจ

เส้นที่ตั้งขึ้นแล้วโค้งลงเหมือนไม้เลื้อย ให้อารมณ์หม่นหมอง เศร้าสลด เช่นเดียวกับคนก้มหน้าร้องไห้

http://www.bpsthai.org/BPS_Links/PhotoTechnic_L/Manosarae_L/Mano_L15.html

4 . นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับข้อความที่ว่า สีเป็นองค์ประกอบทัศนศิลป์ที่สำคัญที่สุดในงานจิตกรรม

ตอบ เห็นด้วย สีเป็นสิ่งสำคัญในการเพิ่มลวดลายในภาพที่วาด

5 . หลักการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง

ตอบ การออกแบบมีหลักการพื้นฐาน โดยอาศัยส่วนประกอบขององค์ประกอบศิลป์ตามที่ได้กล่าวมาแล้วในบทเรียนเรื่อง “ องค์ประกอบศิลป์ ” คือ จุด เส้น รูปร่าง รูปทรง น้ำหนัก สี และพื้นผิว นำมาจัดวางเพื่อให้เกิดความสวยงาม โดยมีหลักการ ดังนี้

1. ความเป็นหน่วย (Unity)

ในการออกแบบ ผู้ออกแบบจะต้องคำนึงถึงงานทั้งหมดให้อยู่ในหน่วยงานเดียวกัน เป็นกลุ่มก้อน หรือมีความ สัมพันธ์กัน ทั้งหมดของงานนั้นๆ และพิจารณาส่วนย่อยลงไปตามลำดับ ในส่วนย่อยๆก็คงต้องถือหลักนี้เช่นกัน

2. ความสมดุลหรือความถ่วง (Balancing)

เป็นหลักทั่วๆไปของงานศิลปะที่จะต้องดูความสมดุลของงานนั้นๆ ความรู้สึกทางสมดุลของงานนี้ เป็นความรู้สึก ที่เกิดขึ้นในส่วนของความคิดในเรื่องของความงามในสิ่งนั้นๆ มีหลักความสมดุลอยู่ 3 ประการ

2.1 ความสมดุลในลักษณะเท่ากัน (Symmetry Balancing)

คือมีลักษณะเป็นซ้าย-ขวา บน-ล่าง เป็นต้น ความสมดุลในลักษณะนี้ดูและเข้าใจง่าย

2.2 ความสมดุลในลักษณะไม่เท่ากัน (Non-symmetry Balancing) คือมีลักษณะสมดุลกันในตัวเองไม่จำเป็นจะต้องเท่ากัน แต่ดูในด้านความรู้สึกแล้วเกิดความสมดุลกันในตัว ลักษณะการสมดุลแบบนี้ผู้ออกแบบจะต้องมีการประลองดูให้แน่ใจในความรู้สึกของผู้พบเห็นด้วย ซึ่งเป็น ความสมดุลที่เกิดในลักษณะที่แตกต่างกันได้ เช่น ใช้ความสมดุลด้วยผิว (Texture) ด้วยแสง-เงา (Shade) หรือด้วยสี (Colour)

2.3 จุดศูนย์ถ่วง (Gravity Balance) การออกแบบใดๆที่เป็นวัตถุสิ่งของและจะต้องใช้งานการทรงตัวจำเป็นที่ผู้ออกแบบจะต้องคำนึงถึงจุดศูนย์ถ่วง ได้แก่ การไม่โยกเอียง หรือให้ความรู้สึกไม่มั่นคงแข็งแรง ดังนั้นสิ่งใดที่ต้องการจุศูนย์ถ่วงแล้ว ผู้ออกแบบ จะต้อง ระมัดระวังในสิ่งนี้ให้มาก ตัวอย่างเช่น เก้าอี้จะต้องตั้งตรง ยึดมั่นทั้งสี่ขาเท่าๆกัน การทรงตัวของ คน ถ้ายืน 2 ขา ก็จะต้องมีน้ำหนักลงที่เท้าทั้ง 2 ข้างเท่าๆกัน ถ้ายืนเอียงหรือพิงฝา น้ำหนักตัวก็จะลงเท้าข้างหนึ่ง และ ส่วนหนึ่งจะลงที่หลังพิงฝา รูปปั้นคนในท่าวิ่ง จุดศูนย์ถ่วงจะอยู่ที่ใด ผู้ออกแบบจะต้องรู้และวางรูป ได้ถูกต้อง เรื่อง ของจุดศูนย์ถ่วง จึงหมายถึงการทรงตัวของวัตถุสิ่งของนั่นเอง

3. ความสัมพันธ์ทางศิลปะ ( Relativity of Arts)

ในเรื่องของศิลปะนั้น เป็นสิ่งที่จะต้องพิจารณากันหลายขั้นตอน เพราะเป็นเรื่องความรู้สึกที่สัมพันธ์กัน อันได้แก่

3.1 การเน้นหรือจุดสนใจ ( Emphasis or Centre of Interest) งานด้านศิลปะผู้ออกแบบจะต้องมีจุดเน้นให้เกิดสิ่งที่ประทับใจแก่ผู้พบเห็น โดยมีข้อบอกกล่าว เป็นความรู้สึกร่วม ที่เกิดขึ้นเองจากตัวของศิลปกรรมนั้นๆ ความรู้สึกนี้ผู้ออกแบบจะต้องพยายามให้เกิดขึ้นเหมือนกัน

3.2 จุดสำคัญรอง ( Subordinate)

คงคล้ายกับจุดเน้นนั่นเอง แต่มีความสำคัญรองลงไปตามลำดับ ซึ่ง อาจจะเป็นรองส่วนที่ 1 ส่วนที่ 2 ก็ได้ ส่วนนี้จะช่วยให้เกิดความลดหลั่นทางผลงานที่แสดง ผู้ออกแบบจะต้อง คำนึงถึงสิ่งนี้ด้วย

3.3 จังหวะ ( Rhythem)

โดยทั่วๆไปสิ่งที่สัมพันธ์กันในสิ่งนั้นๆย่อมมีจังหวะ ระยะหรือความถี่ห่างในตัวมันเองก็ดี หรือสิ่งแวดล้อม ที่ สัมพันธ์ อยู่ก็ดี จะเป็นเส้น สี เงา หรือช่วงจังหวะของการตกแต่ง แสงไฟ ลวดลาย ที่มีความสัมพันธ์กัน ในที่นั้น เป็นความรู้สึกของผู้พบเห็นหรือผู้ออกแบบจะรู้สึกในความงามนั่นเอง

3.4 ความต่างกัน ( Contrast)

เป็นความรู้สึกที่เกิดขึ้นเพื่อช่วยให้มีการเคลื่อนไหวไม่ซ้ำซากเกินไป หรือเกิดความเบื่อหน่าย จำเจ ในการ ตกแต่ง ก็เช่นกัน ปัจจุบันผู้ออกแบบมักจะหาทางให้เกิดความรู้สึกขัดกันต่างกัน เช่น เก้าอี้ชุดสมัยใหม่ แต่ขณะ เดียวกันก็มีเก้าอี้สมัยรัชกาลที่ 5 อยู่ด้วย 1 ตัว เช่นนี้ผู้พบเห็นจะเกิดความรู้สึกแตกต่างกัน ทำให้เกิดความรู้สึก ไม่ซ้ำซาก รสชาติแตกต่างออกไป

3.5 ความกลมกลืน ( Harmomies) ความกลมกลืนในที่นี้หมายถึงพิจารณาในส่วนรวมทั้งหมดแม้จะมีบางอย่างที่แตกต่างกัน การใช้สีที่ตัดกัน หรือ การใช้ผิว ใช้เส้นที่ขัดกัน ความรู้สึกส่วนน้อยนี้ไม่ทำให้ส่วนรวมเสียก็ถือว่าเกิดความกลมกลืนกันในส่วนรวม ความกลมกลืนในส่วนรวมนี้ถ้าจะแยกก็ได้แก่ความเน้นไปในส่วนมูลฐานทางศิลปะอันได้แก่ เส้น แสง-เงา รูปทรง ขนาด ผิว สี นั่นเอง

ความสำคัญของการออกแบบถ้าการออกแบบสามารถแก้ไขปัญหาของเราได้ การออกแบบจึงมีความสำคัญ และคุณค่าต่อการดำรงชีวิตของเรา ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ และทัศนคติ กล่าวคือ

มีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิตของเรา เช่น

1. การวางแผนการการทำงาน งานออกแบบจะช่วยให้การทำงานเป็นไปตาม ขั้นตอน อย่างเหมาะสม และประหยัดเวลา ดังนั้นอาจถือว่าการออกแบบ คือ การวาง แผนการทำงานที่ดี

2. การนำเสนอผลงาน ผลงานออกแบบจะช่วยให้ผู้เกี่ยวข้องมีความเข้าใจ ตรงกันอย่างชัดเจน ดังนั้น ความสำคัญในด้านนี้ คือ เป็นสื่อความหมายเพื่อความเข้าใจ ระหว่างกัน

3. สามารถอธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับงาน งานบางประเภท อาจมีรายละเอียดมากมาย ซับซ้อน ผลงานออกแบบ จะช่วยให้ผู้เกี่ยวข้อง และผู้พบเห็นมีความเข้าใจที่ชัดเจนขึ้น หรืออาจกล่าวได้ว่า ผลงานออกแบบ คือ ตัวแทนความคิดของผู้ออกแบบได้ทั้งหมด

4. แบบ จะมีความสำคัญมาก ถ้าผู้ออกแบบกับผู้สร้างงานหรือผู้ผลิต เป็นคนละคนกัน เช่น สถาปนิกกับช่างก่อสร้าง นักออกแบบกับผู้ผลิตในโรงงาน หรือถ้าจะเปรียบไปแล้ว นักออกแบบก็เหมือนกับคนเขียนบทละครนั่นเอง

มีคุณค่าต่อวิถีชีวิตของเรา คือ

1. คุณค่าทางกาย

คุณค่าของงานออกแบบที่มีผลทางด้านร่างกาย คือคุณค่าที่มีประโยชน์ใช้สอยในชีวิตประจำวันโดยตรง เช่น ไถมีไว้สำหรับไถนา แก้วมีไว้สำหรับใส่น้ำ ยานพาหนะมีไว้สำหรับเดินทาง บ้านมีไว้สำหรับอยู่อาศัย เป็นต้น

2. คุณค่าทางอารมณ์ความรู้สึก

คุณค่าของงานออกแบบที่มีผลทางอารมณ์ความรู้สึกเป็นคุณค่าที่เน้นความชื่นชอบ พึงพอใจ สุขสบายใจ หรือ ความรู้สึกนึกคิดด้านอื่น ๆ ไม่มีผลทางประโยชน์ใช้สอยโดยตรง เช่น งานออกแบบทางทัศนศิลป์ การออกแบบ ตกแต่ง ใบหน้าคุณค่าทางอารมณ์ความรู้สึกนี้ อาจจะเป็นการออกแบบ เคลือบแฝงในงานออกแบบ ที่ม ีประโยชน์ทางกายก็ได้ เช่น การออกแบบตกแต่งบ้าน ออกแบบตกแต่งสนามหญ้า ออกแบบตกแต่งร่างกายเป็นต้น

3. คุณค่าทางทัศนคติ

คุณค่าของงานออกแบบที่มีผลทางทัศนคติ เน้นการสร้างทัศนคติอย่างใดอย่างหนึ่งต่อผู้พบเห็น เช่น อนุสาวรีย์สร้างทัศนคติให้รักชาติ กล้าหาญ หรือทำความดี งานจิตรกรรมหรือประติมากรรมบางรูปแบบ อาจจะ แสดงความกดขี่ขูดรีด เพื่อเน้นการระลึกถึงทัศนคติที่ดีและถูกควรในสังคม เป็นต้น

http://aom123.myfri3nd.com/blog/2008/10/30/entry-1

6 .การใช้ตัวอักษรและภาพประกอบในงานสิ่งพิมพ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจน ควรมีลักษณะอย่างไร

ตอบ ตัวอักษร

ความแตกต่างของตัวอักษร (Type Face)

Type Face ของตัวอักษรแบบพื้นฐาน มีอยู่ 5 แบบ คือ

1.ตัวอักษรแบบตัวบาง (Light Face) มีความหมายของตัวอักษรน้อยที่สุดในจำนวน 5 แบบ

2.ตัวอักษรที่มีเส้นน้ำหนักหนา (Bold Face)

3.ตัวอักษรที่เหมาะกับงานที่มีเนื้อที่จำกัด (Condenced) เพราะมีขนาดความกว้างแคบ

4.ตัวอักษรที่มีลักษณะเตี้ย แต่มีความกว้างมาก (Extended)

5.ตัวอักษรที่มีลักษณะตัวเอียง (Italic , Obligne)

นอกจากนี้ยังมีแบบของตัวอักษรอีกหลายร้อยแบบ แต่ละแบบอยู่ในลักษณะ 5 แบบ ที่กล่าวมาแล้วข้างต้นทั้งสิ้น เช่นแบบ Universe Bold - Face แบบ Universe Light - Face เป็นต้น Type Face อีกแบบหนึ่งก็คือ ltalicเป็นแบบตัวอักษรที่มีลักษณะเอนตัวไปทางขวา

สิ่งที่ต้องคำนึงถึงในการใช้ตัวอักษร

1. ช่องไฟ (World Spacing) เนื้อที่ว่างระหว่างคำ มีความสำคัญมากต่อการอ่าน ถ้าหากช่องไฟมีเนื้อที่มากหรือน้อยเกินไปจะทำให้ข้อความนั้นไม่สวยหรืออ่านยาก แต่ในบางครั้งการออกแบบก็สามารถใช้ช่องไฟห่าง ๆ ในการออกแบบ

การจัดช่องไฟของตัวอักษรในภาษาต่าง ๆ มักมี 3 ลักษณะ คือ

1.ระยะระหว่างตัวอักษร ควรมีระยะพอเหมาะไม่เบียดหรือชิดเกินไป

2.ระยะระหว่างคำ ในภาษาไทยอาจมีใช้น้อย แต่ในภาษาอังกฤษจำเป็น อยู่ห่างกันจะเกิดช่องสีขาว

3.ระยะระหว่างบรรทัด ส่วนใหญ่เรียกว่า Leading

การจัดช่องไฟตัวอักษรนี้ เป็นข้อควรคำนึงที่นักออกแบบต้องทราบเป็นอย่างดี เพราะการจัดช่องไฟของตัวอักษรจะต้องมีความสัมพันธ์กับขนาดรูปเล่ม จำนวนหน้า การจัดแบ่งคอลัมน์และรูปแบบ

2. ความห่างระหว่างบรรทัด (Leading) ขึ้นอยู่กับของตัวหนังสือ และความยาวของข้อความ การนำตัวอักษรแต่ละตัวหรือแต่ละคำมาเรียงกันเป็นบรรทัด อาจทำให้หลายแบบ ดังนี้

-เสมอหน้า ตัวอักษรจะเรียงชิดเส้นขอบหน้า ส่วนปลายบรรทัดด้านขวาจะขาดหรือเกินก็ได้

-เสมอหลัง ตัวอักษรเรียงชิดขอบด้านหลัง ส่วนปลายบรรทัดด้านซ้ายจะขาดหรือเกินก็ได้

-วางไม่สมดุล จะเรียงบรรทัดไหนอย่างไรก็ได้ แต่เมื่อดูรวม ๆ กันแล้ว ต้องให้เกิดความสมดุล

-วางรอบภาพประกอบ เป็นการจัดตัวอักษรรวมกับภาพประกอบวางในทิศทาง ต่าง ๆ เช่น วางเอียง วางทแยง วางเป็นเส้นตรง

การใช้ตัวอักษรในงานสิ่งพิมพ์โฆษณา (Design With Type)

การเลือกใช้ตัวอักษรมีความสำคัญมากในงานโฆษณา เป็นส่วนที่เกี่ยวข้องในการออกแบบโฆษณาและเกี่ยวข้องกับทุก ๆ องค์ประกอบ สิ่งที่ควรคำนึงถึงในการโฆษณาเกี่ยวกับตัวอักษรก็คือ ขนาดของตัวอักษร ซึ่งในที่นี้กล่าวถึงตัวอักษรภาษาอังกฤษเป็นส่วนใหญ่ ในงานโฆษณานั้นตัวอักษรภาษาอังกฤษแบ่งออกเป็น 2 ตัวอักษร พวกใหญ่ ๆ คือ

1. Upper Case ได้แก่ ตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวใหญ่ เช่น A, B, C, ฯลฯ

2. Lower Case ได้แก่ ตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวเล็ก a, b, c, d ฯลฯ

นอกจากนี้ ตัวอักษรภาษาอังกฤษยังมีลักษณะแตกต่างกันอยู่อีก คือ

1. ลักษณะพวกที่มี Serif คือ ขีดส่วนบนและล่างของ Upper case ซึ่งเกิดในสมัยโรมัน เพราะการจารึกในสมัยนั้นตัวโย้ไปโย้มา จึงต้องสร้าง Serif ขึ้นมาให้อยู่ในแนวเดียวกัน

2. ส่วนที่ไม่มี Serif เรียกว่า San Serif

2.1 Agate (ใช้เฉพาะงานหนังสือพิมพ์) 14 Agate = 1

2.2 EM = ขนาดของ Type ที่ใช้ประโยชน์ในการจัดช่องไฟ = 1EM ใช้ความสูง (x-Height) เป็นหลัก

2.3 EM = 12

ขนาด 5pt ขึ้นไปจะเห็นด้วยตัวเปล่า ในการวัดถ้าเกิน 5pt-96pt จะวัดเป็นนิ้วหรือเซนติเมตร ขนาดของตัวอักษร ถ้าเล็กกว่า 15 pt เรียกว่า Text Type ถ้าใหญ่เกินกว่า 15pt เรียกว่า

Display Type

การเปรียบเทียบลักษณะในการใช้ Type Face

1. Upper Case กับ Lower Case

Lower Case จะอ่านง่ายกว่า Upper Case และ Lower Case มีส่วนที่ยื่นออกมา (Assender และ Desender) จะเป็นตัวช่วยให้อ่านง่าย แต่ Upper Case ไม่มี Assender กับ Desender ทำให้อ่านได้ยากกว่า

2. Serif กับ San Serif ตัวอักษรที่มี Serif อ่านง่ายกว่าพวกที่ไม่มี San Serif เพราะ Serif เป็นตัวช่วยเสริมเส้นต่อตัวอักษรแต่ละตัว ทำให้ตัวอักษรอยู่ในแนวเดียวกัน ทำให้สะดวกต่อการอ่าน

3. Black On White กับ White On Black ตัวหนังสือดำบนพื้นขาว ให้ความรู้สึกเป็นธรรมชาติ ส่วนตัวหนังสือขาวบนพื้นดำ จะมีแสงสะท้อนเข้าตาได้น้อยทำให้อ่านได้ยากกว่า แต่มีความน่าสนใจกว่า เด่นกว่า พอใช้ได้กับข้อความที่ไม่ยาวนัก

4. Bold Face กับ light Face ตัวอักษรหนา Bold Face อ่านยากกว่า Light Face ตัวบาง เพราะอักษรตัวหนามีความหนาอ้วนของตัวอักษรทำให้อ่านยาก ดูหนากว่า ไม่มีรายละเอียดของตัวอักษรมากเหมือน Light Face

อารมณ์ความรู้สึกที่ได้รับจากการอ่านตัวอักษรคนละแบบ

ตัวอักษรแต่ละแบบจะให้อารมณ์ความรู้สึกในการอ่านแตกต่างกันออกไป การเลือกใช้ตัวอักษรจึงมีความสำคัญมากในการออกแบบสิ่งพิมพ์ เช่น ถ้าสินค้าเป็นผู้หญิง ใช้ตัวอักษรที่ นุ่มนวลอ่อนหวาน และอาศัยการจัดของผู้หญิง มาสร้างอารมณ์ให้กับงานโฆษณาของเรา การโฆษณาจะให้ผลสามารถดึงดูดสร้างอารมณ์กับผู้อ่าน กระตุ้นผู้อ่านให้เกิดการเลือกสินค้าหรือบริการได้ การใช้ความยาวของบรรทัดยาว ต้องการช่องว่างห่างมาก

Type Face ที่มีผลต่อการอ่าน

ในการใช้ตัวอักษร ควรคำนึงถึงความสะดวกในการอ่านเป็นสำคัญ ควรอ่านง่าย ไม่ ยุ่งยากมากนัก และไม่ทำให้คนอ่านเข้าใจความหมายผิด Type Face ที่เลือกควรมีความสบายในการอ่าน

ลักษณะของตัวอักษรที่มีผลต่อความรู้สึกในการอ่าน และเลือกประเภทของ Copy ที่ใช้ให้เหมาะสม ดังนี้

1. ให้ความรู้สึกเป็นผู้ชายเข้มแข็ง ควรเลือกใช้ตัวอักษรที่มี Serif และจัด Copy แบบเสมอหน้าปล่อยหลัง

2. ต้องการพลังงาน ความแข็งแกร่ง ควรเลือกตัวอักษร San Serif, และเป็นแบบ Bold ควรจัด Copy, แบบเสมอหน้าปล่อยหลัง

3. ต้องการให้ความรู้สึกเกิดเป็นผู้หญิง ควรเลือกตัวอักษรแบบ Light Face ทั้งหลายและควรเป็นอักษร Italic (ตัวเอียง) แบบ Light Face การจัด Copy จัดได้ 2 แบบ คือ แบบเสมอหน้า ปล่อยหลัง กับแบบเสมอหลัง หน้าปล่อย

4. ความรู้สึกตื่นเต้น สนุกสนาน ควรใช้ Type Face หลาย ๆ แบบผสมกัน การจัด Copy จัดแบบเสมอกลาง (Centered)

http://error1704.exteen.com/20080525/type

7 . เพราะเหตุใดในการบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ควรใช้คำศัพท์ทางทัศนศิลป์ประกอบลงไปด้วย

ตอบ เพื่อสื่อถึงศิลปะและบอกให้ผู้ฟังมีความเข้าใจในศิลปะได้อย่างลึกซึ้งยิ่งขึ้น

น.ส.ศุกร์ทัย แซ่เลี่ยง เลขที่32 ม.4

1.ทัศนธาตุหรือองค์ประกอบทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างไร

ตอบ มีความสำคัญต่อการวาดภาพทำให้ภาพที่วาดนั้นดูสวยงามและมีความเหมือนจริง แล้วมีความเหมาะสมต่อภาพที่วาด

ทัศนศิลป์ คือ กระบวนการถ่ายทอดผลงานทางศิลปะ การทำงานศิลปะอย่างมีจิตนาการความคิดสร้างสรรค์มีระบบระเบียบ

เป็นขั้นเป็นตอน การสร้างสรรค์งานอย่างมีประสิทธิภาพสวยงาม มีการปฏิบัติงานตามแผนและมีการพัฒนาผลงานให้ดีขึ้นต่อเนื่อง

http://www.thaigoodview.com/node/17307

“องค์ประกอบทัศนศิลป์” คือองค์ประกอบที่ประกอบด้วย จุด เส้น สี พื้นผิว ค่าน้ำหนักอ่อนแก่ (แสง-เงา) รูปร่าง รูปทรง และบริเวณว่าง

ประกอบด้วยองค์ประกอบสำคัญที่เป็นมูลฐาน 7 ประการคือ

1. จุด (Point,Dot) หมายถึง ส่วนประกอบที่เล็กที่สุด เป็นส่วนเริ่มต้นไปสู่ส่วนอื่นๆ

2. 2. เส้น (Line) หมายถึง จุดหลาย ๆ จุดที่เคลื่อนที่ต่อเนื่องไปในที่ว่างเปล่าจากทิศทางการเคลื่อนที่ต่าง ๆ กัน

3. 3. สี (Colour) หมายถึง ลักษณะของแสงสว่างที่ปรากฏแก่สายตาให้เห็นสีต่างกันสีเป็นสิ่งที่มีอิทธิพลต่อความรู้สึก เมื่อมองเห็น และทำให้เกิดอารมณ์ สะเทือนใจต่าง ๆ

4. พื้นผิว (Texture) หมายถึง คุณลักษณะต่าง ๆ ของผิวด้านหน้าของวัตถุทุกชนิดที่มีลักษณะต่าง ๆ กันเช่นเรียบ ขรุขระ เป็นมันวาว ด้าน เป็นต้น

5. รูปร่าง (Shape) หมายถึง การบรรจบกันของเส้นที่เป็นขอบเขตของวัตถุที่มองเห็นเป็น 2 มิติ คือ มีความกว้างและความยาว 2 ด้านเท่านั้น

รูปทรง (form) หมายถึงรูปลักษณะที่มองเห็นเป็น 3 มิติ คือ มีความกว้างความยาวและความหนาลึก

4. ค่าน้ำหนัก (value) หมายถึง ค่าความอ่อนเข้มของสีที่เกิดจากของสีที่เกิดจากแสงและเงา

5. 7. ช่องว่าง(space) หมายถึง บริเวณที่ว่างเปล่าที่เรียกกันว่า "ช่องไฟ"

ทัศนธาตุเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าองค์ประกอบทัศนศิลป์ หมายถึง สิ่งที่เป็นส่วน

ประกอบสำคัญต่าง ๆ ในงานทัศนศิลป์ ได้แก่ เส้น สี พื้นผิว แสงเงาและช่องว่าง การวาดภาพที่ดี การนำส่วนประกอบสำคัญต่าง ๆ เหล่านี้มาจัดให้เกิดความสมดุลและเกิดความงาม ซึ่งจะทำให้เป็นภาพที่สมบูรณ์ได้ เรียกว่าการจัดทัศนธาตุหรือการจัดองค์ประกอบของทัศนศิลป์

การจัดองค์ประกอบทัศนศิลป์ เป็นหลักสำคัญสำหรับผู้สร้างสรรค์ และผู้ศึกษางานศิลปะ เนื่องจากผลงานศิลปะใด ๆ ก็ตาม ล้วนมีคุณค่าอยู่ 2 ประการ คือ คุณค่าทางด้านรูปทรงและคุณค่าทางด้านเรื่องราว

องค์ประกอบศิลป์ (Art composition)

การจัดองค์ประกอบของศิลป์ มีหลักที่ควรคำนึงอยู่ 4 ประการ คือ

1. ความสมดุล (Balance)

2. ส่วน (Proportion)

3. จุดสนใจ (Emphasis)

4. เอกภาพ (Unity)

1. ความสมดุล (Balance)

ความสมดุลหรือดุลยภาพ หมายถึง น้ำหนักที่เท่ากันขององค์ประกอบ ไม่เอนเอียงไปข้างใดข้างหนึ่ง

2. ส่วน (Proportion)

ส่วน หมายถึง ความสัมพันธ์กันอย่างเหมาะสมขององค์ประกอบส่วนจัดเป็นประเภทต่าง ๆ ได้อีก เช่น

1) ส่วนการจัดวางภาพ

2) ส่วนขนาดของภาพ

- 3) ส่วนของสี

- รูปหรือภาพสีแก่ พื้นต้องสีอ่อน

- รูปหรือภาพสีอ่อน พื้นต้องสีแก่

- รูปหรือภาพและพื้นมีสีเท่ากันแต่จะต้องมีค่าน้ำหนักของสีต่างกัน

3. จุดสนใจ (Emphasis)

จุดสนใจ หมายถึง การกระทำให้เด่นเป็นพิเศษกว่าธรรมดา

4. เอกภาพ (Unity)

เอกภาพ หมายถึง การจัดองค์ประกอบที่อยู่ในภาพให้มีลักษณะเป็นกลุ่ม ไม่ให้กระจัดกระจาย

http://dek-d.com/board/view.php?id=1048341

2. การพิจารณผลงานชิ้นหนึ่งว่ามีความงามหรือไม่นั้นต้องพิจารณาจากอะไร

ตอบ -ลายมือการเขียน ความคิดสร้างสรรค์ การลงสีหรือลวดลาย การจัดวางเนื้อหา

3. เส้นในแต่ละลักษณะให้ความรู้สึกต่อการมองเห็นแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ เส้นเป็นองค์ประกอบที่สำคัญส่วนหนึ่งของศิลปภาพถ่าย เส้นสายในภาพถ่ายนอกจากจะเป็นเส้นนำสายตาผู้ชมภาพไปสู่จุดสนใจแล้ว เส้นเหล่านั้นยังให้ความรู้สึกและความหมายของภาพแตกต่างกัน บางเส้นให้อารมณ์รุนแรง ตื่นเต้น ในขณะเดียวกัน บางเส้นก็ให้ความรู้สึกเงียบสงบ อ่อนโยน

เส้นตั้งตรง เหมือนคนยืน เหมือนต้นเสา ต้นไม้ เป็นสัญลักษณ์ของความมั่นคง เคร่งขรึม เอาจริงเอาจัง

เส้นตรงแนวนอน เป็นลักษณะของคนนอน ต้นไม้ล้ม หรือเส้นขอบฟ้า แสดงถึงอารมณ์ที่ราบเรียบ ผ่อนคลาย สงบเงียบ

เส้นทะแยงมุม เหมือนกับต้นไม้ใบหญ้าที่โอนเอนเมื่อถูกลมพัด ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหวที่รุนแรง และความมีชีวิตชีวา

เส้นโค้งคดเคี้ยว ที่ต่อเนื่องอย่างนุ่มนวล เป็นความสนุกสนาน ความกลมกลืน และความเป็นหนุ่มเป็นสาว

เส้นที่แตกเป็นแฉกแหลมๆ เหมือนเส้นสายฟ้า เป็นสัญลักษณ์ของความโกรธ ความตื่นเต้นระทึกใจ

เส้นที่ตั้งขึ้นแล้วโค้งลงเหมือนไม้เลื้อย ให้อารมณ์หม่นหมอง เศร้าสลด เช่นเดียวกับคนก้มหน้าร้องไห้

http://www.bpsthai.org/BPS_Links/PhotoTechnic_L/Manosarae_L/Mano_L15.html

4 . นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับข้อความที่ว่า สีเป็นองค์ประกอบทัศนศิลป์ที่สำคัญที่สุดในงานจิตกรรม

ตอบ เห็นด้วย สีเป็นสิ่งสำคัญในการเพิ่มลวดลายในภาพที่วาด

5 . หลักการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง

ตอบ การออกแบบมีหลักการพื้นฐาน โดยอาศัยส่วนประกอบขององค์ประกอบศิลป์ตามที่ได้กล่าวมาแล้วในบทเรียนเรื่อง “ องค์ประกอบศิลป์ ” คือ จุด เส้น รูปร่าง รูปทรง น้ำหนัก สี และพื้นผิว นำมาจัดวางเพื่อให้เกิดความสวยงาม โดยมีหลักการ ดังนี้

1. ความเป็นหน่วย (Unity)

ในการออกแบบ ผู้ออกแบบจะต้องคำนึงถึงงานทั้งหมดให้อยู่ในหน่วยงานเดียวกัน เป็นกลุ่มก้อน หรือมีความ สัมพันธ์กัน ทั้งหมดของงานนั้นๆ และพิจารณาส่วนย่อยลงไปตามลำดับ ในส่วนย่อยๆก็คงต้องถือหลักนี้เช่นกัน

2. ความสมดุลหรือความถ่วง (Balancing)

เป็นหลักทั่วๆไปของงานศิลปะที่จะต้องดูความสมดุลของงานนั้นๆ ความรู้สึกทางสมดุลของงานนี้ เป็นความรู้สึก ที่เกิดขึ้นในส่วนของความคิดในเรื่องของความงามในสิ่งนั้นๆ มีหลักความสมดุลอยู่ 3 ประการ

2.1 ความสมดุลในลักษณะเท่ากัน (Symmetry Balancing)

คือมีลักษณะเป็นซ้าย-ขวา บน-ล่าง เป็นต้น ความสมดุลในลักษณะนี้ดูและเข้าใจง่าย

2.2 ความสมดุลในลักษณะไม่เท่ากัน (Non-symmetry Balancing) คือมีลักษณะสมดุลกันในตัวเองไม่จำเป็นจะต้องเท่ากัน แต่ดูในด้านความรู้สึกแล้วเกิดความสมดุลกันในตัว ลักษณะการสมดุลแบบนี้ผู้ออกแบบจะต้องมีการประลองดูให้แน่ใจในความรู้สึกของผู้พบเห็นด้วย ซึ่งเป็น ความสมดุลที่เกิดในลักษณะที่แตกต่างกันได้ เช่น ใช้ความสมดุลด้วยผิว (Texture) ด้วยแสง-เงา (Shade) หรือด้วยสี (Colour)

2.3 จุดศูนย์ถ่วง (Gravity Balance) การออกแบบใดๆที่เป็นวัตถุสิ่งของและจะต้องใช้งานการทรงตัวจำเป็นที่ผู้ออกแบบจะต้องคำนึงถึงจุดศูนย์ถ่วง ได้แก่ การไม่โยกเอียง หรือให้ความรู้สึกไม่มั่นคงแข็งแรง ดังนั้นสิ่งใดที่ต้องการจุศูนย์ถ่วงแล้ว ผู้ออกแบบ จะต้อง ระมัดระวังในสิ่งนี้ให้มาก ตัวอย่างเช่น เก้าอี้จะต้องตั้งตรง ยึดมั่นทั้งสี่ขาเท่าๆกัน การทรงตัวของ คน ถ้ายืน 2 ขา ก็จะต้องมีน้ำหนักลงที่เท้าทั้ง 2 ข้างเท่าๆกัน ถ้ายืนเอียงหรือพิงฝา น้ำหนักตัวก็จะลงเท้าข้างหนึ่ง และ ส่วนหนึ่งจะลงที่หลังพิงฝา รูปปั้นคนในท่าวิ่ง จุดศูนย์ถ่วงจะอยู่ที่ใด ผู้ออกแบบจะต้องรู้และวางรูป ได้ถูกต้อง เรื่อง ของจุดศูนย์ถ่วง จึงหมายถึงการทรงตัวของวัตถุสิ่งของนั่นเอง

3. ความสัมพันธ์ทางศิลปะ ( Relativity of Arts)

ในเรื่องของศิลปะนั้น เป็นสิ่งที่จะต้องพิจารณากันหลายขั้นตอน เพราะเป็นเรื่องความรู้สึกที่สัมพันธ์กัน อันได้แก่

3.1 การเน้นหรือจุดสนใจ ( Emphasis or Centre of Interest) งานด้านศิลปะผู้ออกแบบจะต้องมีจุดเน้นให้เกิดสิ่งที่ประทับใจแก่ผู้พบเห็น โดยมีข้อบอกกล่าว เป็นความรู้สึกร่วม ที่เกิดขึ้นเองจากตัวของศิลปกรรมนั้นๆ ความรู้สึกนี้ผู้ออกแบบจะต้องพยายามให้เกิดขึ้นเหมือนกัน

3.2 จุดสำคัญรอง ( Subordinate)

คงคล้ายกับจุดเน้นนั่นเอง แต่มีความสำคัญรองลงไปตามลำดับ ซึ่ง อาจจะเป็นรองส่วนที่ 1 ส่วนที่ 2 ก็ได้ ส่วนนี้จะช่วยให้เกิดความลดหลั่นทางผลงานที่แสดง ผู้ออกแบบจะต้อง คำนึงถึงสิ่งนี้ด้วย

3.3 จังหวะ ( Rhythem)

โดยทั่วๆไปสิ่งที่สัมพันธ์กันในสิ่งนั้นๆย่อมมีจังหวะ ระยะหรือความถี่ห่างในตัวมันเองก็ดี หรือสิ่งแวดล้อม ที่ สัมพันธ์ อยู่ก็ดี จะเป็นเส้น สี เงา หรือช่วงจังหวะของการตกแต่ง แสงไฟ ลวดลาย ที่มีความสัมพันธ์กัน ในที่นั้น เป็นความรู้สึกของผู้พบเห็นหรือผู้ออกแบบจะรู้สึกในความงามนั่นเอง

3.4 ความต่างกัน ( Contrast)

เป็นความรู้สึกที่เกิดขึ้นเพื่อช่วยให้มีการเคลื่อนไหวไม่ซ้ำซากเกินไป หรือเกิดความเบื่อหน่าย จำเจ ในการ ตกแต่ง ก็เช่นกัน ปัจจุบันผู้ออกแบบมักจะหาทางให้เกิดความรู้สึกขัดกันต่างกัน เช่น เก้าอี้ชุดสมัยใหม่ แต่ขณะ เดียวกันก็มีเก้าอี้สมัยรัชกาลที่ 5 อยู่ด้วย 1 ตัว เช่นนี้ผู้พบเห็นจะเกิดความรู้สึกแตกต่างกัน ทำให้เกิดความรู้สึก ไม่ซ้ำซาก รสชาติแตกต่างออกไป

3.5 ความกลมกลืน ( Harmomies) ความกลมกลืนในที่นี้หมายถึงพิจารณาในส่วนรวมทั้งหมดแม้จะมีบางอย่างที่แตกต่างกัน การใช้สีที่ตัดกัน หรือ การใช้ผิว ใช้เส้นที่ขัดกัน ความรู้สึกส่วนน้อยนี้ไม่ทำให้ส่วนรวมเสียก็ถือว่าเกิดความกลมกลืนกันในส่วนรวม ความกลมกลืนในส่วนรวมนี้ถ้าจะแยกก็ได้แก่ความเน้นไปในส่วนมูลฐานทางศิลปะอันได้แก่ เส้น แสง-เงา รูปทรง ขนาด ผิว สี นั่นเอง

ความสำคัญของการออกแบบถ้าการออกแบบสามารถแก้ไขปัญหาของเราได้ การออกแบบจึงมีความสำคัญ และคุณค่าต่อการดำรงชีวิตของเรา ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ และทัศนคติ กล่าวคือ

มีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิตของเรา เช่น

1. การวางแผนการการทำงาน งานออกแบบจะช่วยให้การทำงานเป็นไปตาม ขั้นตอน อย่างเหมาะสม และประหยัดเวลา ดังนั้นอาจถือว่าการออกแบบ คือ การวาง แผนการทำงานที่ดี

2. การนำเสนอผลงาน ผลงานออกแบบจะช่วยให้ผู้เกี่ยวข้องมีความเข้าใจ ตรงกันอย่างชัดเจน ดังนั้น ความสำคัญในด้านนี้ คือ เป็นสื่อความหมายเพื่อความเข้าใจ ระหว่างกัน

3. สามารถอธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับงาน งานบางประเภท อาจมีรายละเอียดมากมาย ซับซ้อน ผลงานออกแบบ จะช่วยให้ผู้เกี่ยวข้อง และผู้พบเห็นมีความเข้าใจที่ชัดเจนขึ้น หรืออาจกล่าวได้ว่า ผลงานออกแบบ คือ ตัวแทนความคิดของผู้ออกแบบได้ทั้งหมด

4. แบบ จะมีความสำคัญมาก ถ้าผู้ออกแบบกับผู้สร้างงานหรือผู้ผลิต เป็นคนละคนกัน เช่น สถาปนิกกับช่างก่อสร้าง นักออกแบบกับผู้ผลิตในโรงงาน หรือถ้าจะเปรียบไปแล้ว นักออกแบบก็เหมือนกับคนเขียนบทละครนั่นเอง

มีคุณค่าต่อวิถีชีวิตของเรา คือ

1. คุณค่าทางกาย

คุณค่าของงานออกแบบที่มีผลทางด้านร่างกาย คือคุณค่าที่มีประโยชน์ใช้สอยในชีวิตประจำวันโดยตรง เช่น ไถมีไว้สำหรับไถนา แก้วมีไว้สำหรับใส่น้ำ ยานพาหนะมีไว้สำหรับเดินทาง บ้านมีไว้สำหรับอยู่อาศัย เป็นต้น

2. คุณค่าทางอารมณ์ความรู้สึก

คุณค่าของงานออกแบบที่มีผลทางอารมณ์ความรู้สึกเป็นคุณค่าที่เน้นความชื่นชอบ พึงพอใจ สุขสบายใจ หรือ ความรู้สึกนึกคิดด้านอื่น ๆ ไม่มีผลทางประโยชน์ใช้สอยโดยตรง เช่น งานออกแบบทางทัศนศิลป์ การออกแบบ ตกแต่ง ใบหน้าคุณค่าทางอารมณ์ความรู้สึกนี้ อาจจะเป็นการออกแบบ เคลือบแฝงในงานออกแบบ ที่ม ีประโยชน์ทางกายก็ได้ เช่น การออกแบบตกแต่งบ้าน ออกแบบตกแต่งสนามหญ้า ออกแบบตกแต่งร่างกายเป็นต้น

3. คุณค่าทางทัศนคติ

คุณค่าของงานออกแบบที่มีผลทางทัศนคติ เน้นการสร้างทัศนคติอย่างใดอย่างหนึ่งต่อผู้พบเห็น เช่น อนุสาวรีย์สร้างทัศนคติให้รักชาติ กล้าหาญ หรือทำความดี งานจิตรกรรมหรือประติมากรรมบางรูปแบบ อาจจะ แสดงความกดขี่ขูดรีด เพื่อเน้นการระลึกถึงทัศนคติที่ดีและถูกควรในสังคม เป็นต้น

http://aom123.myfri3nd.com/blog/2008/10/30/entry-1

6 .การใช้ตัวอักษรและภาพประกอบในงานสิ่งพิมพ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจน ควรมีลักษณะอย่างไร

ตอบ ตัวอักษร

ความแตกต่างของตัวอักษร (Type Face)

Type Face ของตัวอักษรแบบพื้นฐาน มีอยู่ 5 แบบ คือ

1.ตัวอักษรแบบตัวบาง (Light Face) มีความหมายของตัวอักษรน้อยที่สุดในจำนวน 5 แบบ

2.ตัวอักษรที่มีเส้นน้ำหนักหนา (Bold Face)

3.ตัวอักษรที่เหมาะกับงานที่มีเนื้อที่จำกัด (Condenced) เพราะมีขนาดความกว้างแคบ

4.ตัวอักษรที่มีลักษณะเตี้ย แต่มีความกว้างมาก (Extended)

5.ตัวอักษรที่มีลักษณะตัวเอียง (Italic , Obligne)

นอกจากนี้ยังมีแบบของตัวอักษรอีกหลายร้อยแบบ แต่ละแบบอยู่ในลักษณะ 5 แบบ ที่กล่าวมาแล้วข้างต้นทั้งสิ้น เช่นแบบ Universe Bold - Face แบบ Universe Light - Face เป็นต้น Type Face อีกแบบหนึ่งก็คือ ltalicเป็นแบบตัวอักษรที่มีลักษณะเอนตัวไปทางขวา

สิ่งที่ต้องคำนึงถึงในการใช้ตัวอักษร

1. ช่องไฟ (World Spacing) เนื้อที่ว่างระหว่างคำ มีความสำคัญมากต่อการอ่าน ถ้าหากช่องไฟมีเนื้อที่มากหรือน้อยเกินไปจะทำให้ข้อความนั้นไม่สวยหรืออ่านยาก แต่ในบางครั้งการออกแบบก็สามารถใช้ช่องไฟห่าง ๆ ในการออกแบบ

การจัดช่องไฟของตัวอักษรในภาษาต่าง ๆ มักมี 3 ลักษณะ คือ

1.ระยะระหว่างตัวอักษร ควรมีระยะพอเหมาะไม่เบียดหรือชิดเกินไป

2.ระยะระหว่างคำ ในภาษาไทยอาจมีใช้น้อย แต่ในภาษาอังกฤษจำเป็น อยู่ห่างกันจะเกิดช่องสีขาว

3.ระยะระหว่างบรรทัด ส่วนใหญ่เรียกว่า Leading

การจัดช่องไฟตัวอักษรนี้ เป็นข้อควรคำนึงที่นักออกแบบต้องทราบเป็นอย่างดี เพราะการจัดช่องไฟของตัวอักษรจะต้องมีความสัมพันธ์กับขนาดรูปเล่ม จำนวนหน้า การจัดแบ่งคอลัมน์และรูปแบบ

2. ความห่างระหว่างบรรทัด (Leading) ขึ้นอยู่กับของตัวหนังสือ และความยาวของข้อความ การนำตัวอักษรแต่ละตัวหรือแต่ละคำมาเรียงกันเป็นบรรทัด อาจทำให้หลายแบบ ดังนี้

-เสมอหน้า ตัวอักษรจะเรียงชิดเส้นขอบหน้า ส่วนปลายบรรทัดด้านขวาจะขาดหรือเกินก็ได้

-เสมอหลัง ตัวอักษรเรียงชิดขอบด้านหลัง ส่วนปลายบรรทัดด้านซ้ายจะขาดหรือเกินก็ได้

-วางไม่สมดุล จะเรียงบรรทัดไหนอย่างไรก็ได้ แต่เมื่อดูรวม ๆ กันแล้ว ต้องให้เกิดความสมดุล

-วางรอบภาพประกอบ เป็นการจัดตัวอักษรรวมกับภาพประกอบวางในทิศทาง ต่าง ๆ เช่น วางเอียง วางทแยง วางเป็นเส้นตรง

การใช้ตัวอักษรในงานสิ่งพิมพ์โฆษณา (Design With Type)

การเลือกใช้ตัวอักษรมีความสำคัญมากในงานโฆษณา เป็นส่วนที่เกี่ยวข้องในการออกแบบโฆษณาและเกี่ยวข้องกับทุก ๆ องค์ประกอบ สิ่งที่ควรคำนึงถึงในการโฆษณาเกี่ยวกับตัวอักษรก็คือ ขนาดของตัวอักษร ซึ่งในที่นี้กล่าวถึงตัวอักษรภาษาอังกฤษเป็นส่วนใหญ่ ในงานโฆษณานั้นตัวอักษรภาษาอังกฤษแบ่งออกเป็น 2 ตัวอักษร พวกใหญ่ ๆ คือ

1. Upper Case ได้แก่ ตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวใหญ่ เช่น A, B, C, ฯลฯ

2. Lower Case ได้แก่ ตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวเล็ก a, b, c, d ฯลฯ

นอกจากนี้ ตัวอักษรภาษาอังกฤษยังมีลักษณะแตกต่างกันอยู่อีก คือ

1. ลักษณะพวกที่มี Serif คือ ขีดส่วนบนและล่างของ Upper case ซึ่งเกิดในสมัยโรมัน เพราะการจารึกในสมัยนั้นตัวโย้ไปโย้มา จึงต้องสร้าง Serif ขึ้นมาให้อยู่ในแนวเดียวกัน

2. ส่วนที่ไม่มี Serif เรียกว่า San Serif

2.1 Agate (ใช้เฉพาะงานหนังสือพิมพ์) 14 Agate = 1

2.2 EM = ขนาดของ Type ที่ใช้ประโยชน์ในการจัดช่องไฟ = 1EM ใช้ความสูง (x-Height) เป็นหลัก

2.3 EM = 12

ขนาด 5pt ขึ้นไปจะเห็นด้วยตัวเปล่า ในการวัดถ้าเกิน 5pt-96pt จะวัดเป็นนิ้วหรือเซนติเมตร ขนาดของตัวอักษร ถ้าเล็กกว่า 15 pt เรียกว่า Text Type ถ้าใหญ่เกินกว่า 15pt เรียกว่า

Display Type

การเปรียบเทียบลักษณะในการใช้ Type Face

1. Upper Case กับ Lower Case

Lower Case จะอ่านง่ายกว่า Upper Case และ Lower Case มีส่วนที่ยื่นออกมา (Assender และ Desender) จะเป็นตัวช่วยให้อ่านง่าย แต่ Upper Case ไม่มี Assender กับ Desender ทำให้อ่านได้ยากกว่า

2. Serif กับ San Serif ตัวอักษรที่มี Serif อ่านง่ายกว่าพวกที่ไม่มี San Serif เพราะ Serif เป็นตัวช่วยเสริมเส้นต่อตัวอักษรแต่ละตัว ทำให้ตัวอักษรอยู่ในแนวเดียวกัน ทำให้สะดวกต่อการอ่าน

3. Black On White กับ White On Black ตัวหนังสือดำบนพื้นขาว ให้ความรู้สึกเป็นธรรมชาติ ส่วนตัวหนังสือขาวบนพื้นดำ จะมีแสงสะท้อนเข้าตาได้น้อยทำให้อ่านได้ยากกว่า แต่มีความน่าสนใจกว่า เด่นกว่า พอใช้ได้กับข้อความที่ไม่ยาวนัก

4. Bold Face กับ light Face ตัวอักษรหนา Bold Face อ่านยากกว่า Light Face ตัวบาง เพราะอักษรตัวหนามีความหนาอ้วนของตัวอักษรทำให้อ่านยาก ดูหนากว่า ไม่มีรายละเอียดของตัวอักษรมากเหมือน Light Face

อารมณ์ความรู้สึกที่ได้รับจากการอ่านตัวอักษรคนละแบบ

ตัวอักษรแต่ละแบบจะให้อารมณ์ความรู้สึกในการอ่านแตกต่างกันออกไป การเลือกใช้ตัวอักษรจึงมีความสำคัญมากในการออกแบบสิ่งพิมพ์ เช่น ถ้าสินค้าเป็นผู้หญิง ใช้ตัวอักษรที่ นุ่มนวลอ่อนหวาน และอาศัยการจัดของผู้หญิง มาสร้างอารมณ์ให้กับงานโฆษณาของเรา การโฆษณาจะให้ผลสามารถดึงดูดสร้างอารมณ์กับผู้อ่าน กระตุ้นผู้อ่านให้เกิดการเลือกสินค้าหรือบริการได้ การใช้ความยาวของบรรทัดยาว ต้องการช่องว่างห่างมาก

Type Face ที่มีผลต่อการอ่าน

ในการใช้ตัวอักษร ควรคำนึงถึงความสะดวกในการอ่านเป็นสำคัญ ควรอ่านง่าย ไม่ ยุ่งยากมากนัก และไม่ทำให้คนอ่านเข้าใจความหมายผิด Type Face ที่เลือกควรมีความสบายในการอ่าน

ลักษณะของตัวอักษรที่มีผลต่อความรู้สึกในการอ่าน และเลือกประเภทของ Copy ที่ใช้ให้เหมาะสม ดังนี้

1. ให้ความรู้สึกเป็นผู้ชายเข้มแข็ง ควรเลือกใช้ตัวอักษรที่มี Serif และจัด Copy แบบเสมอหน้าปล่อยหลัง

2. ต้องการพลังงาน ความแข็งแกร่ง ควรเลือกตัวอักษร San Serif, และเป็นแบบ Bold ควรจัด Copy, แบบเสมอหน้าปล่อยหลัง

3. ต้องการให้ความรู้สึกเกิดเป็นผู้หญิง ควรเลือกตัวอักษรแบบ Light Face ทั้งหลายและควรเป็นอักษร Italic (ตัวเอียง) แบบ Light Face การจัด Copy จัดได้ 2 แบบ คือ แบบเสมอหน้า ปล่อยหลัง กับแบบเสมอหลัง หน้าปล่อย

4. ความรู้สึกตื่นเต้น สนุกสนาน ควรใช้ Type Face หลาย ๆ แบบผสมกัน การจัด Copy จัดแบบเสมอกลาง (Centered)

http://error1704.exteen.com/20080525/type

7 . เพราะเหตุใดในการบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ควรใช้คำศัพท์ทางทัศนศิลป์ประกอบลงไปด้วย

ตอบ เพื่อสื่อถึงศิลปะและบอกให้ผู้ฟังมีความเข้าใจในศิลปะได้อย่างลึกซึ้งยิ่งขึ้น

น.ส. นรารัตน์ แซ่เยี่ยน ม.4/1 เลขที่ 18

1 ทัศนธาตุหรือองค์ประกอบทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างไร

ตอบ ทัศนศิลป์ คือ กระบวนการถ่ายทอดผลงานทางศิลปะ การทำงานศิลปะอย่างมีจิตนาการความคิดสร้างสรรค์มีระบบระเบียบ

เป็นขั้นเป็นตอน การสร้างสรรค์งานอย่างมีประสิทธิภาพสวยงาม มีการปฏิบัติงานตามแผนและมีการพัฒนาผลงานให้ดีขึ้นต่อเนื่อง

ทัศนศิลป์คือการรับรู้ทางจักษุประสาท โดยการมองเห็น สสาร วัตถุ และสรรพสิ่งต่าง ๆ ที่เข้ามากระทบ รวมถึงมนุษย์ และสัตว์ จะด้วยการหยุดนิ่ง หรือเครื่อนไหวก็ตาม หรือจะด้วยการปรุงแต่ง หรือไม่ปรุงแต่งก็ตาม ก่อให้เกิดปัจจัยสมมุติต่อจิตใจ และอารมณ์

ของมนุษย์ อาจจะป็นไปในทางเดียวกันหรือไม่ก็ตาม

ทัศนศิลป์เป็นการแปลความหมายทางศิลปะ ที่แตกต่างกันไปแต่ละมุมมอง ของแต่ละบุคคล ในงานศิลปะชิ้นเดียวกัน

ซึ่งไร้ขอบเขตทางจินตนาการ ไม่มีกรอบที่แน่นอน ขึ้นกับอารมณ์ของบุคคลในขณะนั้น

ทัศนศิลป์ เป็นส่วนหนึ่งของวิจิตรศิลป์ ซึ่งเป็นศิลปะที่เน้นคุณค่าทางด้านจิตใจและอารมณ์เป็นสำคัญ

ทัศนศิลป์ มีความหมายตรงกับภาษาอังกฤษว่า Visual Art หมายถึง ศิลปะที่มองเห็น หรือศิลปะที่สามารถสัมผัส รับรู้

ชื่นชมด้วยประสาทตา สัมผัสจับต้องได้ และกินเนื้อที่ในอากาศ

ทัศนศิลป์ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ จิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปัตยกรรม ตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์จนถึงสมัยปัจจุบัน เราพบเห็นความสามารถในผลงานของมนุษย์ ทั้งด้านความคิด ฝีมือ ที่ได้พยายาม

จินตนาการ คิดค้น เพื่อสนองความต้องการในการดำรงชีวิตประจำวัน ให้ทั้งประโยชน์ใช้สอย และสิ่งสวยงามประณีต เพื่อจรรโลง

ด้านจิตใจ ความเชื่อ ความศรัทธา ไว้ประดับโลก นอกจากนี้ยังต้องการให้ผู้พบเห็นเกิดความรู้สึกรับรู้ คล้อยตามชื่นชมไปด้วย

http://www.thaigoodview.com/node/17307

2 การพิจารณผลงานชิ้นหนึ่งว่ามีความงามหรือไม่นั้นต้องพิจารณาจากอะไร

ตอบ พิจารณาจากสีสันความสมดุลความชัดของเส้นแสงเงาและจุดเด่นจุดสำคัญของภาพ เทคนิคพิเศษ

ความคิดสร้างสรรค์

3 เส้นในแต่ละลักษณะให้ความรู้สึกต่อการมองเห็นแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ

1. เส้นตั้ง หรือ เส้นดิ่ง ให้ความรู้สึกทางความสูง สง่า มั่นคง แข็งแรง หนักแน่น เป็นสัญลักษณ์ของความซื่อตรง

2. เส้นนอน ให้ความรู้สึกทางความกว้าง สงบ ราบเรียบ นิ่ง ผ่อนคลาย

3. เส้นเฉียง หรือ เส้นทะแยงมุม ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหว รวดเร็ว ไม่มั่นคง

4. เส้นหยัก หรือ เส้นซิกแซก แบบฟันปลา ให้ความรู้สึก คลื่อนไหว อย่างเป็น จังหวะ มีระเบียบ ไม่ราบเรียบ น่ากลัว อันตราย ขัดแย้ง ความรุนแรง

5. เส้นโค้ง แบบคลื่น ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหวอย่างช้า ๆ ลื่นไหล ต่อเนื่อง สุภาพ อ่อนโยน นุ่มนวล

6. เส้นโค้งแบบก้นหอย ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว คลี่คลาย หรือเติบโตในทิศทางที่ หมุนวนออกมา ถ้ามองเข้าไปจะเห็นพลังความเคลื่อนไหวที่ไม่สิ้นสุด

7. เส้นโค้งวงแคบ ให้ความรู้สึกถึงพลังความเคลื่อนไหวที่รุนแรง การเปลี่ยนทิศทาง ที่รวดเร็ว ไม่หยุดนิ่ง

8. เส้นประ ให้ความรู้สึกที่ไม่ต่อเนื่อง ขาด หาย ไม่ชัดเจน ทำให้เกิดความเครียด

http://www.mew6.com/composer/art/line.php

4 นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับข้อความที่ว่า สีเป็นองค์ประกอบทัศนศิลป์ที่สำคัญที่สุดในงานจิตกรรม

ตอบ เห็นด้วย เพราะ

1 ใช้ในการจำแนกสิ่งต่าง ๆ เพื่อให้เห็นชัดเจน

2 ใช้ในการจัดองค์ประกอบของสิ่งต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความสวยงาม กลมกลืน เช่น การแต่งกาย การจัดตกแต่งบ้าน

3 ใช้ในการจัดกลุ่ม พวก คณะ ด้วยการใช้สีต่าง ๆ เช่น คณะสี เครื่องแบบต่าง ๆ

4 ใช้ในการสื่อความหมาย เป็นสัญลักษณ์ หรือใช้บอกเล่าเรื่องราว

5 ใช้ในการสร้างสรรค์งานศิลปะ เพื่อให้เกิดความสวยงาม สร้างบรรยากาศ สมจริงและน่าสนใจ

6 เป็นองค์ประกอบในการมองเห็นสิ่งต่าง ๆ ของมนุษย์

http://www.prc.ac.th/newart/webart/colour03.html5 หลักการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง

5 หลักการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง

ตอบ การออกแบบโดยทั่วๆ ไปจะต้องคำนึงถึงความสำคัญสองอย่างในงานเดียวกัน ซึ่งได้แก่ รูปแบบ (form) และประโยชน์ (function) ของงานนั้นๆ รูปแบบและประโยชน์จะต้องมีความสัมพันธ์กันเป็นอย่างดี จึงจะทำให้งานออกแบบนั้นมีคุณภาพ

รูปแบบในงานออกแบบอบางอย่าง มีเนื้อหาสาระที่สามารถสื่ออกมาให้เห็นได้ เช่น สภาพทางธรรมชาติ พฤติกรรมของคน สัตว์ ตลอดจนข้อความต่างๆ ที่แสดงเนื้อหาในงานนั้นๆ งานออกแบบที่เนื้อหา มักจะเป็นงานออกแบบสิ่งพิมพ์ งานออกแบบโฆษณา หรืองานออกแบบทัศนศิลป์ รูปแบบแสดง เนื้อหา สามารถจำแนกออกได้ดังนี้

1. รูปแบบแสดงตัวตน (representational form) หมายถึง รูปแบบที่แสดงสภาพแวดล้อม หรือรูปแบบที่บันทึกภาพสิ่งแวดล้อม เช่น ภาพถ่าย ภาพยนตร์ ส่วนใหญ่จะบันทึกภาพสิ่งแวดล้อมในลักษณะเหมือนจริง ส่วนการออกแบบรูปเขียน รูปปั้น รูปสลัก และเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ สามารถบันทึกสิ่งแวดล้อมในลักษณะเหมือนจริง และยังบันทึกสิ่งแวดล้อมในลักษณะสร้างสรรค์ โดยใช้สิ่งแวดล้อมเป็นสื่อดลใจได้อีกด้วย สิ่งแวดล้อมในทีนี้หมายถึงธรรมชาติและสิ่งต่างๆ ที่มนุษย์ได้สร้างสรรค์ขึ้น เช่น อาคาร ยานพาหนะ สิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ (วิรุณ ตั้งเจริญ. 2527 : 76)

2. รูปแบบสัญลักษณ์ (symbolic form) หมายถึง รูปแบบที่เป็นสื่อให้เข้าใจ ความหมายร่วมกันได้ อาจจะสื่อให้เข้าใจได้เฉพาะกลุ่มเล็กๆ หรืออาจจะสื่อให้เข้าใจกันได้ในระดับสากล ตัวอย่างสื่อเฉพาะกลุ่ม เช่น รูปพานรัฐธรรมนูญ เป็นสัญลักษณ์เกี่ยวกับประชาธิปไตย สำหรับประชาชนเฉพาะในประเทศไทย ส่วนสัญลักษณ์ที่สื่อได้ทั่วโลกเป็นสากล เช่น รูปห้าห่วงคล้องเข้าด้วยกัน เป็นสัญลักษณ์ของกีฬาโอลิมปิค สัญลักษณ์ของการจราจร เช่น รูปห่วงวงกลมและมีเส้นผ่าศูนย์กลางในแนวเฉียง หมายถึงป้ายห้ามจอด รูปกากบาท หมายถึงโรงพยาบาล สัญลักษณ์เหล่านี้จะเข้าใจกันได้ทุกชาติทุกภาษา (ศาตรพันธ์. 2530 : 175)

ในการทำความเข้าใจความหมายของสัญลักษณ์ จำเป็นจะต้องมีประสบการณ์ร่วมกัน โดยมีการเรียนรู้ในสัญลักษณ์นั้นๆ จึงจะสามารถเข้าใจความหมายร่วมกันได้เป็นอย่างดี สัญลักษณ์ที่ใช้แสดงออกมีได้ทั้งที่เป็น รูป สี และเสียง (วิรุณ ตั้งเจริญ. 2527 : 77)

3. รูปแบบนามธรรม (abstract form) หมายถึง รูปแบบที่ตัดทอนดัดแปลงมาจากรูปแบบสิ่งแวดล้อมต่างๆ ซึ่งจะมีลักษณะผิดแปลกไปจากรูปแบบตามความเป็นจริง แต่อาจจะสะท้อนเพียงความรู้สึกอย่างใดอย่างหนึ่งที่ประทับใจออกมา (ดูภาพ 3.3 – 3.5) เช่น ความสวยงาม ความน่าเกลียด ความเคลื่อนไหว ความสงบ ความสง่างาม ความแข็งแรง ความอ่อนโยน เป็นต้น การแสดงรูปแบบอาจจะแสดงได้ทั้งรูปทรงอิสระ (free form) และรูปทรงเรขาคณิต (geometrical form) (วิรุณ ตั้งเจริญ. 2527 : 78)

การออกแบบรูปแบบนามธรรม มีแนวโน้มในการแสดงออกทางความรู้สึกมากกว่าการบอกกล่าวถึงสิ่งใดโดยตรง สำหรับความรู้สึกที่แสดงออกนี้ ที่จริงแล้วก็มีแสดงอยู่ในรูปแบบอื่นๆ ด้วยเช่นกัน

หลักการออกแบบ ซึ่งมีอยู่ 7 ประการคือ

1. เอกภาพ

2. ดุลยภาพ

3. ความกลมกลืน

4. ความขัดแย้ง

5. สัดส่วน

6. ช่วงจังหวะ

7. การเน้น

http://www.rbru.ac.th/courseware/human/2641602/lesson3/lesson3.2.html

6 การใช้ตัวอักษรและภาพประกอบในงานสิ่งพิมพ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจน ควรมีลักษณะอย่างไร

ตอบ องค์ประกอบต่าง ๆ ของการออกแบบสามารถนำมาใช้ประกอบกันเมื่อเริ่มคิดแบบและวางเลย์เอ้าท์ เป็นสิ่งที่ช่วยให้มีจุดยืนในการเริ่มต้นออกแบบ และเพิ่มความหลากหลายของงาน องค์ประกอบของการออกแบบ

http://www.supremeprint.net/index.php?lay=show&ac=article&Id=538976245

7. เพราะเหตุใดในการบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ควรใช้คำศัพท์ทางทัศนศิลป์ประกอบลงไปด้วย

ตอบ จะทำให้เกิดความชัดเจนของภาพที่บรรยายทำเกิดอารมณ์ศิลป์ต่อผู้ฟังและผู้บรรยายยิ่งขึ้น

นาย ทศพร แซ่ยุ้ง ม.4 เลขที่ 16

1 ทัศนธาตุหรือองค์ประกอบทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างไร

ตอบ กระบวนการถ่ายทอดผลงานทางศิลปะ การทำงานศิลปะอย่างมีจิตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ มีระบบระเบียบเป็นขั้นเป็นตอน การสร้างสรรค์งานอย่างมีประสิทธิภาพสวยงาม มีการปฏิบัติงานตามแผนและมีการพัฒนาผลงานให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง

ทัศนศิลป์คือการรับรู้ทางจักษุประสาท โดยการมองเห็น สสาร วัตถุ และสรรพสิ่งต่าง ๆ ที่เข้ามากระทบ รวมถึงมนุษย์ และสัตว์ จะด้วยการหยุดนิ่ง หรือเคลื่อนไหวก็ตาม หรือจะด้วยการปรุงแต่ง หรือไม่ปรุงแต่งก็ตาม ก่อให้เกิดปัจจัยสมมุติต่อจิตใจ และอารมณ์ของมนุษย์ อาจจะป็นไปในทางเดียวกันหรือไม่ก็ตาม

http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=3170dd4952ba17f5

2 การพิจารณผลงานชิ้นหนึ่งว่ามีความงามหรือไม่นั้นต้องพิจารณาจากอะไร

ตอบ เราไม่สามารถตัดสินได้ว่างานชิ้นไหนดีหรือไม่ดีการเสพงานศิลปะนั้นเราใช้เพียงแต่ความรู้สึกในการทำความเข้าใจงานศิลปะดังนั้นความเข้าใจในงานศิลปะของแต่ละคนนั้นก็ขึ้นอยู่กับประสบการณ์และภูมิความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับศิลปะของแต่ละคนด้วยการเสพงานศิลปะนั้นก็ต้องใช้ประสาทสัมผัสในด้านต่าง ๆที่แตกต่างกันในการเลือกเสพงาน ซึ่งงานศิลปะส่วนใหญ่จะเป็นงานการเสพทางสายตาการมองเห็นเป็นประสาทสัมผัสหนึ่งที่ทำให้มนุษย์เห็นถึงความชัดเจนในการทำความเข้าใจสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้ง่ายเพราะในความคิดของแต่ละคนจะมีกรอบควมคิดหรือกรอบภาพจิตนาการสิ่งต่าง ๆไว้ในความคิดอยู่แล้วซึ่งได้รับมาจากประสบการณ์ของแต่ละคนจึงทำให้การรับรู้ความงามในศิลปะนั้นมีระดับที่แตกต่างกันหรือแม้แต่การใช้ประสาทรับรู้ที่แตกต่างกันก็ทำให้การเข้าถึงสุนทรียต่างกันด้วยเช่นกัน

http://getzophongraktham.exteen.com/20090820/entry

3 เส้นในแต่ละลักษณะให้ความรู้สึกต่อการมองเห็นแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ 1.เส้นนอนให้ความรู้สึก กว้างขวาง เงียบสงบ นิ่ง ราบเรียบ ผ่อนคลายสายตา

2.เส้นตั้งให้ความรู้สึก สูงสง่า มั้นคง แข็งแรง รุ่งเรือง

3.เส้นเฉียงให้ความรู้สึก ไม่มั่นคง เคลื่อนไหว รวดเร็ว แปรปรวน

4.เส้นโค้งให้ความรู้สึก อ่อนไหว อ่อนโยน สบาย นุ่มนวล

5.เส้นโค้งก้นหอยให้ความรู้สึก คลี่ตัว ขยายตัว มึนงง

6.เส้นซิกแซกให้ความรู้สึก รุนแรง ตื่นเต้น สับสนวุ่นวาย

7.เส้นประให้ความรู้สึก ไม่ต่อเนื่อง ไม่มั่นคง ไม่แน่นอน

http://www.thaigoodview.com/node/17307

4 นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับข้อความที่ว่า สีเป็นองค์ประกอบทัศนศิลป์ที่สำคัญที่สุดในงานจิตกรรม

ตอบ เห็นด้วย เพราะช่วยเพิ่มสีสันของภาพให้ดูสวยงาม เพราะท่าไม่มีสีภาพจะไม่มีความชัดเจนไม่ได้ความรู้สึก

5 หลักการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง

ตอบ ควรมีตัวอักษรที่ตัวที่มองเห็นได้ไม่เล็กเกินไปหรือสีของตัวอักษรที่มีสีเค็มจะทำให้มองเห็นง่ายส่วนภาพควรมีสีจะทำให้ภาพนั้นน่าดูยิ่งขึ้นและควรเป็นภาพเดียวกันกับเรื่องที่อ่าน

6 การใช้ตัวอักษรและภาพประกอบในงานสิ่งพิมพ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจน ควรมีลักษณะอย่างไร

ตอบ ภาพประกอบ ต้องเป็นภาพที่ชัด ตัวอักษรในหัวข้อควรใช้ตัวใหญ่และหนา ส่วนเนื้อเรื่องตัวอักษรไม่ควรเล็กหรือใหญ่เกินไป

7 เพราะเหตุใดในการบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ควรใช้คำศัพท์ทางทัศนศิลป์ประกอบลงไปด้วย

ตอบ เพราะการใช้ศัพท์ทางศิลป์ในการบรรยายจะทำให้เกิดความรู้สึกทางผลงาน สามารถสื่อความหมายระหว่างผู้พูดกับผู้ฟังให้เกิดความรู้สึกตามได้

นาย เจษฏา อุทิศานนท์

1 ทัศนธาตุหรือองค์ประกอบทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างไร

ตอบ ทำให้รูปที่วาดดูสวยงามมากขึ้น เเละสื่อถึงความหมายของภาพ

2 การพิจารณผลงานชิ้นหนึ่งว่ามีความงามหรือไม่นั้นต้องพิจารณาจากอะไร

ตอบ การระบายสี ว่ามีการลงที่สมดุล หรือป่าว

3 เส้นในแต่ละลักษณะให้ความรู้สึกต่อการมองเห็นแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ เส้นตั้งตรง เหมือนคนยืน เหมือนต้นเสา ต้นไม้ เป็นสัญลักษณ์ของความมั่นคง เคร่งขรึม เอาจริงเอาจัง

เส้นตรงแนวนอน เป็นลักษณะของคนนอน ต้นไม้ล้ม หรือเส้นขอบฟ้า แสดงถึงอารมณ์ที่ราบเรียบ ผ่อนคลาย สงบเงียบ

เส้นทะแยงมุม เหมือนกับต้นไม้ใบหญ้าที่โอนเอนเมื่อถูกลมพัด ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหวที่รุนแรง และความมีชีวิตชีวา

เส้นโค้งคดเคี้ยว ที่ต่อเนื่องอย่างนุ่มนวล เป็นความสนุกสนาน ความกลมกลืน และความเป็นหนุ่มเป็นสาว

เส้นที่แตกเป็นแฉกแหลมๆ เหมือนเส้นสายฟ้า เป็นสัญลักษณ์ของความโกรธ ความตื่นเต้นระทึกใจ

เส้นที่ตั้งขึ้นแล้วโค้งลงเหมือนไม้เลื้อย ให้อารมณ์หม่นหมอง เศร้าสลด เช่นเดียวกับคนก้มหน้าร้องไห้

4 นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับข้อความที่ว่า สีเป็นองค์ประกอบทัศนศิลป์ที่สำคัญที่สุดในงานจิตกรรม

ตอบ เห็นด้วยเพราะ สีเป็นศิลป์ที่สำคัญต่อการวาดรูป

5 หลักการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง

ตอบ ในกระบวนการออกแบบและสร้างเว็บไซต์นั้นมีองค์ประกอบหลายประการที่ผู้ออกแบบจะต้องคำนึงถึงเพื่อที่จะให้เว็บไซต์ที่สร้างขึ้นมานั้นสามารถบรรลุจุดประสงค์สูงสุดที่ตั้งเอาไว้ได้ ทั้งนี้ก็เพื่อผลประโยชน์ต่อบุคคล กลุ่มบุคคล หรือองค์กรที่สร้างเว็บไซต์ขึ้นมานั้นเอง

1. ความเรียบง่าย (Simplicity)

2. ความสม่ำเสมอ (Consistency)

3. ความเป็นเอกลักษณ์ (Uniqueness)

4. เนื้อหามีประโยชน์ (Usefulness)

5. ระบบ Navigation ที่ใช้งานง่าย (Easy-use Navigation)

6. แสดงผลได้อย่างรวดเร็ว (Rapid Output)

7. มีความชัดเจน (Clearance)

8. เป็นไปตามรูปแบบมาตราฐาน (Standardzation)

9. แสดงผลได้ดีในสิ่งแวดล้อมที่ต่างกัน

10. ระบบใช้งานที่ถูกต้อง

6 การใช้ตัวอักษรและภาพประกอบในงานสิ่งพิมพ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจน ควรมีลักษณะอย่างไร

ตอบ องค์ประกอบต่าง ๆ ของการออกแบบสามารถนำมาใช้ประกอบกันเมื่อเริ่มคิดแบบและวางเลย์เอ้าท์ เป็นสิ่งที่ช่วยให้มีจุดยืนในการเริ่มต้นออกแบบ และเพิ่มความหลากหลายของงาน องค์ประกอบของการออกแบบ

http://www.supremeprint.net/index.php?lay=show&ac=article&Id=538976245

7 . เพราะเหตุใดในการบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ควรใช้คำศัพท์ทางทัศนศิลป์ประกอบลงไปด้วย

ตอบ เพื่อสื่อถึงศิลปะและบอกให้ผู้ฟังมีความเข้าใจในศิลปะได้อย่างลึกซึ้งยิ่งขึ้น

นาย ปวีณ แซ่เลี่ยง ม.4 เลขที่ 1

1 ทัศนธาตุหรือองค์ประกอบทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างไร

ตอบ ทำให้ภาพที่เราทำดูสวยงามและทำให้ภาพที่เราวาดนั้นเหมือนจริงมากยิ่งขึ้น มีความสมดุล ว่าตรงนี้ควรวาดอย่างไรดี วาดแล้วเหมาะกับภาพหรือป่าว

2 การพิจารณผลงานชิ้นหนึ่งว่ามีความงามหรือไม่นั้นต้องพิจารณาจากอะไร

ตอบ จากภาพที่วาดว่ามีความสมดุลของภาพรึป่าว การใช้สีหนักเบาเป็นอย่างไรบ้าง ภาพเหมือนจริงมากแค่ไหน

3 เส้นในแต่ละลักษณะให้ความรู้สึกต่อการมองเห็นแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ เส้นตั้งฉาก ให้ความรู้สึก สูง เด่น สง่า มั่นคง แข็งแรง

เส้นระดับ ให้ความรู้สึก สงบ แน่นอน

เส้นทะแยง ให้ความรู้สึก แสดงความเร็ว ความไม่มั่งคง

เส้นโค้ง ให้ความรู้สึก อ่อนน้อม เศร้า ผิดหวัง

เส้นคด ให้ความรู้สึก แสดงการเคลื่อนไหวอย่างอ่อนช้อย

เส้นประ ให้ความรู้สึก แสดงความไม่แน่นอน ลังเล แตกแยก

4 นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับข้อความที่ว่า สีเป็นองค์ประกอบทัศนศิลป์ที่สำคัญที่สุดในงานจิตกรรม

ตอบ เห็นด้วย เพราะสีเป็นหลักสำคัญของการวาดรูปถ้าไม่มีสีก็จะทำให้ภาพไม่ดูสมจริง

5. หลักการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง

ตอบ 1)องค์ประกอบในความคิด(Conceptual Elements)

2)องค์ประกอบที่มองเห็นได้ (Visual Elements)

3)องค์ประกอบที่สัมพันธ์ (Relational Elements)

4) องค์ประกอบที่นำมาใช้ประโยชน์ (Practical Elements)

6. การใช้ตัวอักษรและภาพประกอบในงานสิ่งพิมพ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจน ควรมีลักษณะอย่างไร

ตอบ ต้องเป็นตัวอักษรที่ดูง่าย ไม่บิดเอียงไปมา ใช้ภาษาที่ถูกต้อง ส่วนภาพก็ต้องสอดคล้องกับเนื้อหา

7. เพราะเหตุใดในการบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ควรใช้คำศัพท์ทางทัศนศิลป์ประกอบลงไปด้วย

ตอบ เพื่อจะได้ ได้อารมณ์ในงานศิลปะลึกซึ้งยิ่งขึ้น

นาย เจษฎา อุทิศานนท์ เลขที่ 21 ม.4

1 ทัศนธาตุหรือองค์ประกอบทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างไร

ตอบ ทำให้รูปที่วาดดูสวยงามมากขึ้น เเละสื่อถึงความหมายของภาพ

2 การพิจารณผลงานชิ้นหนึ่งว่ามีความงามหรือไม่นั้นต้องพิจารณาจากอะไร

ตอบ การระบายสี ว่ามีการลงที่สมดุล หรือป่าว

3 เส้นในแต่ละลักษณะให้ความรู้สึกต่อการมองเห็นแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ เส้นตั้งตรง เหมือนคนยืน เหมือนต้นเสา ต้นไม้ เป็นสัญลักษณ์ของความมั่นคง เคร่งขรึม เอาจริงเอาจัง

เส้นตรงแนวนอน เป็นลักษณะของคนนอน ต้นไม้ล้ม หรือเส้นขอบฟ้า แสดงถึงอารมณ์ที่ราบเรียบ ผ่อนคลาย สงบเงียบ

เส้นทะแยงมุม เหมือนกับต้นไม้ใบหญ้าที่โอนเอนเมื่อถูกลมพัด ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหวที่รุนแรง และความมีชีวิตชีวา

เส้นโค้งคดเคี้ยว ที่ต่อเนื่องอย่างนุ่มนวล เป็นความสนุกสนาน ความกลมกลืน และความเป็นหนุ่มเป็นสาว

เส้นที่แตกเป็นแฉกแหลมๆ เหมือนเส้นสายฟ้า เป็นสัญลักษณ์ของความโกรธ ความตื่นเต้นระทึกใจ

เส้นที่ตั้งขึ้นแล้วโค้งลงเหมือนไม้เลื้อย ให้อารมณ์หม่นหมอง เศร้าสลด เช่นเดียวกับคนก้มหน้าร้องไห้

4 นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับข้อความที่ว่า สีเป็นองค์ประกอบทัศนศิลป์ที่สำคัญที่สุดในงานจิตกรรม

ตอบ เห็นด้วยเพราะ สีเป็นศิลป์ที่สำคัญต่อการวาดรูป

5 หลักการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง

ตอบ ในกระบวนการออกแบบและสร้างเว็บไซต์นั้นมีองค์ประกอบหลายประการที่ผู้ออกแบบจะต้องคำนึงถึงเพื่อที่จะให้เว็บไซต์ที่สร้างขึ้นมานั้นสามารถบรรลุจุดประสงค์สูงสุดที่ตั้งเอาไว้ได้ ทั้งนี้ก็เพื่อผลประโยชน์ต่อบุคคล กลุ่มบุคคล หรือองค์กรที่สร้างเว็บไซต์ขึ้นมานั้นเอง

1. ความเรียบง่าย (Simplicity)

2. ความสม่ำเสมอ (Consistency)

3. ความเป็นเอกลักษณ์ (Uniqueness)

4. เนื้อหามีประโยชน์ (Usefulness)

5. ระบบ Navigation ที่ใช้งานง่าย (Easy-use Navigation)

6. แสดงผลได้อย่างรวดเร็ว (Rapid Output)

7. มีความชัดเจน (Clearance)

8. เป็นไปตามรูปแบบมาตราฐาน (Standardzation)

9. แสดงผลได้ดีในสิ่งแวดล้อมที่ต่างกัน

10. ระบบใช้งานที่ถูกต้อง

6 การใช้ตัวอักษรและภาพประกอบในงานสิ่งพิมพ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจน ควรมีลักษณะอย่างไร

ตอบ องค์ประกอบต่าง ๆ ของการออกแบบสามารถนำมาใช้ประกอบกันเมื่อเริ่มคิดแบบและวางเลย์เอ้าท์ เป็นสิ่งที่ช่วยให้มีจุดยืนในการเริ่มต้นออกแบบ และเพิ่มความหลากหลายของงาน องค์ประกอบของการออกแบบ

http://www.supremeprint.net/index.php?lay=show&ac=article&Id=538976245

7 . เพราะเหตุใดในการบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ควรใช้คำศัพท์ทางทัศนศิลป์ประกอบลงไปด้วย

ตอบ เพื่อสื่อถึงศิลปะและบอกให้ผู้ฟังมีความเข้าใจในศิลปะได้อย่างลึกซึ้งยิ่งขึ้น

นาย ไพรัช บันดัก ม.4 เลขที่ 5

1.ทัศนธาตุหรือองค์ประกอบทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างไร

ตอบ มีความสำคัญต่อการวาดภาพทำให้ภาพที่วาดนั้นดูสวยงามและมีความเหมือนจริง แล้วมีความเหมาะสมต่อภาพที่วาด

ทัศนศิลป์ คือ กระบวนการถ่ายทอดผลงานทางศิลปะ การทำงานศิลปะอย่างมีจิตนาการความคิดสร้างสรรค์มีระบบระเบียบ

เป็นขั้นเป็นตอน การสร้างสรรค์งานอย่างมีประสิทธิภาพสวยงาม มีการปฏิบัติงานตามแผนและมีการพัฒนาผลงานให้ดีขึ้นต่อเนื่อง

http://www.thaigoodview.com/node/17307

“องค์ประกอบทัศนศิลป์” คือองค์ประกอบที่ประกอบด้วย จุด เส้น สี พื้นผิว ค่าน้ำหนักอ่อนแก่ (แสง-เงา) รูปร่าง รูปทรง และบริเวณว่าง

ประกอบด้วยองค์ประกอบสำคัญที่เป็นมูลฐาน 7 ประการคือ

1. จุด (Point,Dot) หมายถึง ส่วนประกอบที่เล็กที่สุด เป็นส่วนเริ่มต้นไปสู่ส่วนอื่นๆ

2. 2. เส้น (Line) หมายถึง จุดหลาย ๆ จุดที่เคลื่อนที่ต่อเนื่องไปในที่ว่างเปล่าจากทิศทางการเคลื่อนที่ต่าง ๆ กัน

3. 3. สี (Colour) หมายถึง ลักษณะของแสงสว่างที่ปรากฏแก่สายตาให้เห็นสีต่างกันสีเป็นสิ่งที่มีอิทธิพลต่อความรู้สึก เมื่อมองเห็น และทำให้เกิดอารมณ์ สะเทือนใจต่าง ๆ

4. พื้นผิว (Texture) หมายถึง คุณลักษณะต่าง ๆ ของผิวด้านหน้าของวัตถุทุกชนิดที่มีลักษณะต่าง ๆ กันเช่นเรียบ ขรุขระ เป็นมันวาว ด้าน เป็นต้น

5. รูปร่าง (Shape) หมายถึง การบรรจบกันของเส้นที่เป็นขอบเขตของวัตถุที่มองเห็นเป็น 2 มิติ คือ มีความกว้างและความยาว 2 ด้านเท่านั้น

รูปทรง (form) หมายถึงรูปลักษณะที่มองเห็นเป็น 3 มิติ คือ มีความกว้างความยาวและความหนาลึก

4. ค่าน้ำหนัก (value) หมายถึง ค่าความอ่อนเข้มของสีที่เกิดจากของสีที่เกิดจากแสงและเงา

5. 7. ช่องว่าง(space) หมายถึง บริเวณที่ว่างเปล่าที่เรียกกันว่า "ช่องไฟ"

ทัศนธาตุเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าองค์ประกอบทัศนศิลป์ หมายถึง สิ่งที่เป็นส่วน

ประกอบสำคัญต่าง ๆ ในงานทัศนศิลป์ ได้แก่ เส้น สี พื้นผิว แสงเงาและช่องว่าง การวาดภาพที่ดี การนำส่วนประกอบสำคัญต่าง ๆ เหล่านี้มาจัดให้เกิดความสมดุลและเกิดความงาม ซึ่งจะทำให้เป็นภาพที่สมบูรณ์ได้ เรียกว่าการจัดทัศนธาตุหรือการจัดองค์ประกอบของทัศนศิลป์

การจัดองค์ประกอบทัศนศิลป์ เป็นหลักสำคัญสำหรับผู้สร้างสรรค์ และผู้ศึกษางานศิลปะ เนื่องจากผลงานศิลปะใด ๆ ก็ตาม ล้วนมีคุณค่าอยู่ 2 ประการ คือ คุณค่าทางด้านรูปทรงและคุณค่าทางด้านเรื่องราว

องค์ประกอบศิลป์ (Art composition)

การจัดองค์ประกอบของศิลป์ มีหลักที่ควรคำนึงอยู่ 4 ประการ คือ

1. ความสมดุล (Balance)

2. ส่วน (Proportion)

3. จุดสนใจ (Emphasis)

4. เอกภาพ (Unity)

1. ความสมดุล (Balance)

ความสมดุลหรือดุลยภาพ หมายถึง น้ำหนักที่เท่ากันขององค์ประกอบ ไม่เอนเอียงไปข้างใดข้างหนึ่ง

2. ส่วน (Proportion)

ส่วน หมายถึง ความสัมพันธ์กันอย่างเหมาะสมขององค์ประกอบส่วนจัดเป็นประเภทต่าง ๆ ได้อีก เช่น

1) ส่วนการจัดวางภาพ

2) ส่วนขนาดของภาพ

- 3) ส่วนของสี

- รูปหรือภาพสีแก่ พื้นต้องสีอ่อน

- รูปหรือภาพสีอ่อน พื้นต้องสีแก่

- รูปหรือภาพและพื้นมีสีเท่ากันแต่จะต้องมีค่าน้ำหนักของสีต่างกัน

3. จุดสนใจ (Emphasis)

จุดสนใจ หมายถึง การกระทำให้เด่นเป็นพิเศษกว่าธรรมดา

4. เอกภาพ (Unity)

เอกภาพ หมายถึง การจัดองค์ประกอบที่อยู่ในภาพให้มีลักษณะเป็นกลุ่ม ไม่ให้กระจัดกระจาย

http://dek-d.com/board/view.php?id=1048341

2. การพิจารณผลงานชิ้นหนึ่งว่ามีความงามหรือไม่นั้นต้องพิจารณาจากอะไร

ตอบ -ลายมือการเขียน ความคิดสร้างสรรค์ การลงสีหรือลวดลาย การจัดวางเนื้อหา

3. เส้นในแต่ละลักษณะให้ความรู้สึกต่อการมองเห็นแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ เส้นเป็นองค์ประกอบที่สำคัญส่วนหนึ่งของศิลปภาพถ่าย เส้นสายในภาพถ่ายนอกจากจะเป็นเส้นนำสายตาผู้ชมภาพไปสู่จุดสนใจแล้ว เส้นเหล่านั้นยังให้ความรู้สึกและความหมายของภาพแตกต่างกัน บางเส้นให้อารมณ์รุนแรง ตื่นเต้น ในขณะเดียวกัน บางเส้นก็ให้ความรู้สึกเงียบสงบ อ่อนโยน

เส้นตั้งตรง เหมือนคนยืน เหมือนต้นเสา ต้นไม้ เป็นสัญลักษณ์ของความมั่นคง เคร่งขรึม เอาจริงเอาจัง

เส้นตรงแนวนอน เป็นลักษณะของคนนอน ต้นไม้ล้ม หรือเส้นขอบฟ้า แสดงถึงอารมณ์ที่ราบเรียบ ผ่อนคลาย สงบเงียบ

เส้นทะแยงมุม เหมือนกับต้นไม้ใบหญ้าที่โอนเอนเมื่อถูกลมพัด ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหวที่รุนแรง และความมีชีวิตชีวา

เส้นโค้งคดเคี้ยว ที่ต่อเนื่องอย่างนุ่มนวล เป็นความสนุกสนาน ความกลมกลืน และความเป็นหนุ่มเป็นสาว

เส้นที่แตกเป็นแฉกแหลมๆ เหมือนเส้นสายฟ้า เป็นสัญลักษณ์ของความโกรธ ความตื่นเต้นระทึกใจ

เส้นที่ตั้งขึ้นแล้วโค้งลงเหมือนไม้เลื้อย ให้อารมณ์หม่นหมอง เศร้าสลด เช่นเดียวกับคนก้มหน้าร้องไห้

http://www.bpsthai.org/BPS_Links/PhotoTechnic_L/Manosarae_L/Mano_L15.html

4 นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับข้อความที่ว่า สีเป็นองค์ประกอบทัศนศิลป์ที่สำคัญที่สุดในงานจิตกรรม

ตอบ เห็นด้วย เพราะสีเป็นพื้นฐานของภาพ

5 หลักการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง

ตอบ ในการออกแบบสิ่งใดก็ตาม นักออกแบบควรจะต้องคำนึงถึงประโยชน์ใช้สอยและความงาม งานออกแบบนั้นจึงจะมีคุณค่าสมบูรณ์ ทางด้านประโยชน์ใช้สอย เราคงทราบกันดีแล้ว เช่น เก้าอี้ใช้ประโยชน์ในการนั่ง แต่ทางด้านความงามของรูปแบบเก้าอี้มีไว้สำหรับชื่นชมสิ่งที่จะนำมาประกอบกันให้เกิดความงาม ก็คือ ส่วนประกอบในการออกแบบ แต่การจัดส่วนประกอบเข้าด้วยกันต้องมีหลัก หลักดังกล่าวนั้น ได้แก่ หลักการออกแบบ ซึ่งมีอยู่ 7 ประการ ดังต่อไปนี้

1. เอกภาพ

2. ดุลยภาพ

3. ความกลมกลืน

4. ความขัดแย้ง

5. สัดส่วน

6. ช่วงจังหวะ

7. การเน้น

6 การใช้ตัวอักษรและภาพประกอบในงานสิ่งพิมพ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจน ควรมีลักษณะอย่างไร

ตอบ ควรใช้ตัวอักษรและภาพที่มีความพอดีกับสิ่งพิมพ์และสามารถสื่อความหมายออกมาได้ดี

7 เพราะเหตุใดในการบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ควรใช้คำศัพท์ทางทัศนศิลป์ประกอบลงไปด้วย

ตอบ เพราะการใช้ศัพท์ทางศิลป์ในการบรรยายจะทำให้เกิดความเข้าใจความหมายของภาพมากขึ้น สามารถสื่อความหมายระหว่างผู้พูดกับผู้ฟังได้เข้าใจมากขึ้น

นาย โชติชัย แซ่เล่า เลขที่ 6 ม.4

1 ทัศนธาตุหรือองค์ประกอบทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างไร

ตอบ ทำให้ภาพที่เราทำดูสวยงามและทำให้ภาพที่เราวาดนั้นเหมือนจริงมากยิ่งขึ้น มีความสมดุล ว่าตรงนี้ควรวาดอย่างไรดี วาดแล้วเหมาะกับภาพหรือป่าว

2 การพิจารณผลงานชิ้นหนึ่งว่ามีความงามหรือไม่นั้นต้องพิจารณาจากอะไร

ตอบ จากภาพที่วาดว่ามีความสมดุลของภาพรึป่าว การใช้สีหนักเบาเป็นอย่างไรบ้าง ภาพเหมือนจริงมากแค่ไหน

3 เส้นในแต่ละลักษณะให้ความรู้สึกต่อการมองเห็นแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ เส้นตั้งฉาก ให้ความรู้สึก สูง เด่น สง่า มั่นคง แข็งแรง

เส้นระดับ ให้ความรู้สึก สงบ แน่นอน

เส้นทะแยง ให้ความรู้สึก แสดงความเร็ว ความไม่มั่งคง

เส้นโค้ง ให้ความรู้สึก อ่อนน้อม เศร้า ผิดหวัง

เส้นคด ให้ความรู้สึก แสดงการเคลื่อนไหวอย่างอ่อนช้อย

เส้นประ ให้ความรู้สึก แสดงความไม่แน่นอน ลังเล แตกแยก

4 นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับข้อความที่ว่า สีเป็นองค์ประกอบทัศนศิลป์ที่สำคัญที่สุดในงานจิตกรรม

ตอบ เห็นด้วย เพราะสีเป็นหลักสำคัญของการวาดรูปถ้าไม่มีสีก็จะทำให้ภาพไม่ดูสมจริง

5 หลักการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง

ตอบ การออกแบบโดยทั่วๆ ไปจะต้องคำนึงถึงความสำคัญสองอย่างในงานเดียวกัน ซึ่งได้แก่ รูปแบบ (form) และประโยชน์ (function) ของงานนั้นๆ รูปแบบและประโยชน์จะต้องมีความสัมพันธ์กันเป็นอย่างดี จึงจะทำให้งานออกแบบนั้นมีคุณภาพ

รูปแบบในงานออกแบบอบางอย่าง มีเนื้อหาสาระที่สามารถสื่ออกมาให้เห็นได้ เช่น สภาพทางธรรมชาติ พฤติกรรมของคน สัตว์ ตลอดจนข้อความต่างๆ ที่แสดงเนื้อหาในงานนั้นๆ งานออกแบบที่เนื้อหา มักจะเป็นงานออกแบบสิ่งพิมพ์ งานออกแบบโฆษณา หรืองานออกแบบทัศนศิลป์ รูปแบบแสดง เนื้อหา สามารถจำแนกออกได้ดังนี้

1. รูปแบบแสดงตัวตน (representational form) หมายถึง รูปแบบที่แสดงสภาพแวดล้อม หรือรูปแบบที่บันทึกภาพสิ่งแวดล้อม เช่น ภาพถ่าย ภาพยนตร์ ส่วนใหญ่จะบันทึกภาพสิ่งแวดล้อมในลักษณะเหมือนจริง ส่วนการออกแบบรูปเขียน รูปปั้น รูปสลัก และเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ สามารถบันทึกสิ่งแวดล้อมในลักษณะเหมือนจริง และยังบันทึกสิ่งแวดล้อมในลักษณะสร้างสรรค์ โดยใช้สิ่งแวดล้อมเป็นสื่อดลใจได้อีกด้วย สิ่งแวดล้อมในทีนี้หมายถึงธรรมชาติและสิ่งต่างๆ ที่มนุษย์ได้สร้างสรรค์ขึ้น เช่น อาคาร ยานพาหนะ สิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ (วิรุณ ตั้งเจริญ. 2527 : 76)

2. รูปแบบสัญลักษณ์ (symbolic form) หมายถึง รูปแบบที่เป็นสื่อให้เข้าใจ ความหมายร่วมกันได้ อาจจะสื่อให้เข้าใจได้เฉพาะกลุ่มเล็กๆ หรืออาจจะสื่อให้เข้าใจกันได้ในระดับสากล ตัวอย่างสื่อเฉพาะกลุ่ม เช่น รูปพานรัฐธรรมนูญ เป็นสัญลักษณ์เกี่ยวกับประชาธิปไตย สำหรับประชาชนเฉพาะในประเทศไทย ส่วนสัญลักษณ์ที่สื่อได้ทั่วโลกเป็นสากล เช่น รูปห้าห่วงคล้องเข้าด้วยกัน เป็นสัญลักษณ์ของกีฬาโอลิมปิค สัญลักษณ์ของการจราจร เช่น รูปห่วงวงกลมและมีเส้นผ่าศูนย์กลางในแนวเฉียง หมายถึงป้ายห้ามจอด รูปกากบาท หมายถึงโรงพยาบาล สัญลักษณ์เหล่านี้จะเข้าใจกันได้ทุกชาติทุกภาษา (ศาตรพันธ์. 2530 : 175)

ในการทำความเข้าใจความหมายของสัญลักษณ์ จำเป็นจะต้องมีประสบการณ์ร่วมกัน โดยมีการเรียนรู้ในสัญลักษณ์นั้นๆ จึงจะสามารถเข้าใจความหมายร่วมกันได้เป็นอย่างดี สัญลักษณ์ที่ใช้แสดงออกมีได้ทั้งที่เป็น รูป สี และเสียง (วิรุณ ตั้งเจริญ. 2527 : 77)

3. รูปแบบนามธรรม (abstract form) หมายถึง รูปแบบที่ตัดทอนดัดแปลงมาจากรูปแบบสิ่งแวดล้อมต่างๆ ซึ่งจะมีลักษณะผิดแปลกไปจากรูปแบบตามความเป็นจริง แต่อาจจะสะท้อนเพียงความรู้สึกอย่างใดอย่างหนึ่งที่ประทับใจออกมา (ดูภาพ 3.3 – 3.5) เช่น ความสวยงาม ความน่าเกลียด ความเคลื่อนไหว ความสงบ ความสง่างาม ความแข็งแรง ความอ่อนโยน เป็นต้น การแสดงรูปแบบอาจจะแสดงได้ทั้งรูปทรงอิสระ (free form) และรูปทรงเรขาคณิต (geometrical form) (วิรุณ ตั้งเจริญ. 2527 : 78)

การออกแบบรูปแบบนามธรรม มีแนวโน้มในการแสดงออกทางความรู้สึกมากกว่าการบอกกล่าวถึงสิ่งใดโดยตรง สำหรับความรู้สึกที่แสดงออกนี้ ที่จริงแล้วก็มีแสดงอยู่ในรูปแบบอื่นๆ ด้วยเช่นกัน

หลักการออกแบบ ซึ่งมีอยู่ 7 ประการคือ

1. เอกภาพ

2. ดุลยภาพ

3. ความกลมกลืน

4. ความขัดแย้ง

5. สัดส่วน

6. ช่วงจังหวะ

7. การเน้น

http://www.rbru.ac.th/courseware/human/2641602/lesson3/lesson3.2.html

6 การใช้ตัวอักษรและภาพประกอบในงานสิ่งพิมพ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจน ควรมีลักษณะอย่างไร

ตอบ องค์ประกอบต่าง ๆ ของการออกแบบสามารถนำมาใช้ประกอบกันเมื่อเริ่มคิดแบบและวางเลย์เอ้าท์ เป็นสิ่งที่ช่วยให้มีจุดยืนในการเริ่มต้นออกแบบ และเพิ่มความหลากหลายของงาน องค์ประกอบของการออกแบบ

http://www.supremeprint.net/index.php?lay=show&ac=article&Id=538976245

7. เพราะเหตุใดในการบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ควรใช้คำศัพท์ทางทัศนศิลป์ประกอบลงไปด้วย

ตอบ จะทำให้เกิดความชัดเจนของภาพที่บรรยายทำเกิดอารมณ์ศิลป์ต่อผู้ฟังและผู้บรรยายยิ่งขึ้น

นาย ธนกิจ วงศ์พลัง เลขที่35 ม.4

1. ทัศนธาตุหรือองค์ประกอบทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างไร

ตอบ กระบวนการถ่ายทอดผลงานทางศิลปะ การทำงานศิลปะอย่างมีจิตนาการความคิดสร้างสรรค์มีระบบระเบียบ

เป็นขั้นเป็นตอน การสร้างสรรค์งานอย่างมีประสิทธิภาพสวยงาม มีการปฏิบัติงานตามแผนและมีการพัฒนาผลงานให้ดีขึ้นต่อเนื่อง

http://www.thaigoodview.com/node/17307

2. การพิจารณผลงานชิ้นหนึ่งว่ามีความงามหรือไม่นั้นต้องพิจารณาจากอะไร

ตอบ ดูว่าชิ้นผลงานชิ้นนี้สวยหรือป่าวและดูแล้วรู้สึกสะบายใจดูแล้วคลายเครียจหรือป่าว

3. เส้นในแต่ละลักษณะให้ความรู้สึกต่อการมองเห็นแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ เส้นนอน ให้ความรู้สึกกว้างขวาง เงียบสงบ นิ่ง ราบเรียบ ผ่อนคลายสายตา

เส้นตั้ง ให้ความรู้สึกสูงสง่า มั่นคง แข็งแรง รุ่งเรือง

เส้นเฉียง ให้ความรู้สึกไม่มั่นคง เคลื่อนไหว รวดเร็ว แปรปรวน

เส้นโค้ง ให้ความรู้สึกอ่อนไหว สุภาพอ่อนโยน สบาย นุ่มนวล เย้ายวน

เส้นโค้งก้นหอย ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว การคลี่คลาย ขยายตัว มึนงง

เส้นซิกแซกหรือเส้นฟันปลา ให้ความรู้สึกรุนแรง กระแทกเป็นห้วง ๆ ตื่นเต้น สับสนวุ่นวาย และการขัดแย้ง

เส้นประ ให้ความรู้สึกไม่ต่อเนื่อง ไม่มั่นคง ไม่แน่นอน

http://www.thaigoodview.com/node/17307

4. นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับข้อความที่ว่า สีเป็นองค์ประกอบทัศนศิลป์ที่สำคัญที่สุดในงานจิตกรรม

ตอบ เห็นด้วยเพราะ การสร้างจุดที่น่าสนใจที่สุดในภาพขึ้นมานั่นเอง เพราะในการจัดภาพนั้น ถ้าหากไม่มีการเน้นจุดเด่นเลยหรือสร้างจุดเด่นหลายจุดเกินไปหมด ดังนั้นการสร้างจุดเด่นที่ว่านี้ ควรสร้างให้มีเพียงจุดเดียว ไม่ควรให้อยู่บริเวณขอบภาพด้านใดด้านหนึ่งจนเกินไป และไม่จำเป็นต้องอยู่บริเวณจุดกึ่งกลางภาพเสมอไปด้วย ทั้งนี้การสร้างจุดเด่นอาจจะทำได้หลายลักษณะเช่นเน้นให้เด่นด้วยขนาด รูปร่างแสง เงา สี หรือเรื่องราว เป็นต้น

http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/art04/18/The_Theory_Of_Art/dominance.html

5. หลักการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง

ตอบ 1. การจัดองค์ประกอบดี วางตำแหน่งทิศทางของเส้นต่าง ๆ ให้สมดุล มีการให้สี แสง เงาที่ดี มีจุดสนใจโดยเน้นจุดสนใจให้เด่นชัด

2. สื่อความหมายได้ชัดเจน เมื่อผู้ดูดูแล้วจะได้ทราบถึงสิ่งที่ต้องการสื่อความหมาย

3. มีความตัดกันและคมชัด ภาพที่เน้นจุดสนใจจะทำให้ภาพแลดูน่าสนใจ มากกว่าภาพที่ไม่มีการเน้นส่วนสำคัญซึ่งจะทำให้ภาพดูไม่มีมิติ

4. ใช้วัสดุให้เหมาะสม โดยใช้ทรัพยากรอย่างมีคุณค่า ในการออกแบบเพื่อที่จะได้สื่อความหมายให้ตรงกับวัตถุประสงค์ ควรมีการวางแผนหรือวางโครงร่างคร่าว ๆ ก่อน

http://narissaraenglish.blogspot.com/2007/09/1.html

6. การใช้ตัวอักษรและภาพประกอบในงานสิ่งพิมพ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจน ควรมีลักษณะอย่างไร

ตอบ ตัวอักษร

ความแตกต่างของตัวอักษร (Type Face)

Type Face ของตัวอักษรแบบพื้นฐาน มีอยู่ 5 แบบ คือ

1.ตัวอักษรแบบตัวบาง (Light Face) มีความหมายของตัวอักษรน้อยที่สุดในจำนวน 5 แบบ

2.ตัวอักษรที่มีเส้นน้ำหนักหนา (Bold Face)

3.ตัวอักษรที่เหมาะกับงานที่มีเนื้อที่จำกัด (Condenced) เพราะมีขนาดความกว้างแคบ

4.ตัวอักษรที่มีลักษณะเตี้ย แต่มีความกว้างมาก (Extended)

5.ตัวอักษรที่มีลักษณะตัวเอียง (Italic , Obligne)

นอกจากนี้ยังมีแบบของตัวอักษรอีกหลายร้อยแบบ แต่ละแบบอยู่ในลักษณะ 5 แบบ ที่กล่าวมาแล้วข้างต้นทั้งสิ้น เช่นแบบ Universe Bold - Face แบบ Universe Light - Face เป็นต้น Type Face อีกแบบหนึ่งก็คือ ltalicเป็นแบบตัวอักษรที่มีลักษณะเอนตัวไปทางขวา

http://error1704.exteen.com/20080525/type

7. เพราะเหตุใดในการบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ควรใช้คำศัพท์ทางทัศนศิลป์ประกอบลงไปด้วย

ตอบ ด้านทัศนศิลป์

ศึกษาและฝึกปฏิบัติเพื่อให้มีความรู้ ความสามารถเกี่ยวกับ การออกแบบ ดัดแปลงใช้ ทัศนธาตุและองค์ประกอบศิลป์ ประยุกต์ใช้สื่อวัสดุ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีใหม่ๆ สร้างสรรค์งาน ทัศนศิลป์ได้อย่างเหมาะสม แสดงออกถึงความรู้สึกประทับใจในการรับรู้ความงามจากธรรมชาติ ศิลปะและสิ่งแวดล้อม วิเคราะห์วิพากษ์วิจารณ์ผลงานศิลปะเกี่ยวกับทัศนธาตุและความงาม เชื่อมโยงความรู้ทางทัศนศิลป์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ และชีวิตประจำวัน เข้าใจลักษณะผลงานศิลปะไทยและสากลแต่ละยุคสมัย รักและภาคภูมิใจในศิลปะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย รู้วิธีการทำงานทัศนศิลป์ที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมในระดับชาติและนานาชาติ

http://www.pantown.com/board.php?id=11651&name=board2&topic=1&action=view

นาย รติกร แซ่จง เลขที่ 26 ม.4

1. ทัศนธาตุหรือองค์ประกอบทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างไร

ตอบ สำคัญเพราะงานทัศนศิลป์ต้องใช้องค์ประกอบของทัศนธาตุ

นาย บดินทร์ แซ่ย่อง ม.4 เลขที่ 8

1.หลักการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง

ตอบ 1. การจัดองค์ประกอบดี วางตำแหน่งทิศทางของเส้นต่าง ๆ ให้สมดุล มีการให้สี แสง เงาที่ดี มีจุดสนใจโดยเน้นจุดสนใจให้เด่นชัด

2. สื่อความหมายได้ชัดเจน เมื่อผู้ดูดูแล้วจะได้ทราบถึงสิ่งที่ต้องการสื่อความหมาย

3. มีความตัดกันและคมชัด ภาพที่เน้นจุดสนใจจะทำให้ภาพแลดูน่าสนใจ มากกว่าภาพที่ไม่มีการเน้นส่วนสำคัญซึ่งจะทำให้ภาพดูไม่มีมิติ

4. ใช้วัสดุให้เหมาะสม โดยใช้ทรัพยากรอย่างมีคุณค่า ในการออกแบบเพื่อที่จะได้สื่อความหมายให้ตรงกับวัตถุประสงค์ ควรมีการวางแผนหรือวางโครงร่างคร่าว ๆ ก่อน

นาย นัฐวุฒิ ทองมาก ม.4

1 ทัศนธาตุหรือองค์ประกอบทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างไร

ตอบ “องค์ประกอบทัศนศิลป์” คือองค์ประกอบ ที่ประกอบด้วย จุด เส้น สี พื้นผิว ค่าน้ำหนักอ่อนแก่ (แสง-เงา) รูป ร่าง รูปทรง และบริเวณว่าง

ประกอบด้วยองค์ประกอบสำคัญที่เป็นมูลฐาน 7 ประการคือ

1.จุด (Point,Dot) หมายถึง ส่วนประกอบที่เล็กที่สุด เป็นส่วนเริ่มต้นไปสู่ส่วนอื่นๆ

2.เส้น (Line) หมายถึง จุดหลาย ๆ จุดที่เคลื่อนที่ต่อเนื่องไปในที่ว่างเปล่าจากทิศทางการเคลื่อนที่ต่าง ๆ กัน

3. สี (Colour) หมายถึง ลักษณะของแสงสว่างที่ปรากฏแก่สายตาให้เห็นสีต่างกันสีเป็นสิ่งที่มีอิทธิพล ต่อความรู้สึก เมื่อมองเห็น และทำให้เกิดอารมณ์ สะเทือนใจต่าง ๆ

4. พื้นผิว (Texture) หมายถึง คุณลักษณะต่าง ๆ ของผิวด้านหน้าของวัตถุทุกชนิดที่มีลักษณะต่าง ๆ กันเช่นเรียบ ขรุขระ เป็นมันวาว ด้าน เป็นต้น

5. รูปร่าง (Shape) หมายถึง การบรรจบกันของเส้นที่เป็นขอบเขตของวัตถุที่มองเห็นเป็น 2 มิติ คือ มีความกว้างและความยาว 2 ด้านเท่านั้น

รูปทรง (form) หมายถึงรูปลักษณะที่มองเห็นเป็น 3 มิติ คือ มีความกว้างความยาวและความหนาลึก

6. ค่าน้ำหนัก (value) หมายถึง ค่าความอ่อนเข้มของสีที่เกิดจากของสีที่เกิดจากแสงและเงา

7. ช่องว่าง(space) หมายถึง บริเวณที่ว่างเปล่าที่เรียกกันว่า "ช่องไฟ"

ทัศนธาตุเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าองค์ประกอบทัศนศิลป์ หมายถึง สิ่งที่เป็นส่วน

ประกอบสำคัญต่าง ๆ ในงานทัศนศิลป์ ได้แก่ เส้น สี พื้นผิว แสงเงาและช่องว่าง การวาดภาพที่ดี การนำส่วนประกอบสำคัญต่าง ๆ เหล่านี้มาจัดให้เกิดความสมดุลและเกิดความงาม ซึ่งจะทำให้เป็นภาพที่ สมบูรณ์ได้ เรียกว่าการจัดทัศนธาตุหรือการจัดองค์ประกอบของทัศนศิลป์

การจัดองค์ประกอบทัศนศิลป์ เป็นหลักสำคัญสำหรับผู้สร้างสรรค์ และผู้ศึกษางานศิลปะ เนื่องจากผลงานศิลปะใด ๆ ก็ตาม ล้วนมีคุณค่าอยู่ 2 ประการ คือ คุณค่าทางด้านรูปทรงและคุณค่าทางด้านเรื่องราว

2 การพิจารณผลงานชิ้นหนึ่งว่ามีความงามหรือไม่นั้นต้องพิจารณาจากอะไร

ตอบ รูปร่าง รูปทรง สีสัน เส้น รูปร่าง รูปทรง สี น้ำหนัก พื้นผิว

3 เส้นในแต่ละลักษณะให้ความรู้สึกต่อการมองเห็นแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ1. เส้นตั้ง หรือ เส้นดิ่ง ให้ความรู้สึกทางความสูง สง่า มั่นคง แข็งแรง หนักแน่น เป็นสัญลักษณ์ของความซื่อตรง

2. เส้นนอน ให้ความรู้สึกทางความกว้าง สงบ ราบเรียบ นิ่ง ผ่อนคลาย

3. เส้นเฉียง หรือ เส้นทะแยงมุม ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหว รวดเร็ว ไม่มั่นคง

4. เส้นหยัก หรือ เส้นซิกแซก แบบฟันปลา ให้ความรู้สึก คลื่อนไหว อย่างเป็น จังหวะ มีระเบียบ ไม่ราบเรียบ น่ากลัว อันตราย ขัดแย้ง ความรุนแรง

5. เส้นโค้ง แบบคลื่น ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหวอย่างช้า ๆ ลื่นไหล ต่อเนื่อง สุภาพ อ่อนโยน นุ่มนวล

6. เส้นโค้งแบบก้นหอย ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว คลี่คลาย หรือเติบโตในทิศทางที่ หมุนวนออกมา ถ้ามองเข้าไปจะเห็นพลังความเคลื่อนไหวที่ไม่สิ้นสุด

7. เส้นโค้งวงแคบ ให้ความรู้สึกถึงพลังความเคลื่อนไหวที่รุนแรง การเปลี่ยนทิศทาง ที่รวดเร็ว ไม่หยุดนิ่ง

8. เส้นประ ให้ความรู้สึกที่ไม่ต่อเนื่อง ขาด หาย ไม่ชัดเจน ทำให้เกิดความเครียด

4 นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับข้อความที่ว่า สีเป็นองค์ประกอบทัศนศิลป์ที่สำคัญที่สุดในงานจิตกรรม

ตอบ เห็นด้วยเพราะ ที่ปรากฎอยู่ทั่้วไปรอบ ๆ ตัวเรา ไม่ว่าจะเป็นสีที่เกิดขึ้นเองในธรรมชาติ หรือ สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น

สีทำให้เกิดความรู้สึกแตกต่างมากมาย เช่น ทำให้รู้สึกสดใส ร่าเริง ตื่นเต้น หม่นหมอง หรือเศร้าซึมได้

5 หลักการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง

ตอบ 1. ความเป็นหน่วย (Unity)

ในการออกแบบ ผู้ออกแบบจะต้องคำนึงถึงงานทั้งหมดให้อยู่ในหน่วยงานเดียวกัน เป็นกลุ่มก้อน หรือมีความ สัมพันธ์กัน ทั้งหมดของงานนั้นๆ และพิจารณาส่วนย่อยลงไปตามลำดับ ในส่วนย่อยๆก็คงต้องถือหลักนี้เช่นกัน

2. ความสมดุลหรือความถ่วง (Balancing)

เป็น หลักทั่วๆไปของงานศิลปะที่จะต้องดูความสมดุลของงานนั้นๆ ความรู้สึกทางสมดุลของงานนี้ เป็นความรู้สึก ที่เกิดขึ้นในส่วนของความคิดในเรื่องของความงามในสิ่งนั้นๆ มีหลักความสมดุลอยู่ 3 ประการ

2.1 ความสมดุลในลักษณะเท่ากัน (Symmetry Balancing)

คือมีลักษณะเป็นซ้าย-ขวา บน-ล่าง เป็นต้น ความสมดุลในลักษณะนี้ดูและเข้าใจง่าย

2.2 ความสมดุลในลักษณะไม่เท่ากัน (Non-symmetry Balancing) คือ มีลักษณะสมดุลกันในตัวเองไม่จำเป็นจะต้องเท่ากัน แต่ดูในด้านความรู้สึกแล้วเกิดความสมดุลกันในตัว ลักษณะการสมดุลแบบนี้ผู้ออกแบบจะต้องมีการประลองดูให้แน่ใจในความรู้สึกของ ผู้พบเห็นด้วย ซึ่งเป็น ความสมดุลที่เกิดในลักษณะที่แตกต่างกันได้ เช่น ใช้ความสมดุลด้วยผิว (Texture) ด้วยแสง-เงา (Shade) หรือด้วยสี (Colour)

2.3 จุดศูนย์ถ่วง (Gravity Balance) การ ออกแบบใดๆที่เป็นวัตถุสิ่งของและจะต้องใช้งานการทรงตัวจำเป็นที่ผู้ออกแบบจะ ต้องคำนึงถึงจุดศูนย์ถ่วง ได้แก่ การไม่โยกเอียง หรือให้ความรู้สึกไม่มั่นคงแข็งแรง ดังนั้นสิ่งใดที่ต้องการจุศูนย์ถ่วงแล้ว ผู้ออกแบบ จะต้อง ระมัดระวังในสิ่งนี้ให้มาก ตัวอย่างเช่น เก้าอี้จะต้องตั้งตรง ยึดมั่นทั้งสี่ขาเท่าๆกัน การทรงตัวของ คน ถ้ายืน 2 ขา ก็จะต้องมีน้ำหนักลงที่เท้าทั้ง 2 ข้างเท่าๆกัน ถ้ายืนเอียงหรือพิงฝา น้ำหนักตัวก็จะลงเท้าข้างหนึ่ง และ ส่วนหนึ่งจะลงที่หลังพิงฝา รูปปั้นคนในท่าวิ่ง จุดศูนย์ถ่วงจะอยู่ที่ใด ผู้ออกแบบจะต้องรู้และวางรูป ได้ถูกต้อง เรื่อง ของจุดศูนย์ถ่วง จึงหมายถึงการทรงตัวของวัตถุสิ่งของนั่นเอง

3. ความสัมพันธ์ทางศิลปะ ( Relativity of Arts)

ในเรื่องของศิลปะนั้น เป็นสิ่งที่จะต้องพิจารณากันหลายขั้นตอน เพราะเป็นเรื่องความรู้สึกที่สัมพันธ์กัน อันได้แก่

3.1 การเน้นหรือจุดสนใจ ( Emphasis or Centre of Interest) งาน ด้านศิลปะผู้ออกแบบจะต้องมีจุดเน้นให้เกิดสิ่งที่ประทับใจแก่ผู้พบเห็น โดยมีข้อบอกกล่าว เป็นความรู้สึกร่วม ที่เกิดขึ้นเองจากตัวของศิลปกรรมนั้นๆ ความรู้สึกนี้ผู้ออกแบบจะต้องพยายามให้เกิดขึ้นเหมือนกัน

3.2 จุดสำคัญรอง ( Subordinate)

คง คล้ายกับจุดเน้นนั่นเอง แต่มีความสำคัญรองลงไปตามลำดับ ซึ่ง อาจจะเป็นรองส่วนที่ 1 ส่วนที่ 2 ก็ได้ ส่วนนี้จะช่วยให้เกิดความลดหลั่นทางผลงานที่แสดง ผู้ออกแบบจะต้อง คำนึงถึงสิ่งนี้ด้วย

3.3 จังหวะ ( Rhythem)

โดย ทั่วๆไปสิ่งที่สัมพันธ์กันในสิ่งนั้นๆย่อมมีจังหวะ ระยะหรือความถี่ห่างในตัวมันเองก็ดี หรือสิ่งแวดล้อม ที่ สัมพันธ์ อยู่ก็ดี จะเป็นเส้น สี เงา หรือช่วงจังหวะของการตกแต่ง แสงไฟ ลวดลาย ที่มีความสัมพันธ์กัน ในที่นั้น เป็นความรู้สึกของผู้พบเห็นหรือผู้ออกแบบจะรู้สึกในความงามนั่นเอง

3.4 ความต่างกัน ( Contrast)

เป็น ความรู้สึกที่เกิดขึ้นเพื่อช่วยให้มีการเคลื่อนไหวไม่ซ้ำซากเกินไป หรือเกิดความเบื่อหน่าย จำเจ ในการ ตกแต่ง ก็เช่นกัน ปัจจุบันผู้ออกแบบมักจะหาทางให้เกิดความรู้สึกขัดกันต่างกัน เช่น เก้าอี้ชุดสมัยใหม่ แต่ขณะ เดียวกันก็มีเก้าอี้สมัยรัชกาลที่ 5 อยู่ด้วย 1 ตัว เช่นนี้ผู้พบเห็นจะเกิดความรู้สึกแตกต่างกัน ทำให้เกิดความรู้สึก ไม่ซ้ำซาก รสชาติแตกต่างออกไป

3.5 ความกลมกลืน ( Harmomies) ความกลมกลืนในที่นี้หมายถึงพิจารณาในส่วนรวมทั้งหมดแม้จะมีบางอย่างที่แตก ต่างกัน การใช้สีที่ตัดกัน หรือ การใช้ผิว ใช้เส้นที่ขัดกัน ความรู้สึกส่วนน้อยนี้ไม่ทำให้ส่วนรวมเสียก็ถือว่าเกิดความกลมกลืนกันในส่วน รวม ความกลมกลืนในส่วนรวมนี้ถ้าจะแยกก็ได้แก่ความเน้นไปในส่วนมูลฐานทางศิลปะอัน ได้แก่ เส้น แสง-เงา รูปทรง ขนาด ผิว สี นั่นเอง

6 การใช้ตัวอักษรและภาพประกอบในงานสิ่งพิมพ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจน ควรมีลักษณะอย่างไร

ตอบ การเลือกใช้องค์ประกอบอย่างสม่ำเสมอ เช่น การเลือกใช้แบบตัวอักษรเดียวกัน การเลือกใช้ภาพขาวดำ ทั้งหมดเป็นต้น

การสร้างความต่อเนื่องกันให้องค์ประกอบ องค์ประกอบ เช่น การจัดให้พาดหัววางทับลงบนภาพ การใช้

ตัวอักษรที่เป็นข้อความ ล้อตามทรวดทรง ของภาพ เป็นต้น

การเว้นพื้นที่ว่างรอบองค์ประกอบทั้งหมด ซึ่งจะทำให้พื้นที่ว่างนั้นทำหน้าที่เหมือนกรอบสีขาวล้อมรอบ

องค์ประกอบทั้งหมดไว้ภายในช่วยให้องค์ ประกอบทั้งหมดดูเหมือนว่าอยู่กันอย่างเป็นกลุ่มเป็นก้อน

7 เพราะเหตุใดในการบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ควรใช้คำศัพท์ทางทัศนศิลป์ประกอบลงไปด้วย

ตอบ เพื่อทำให้เกิดความเข้าใจมากขึ้นสำหรับ ผู้ชม ผู้อ่าน และ เข้าใจความหมายของภาพมากขึ้น

น.ส.อรวรรณ แซ่ซำ เลขที่ 14 ม.4

1 ทัศนธาตุหรือองค์ประกอบทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างไร

ตอบ ทัศนศิลป์ คือ กระบวนการถ่ายทอดผลงานทางศิลปะ การทำงานศิลปะอย่างมีจิตนาการความคิดสร้างสรรค์มีระบบระเบียบ

เป็นขั้นเป็นตอน การสร้างสรรค์งานอย่างมีประสิทธิภาพสวยงาม มีการปฏิบัติงานตามแผนและมีการพัฒนาผลงานให้ดีขึ้นต่อเนื่อง

ทัศนศิลป์คือการรับรู้ทางจักษุประสาท โดยการมองเห็น สสาร วัตถุ และสรรพสิ่งต่าง ๆ ที่เข้ามากระทบ รวมถึงมนุษย์ และสัตว์ จะด้วยการหยุดนิ่ง หรือเครื่อนไหวก็ตาม หรือจะด้วยการปรุงแต่ง หรือไม่ปรุงแต่งก็ตาม ก่อให้เกิดปัจจัยสมมุติต่อจิตใจ และอารมณ์

ของมนุษย์ อาจจะป็นไปในทางเดียวกันหรือไม่ก็ตาม

ทัศนศิลป์เป็นการแปลความหมายทางศิลปะ ที่แตกต่างกันไปแต่ละมุมมอง ของแต่ละบุคคล ในงานศิลปะชิ้นเดียวกัน

ซึ่งไร้ขอบเขตทางจินตนาการ ไม่มีกรอบที่แน่นอน ขึ้นกับอารมณ์ของบุคคลในขณะนั้น

ทัศนศิลป์ เป็นส่วนหนึ่งของวิจิตรศิลป์ ซึ่งเป็นศิลปะที่เน้นคุณค่าทางด้านจิตใจและอารมณ์เป็นสำคัญ

ทัศนศิลป์ มีความหมายตรงกับภาษาอังกฤษว่า Visual Art หมายถึง ศิลปะที่มองเห็น หรือศิลปะที่สามารถสัมผัส รับรู้

ชื่นชมด้วยประสาทตา สัมผัสจับต้องได้ และกินเนื้อที่ในอากาศ

ทัศนศิลป์ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ จิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปัตยกรรม ตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์จนถึงสมัยปัจจุบัน เราพบเห็นความสามารถในผลงานของมนุษย์ ทั้งด้านความคิด ฝีมือ ที่ได้พยายาม

จินตนาการ คิดค้น เพื่อสนองความต้องการในการดำรงชีวิตประจำวัน ให้ทั้งประโยชน์ใช้สอย และสิ่งสวยงามประณีต เพื่อจรรโลง

ด้านจิตใจ ความเชื่อ ความศรัทธา ไว้ประดับโลก นอกจากนี้ยังต้องการให้ผู้พบเห็นเกิดความรู้สึกรับรู้ คล้อยตามชื่นชมไปด้วย

http://www.thaigoodview.com/node/17307

2 การพิจารณผลงานชิ้นหนึ่งว่ามีความงามหรือไม่นั้นต้องพิจารณาจากอะไร

ตอบ เราไม่สามารถตัดสินได้ว่างานชิ้นไหนดีหรือไม่ดีการเสพงานศิลปะนั้นเราใช้เพียงแต่ความรู้สึกในการทำความเข้าใจงานศิลปะดังนั้นความเข้าใจในงานศิลปะของแต่ละคนนั้นก็ขึ้นอยู่กับประสบการณ์และภูมิความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับศิลปะของแต่ละคนด้วยการเสพงานศิลปะนั้นก็ต้องใช้ประสาทสัมผัสในด้านต่าง ๆที่แตกต่างกันในการเลือกเสพงาน ซึ่งงานศิลปะส่วนใหญ่จะเป็นงานการเสพทางสายตาการมองเห็นเป็นประสาทสัมผัสหนึ่งที่ทำให้มนุษย์เห็นถึงความชัดเจนในการทำความเข้าใจสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้ง่ายเพราะในความคิดของแต่ละคนจะมีกรอบควมคิดหรือกรอบภาพจิตนาการสิ่งต่าง ๆไว้ในความคิดอยู่แล้วซึ่งได้รับมาจากประสบการณ์ของแต่ละคนจึงทำให้การรับรู้ความงามในศิลปะนั้นมีระดับที่แตกต่างกันหรือแม้แต่การใช้ประสาทรับรู้ที่แตกต่างกันก็ทำให้การเข้าถึงสุนทรียต่างกันด้วยเช่นกัน

http://getzophongraktham.exteen.com/20090820/entry

3 เส้นในแต่ละลักษณะให้ความรู้สึกต่อการมองเห็นแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ

1. เส้นตั้ง หรือ เส้นดิ่ง ให้ความรู้สึกทางความสูง สง่า มั่นคง แข็งแรง หนักแน่น เป็นสัญลักษณ์ของความซื่อตรง

2. เส้นนอน ให้ความรู้สึกทางความกว้าง สงบ ราบเรียบ นิ่ง ผ่อนคลาย

3. เส้นเฉียง หรือ เส้นทะแยงมุม ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหว รวดเร็ว ไม่มั่นคง

4. เส้นหยัก หรือ เส้นซิกแซก แบบฟันปลา ให้ความรู้สึก คลื่อนไหว อย่างเป็น จังหวะ มีระเบียบ ไม่ราบเรียบ น่ากลัว อันตราย ขัดแย้ง ความรุนแรง

5. เส้นโค้ง แบบคลื่น ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหวอย่างช้า ๆ ลื่นไหล ต่อเนื่อง สุภาพ อ่อนโยน นุ่มนวล

6. เส้นโค้งแบบก้นหอย ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว คลี่คลาย หรือเติบโตในทิศทางที่ หมุนวนออกมา ถ้ามองเข้าไปจะเห็นพลังความเคลื่อนไหวที่ไม่สิ้นสุด

7. เส้นโค้งวงแคบ ให้ความรู้สึกถึงพลังความเคลื่อนไหวที่รุนแรง การเปลี่ยนทิศทาง ที่รวดเร็ว ไม่หยุดนิ่ง

8. เส้นประ ให้ความรู้สึกที่ไม่ต่อเนื่อง ขาด หาย ไม่ชัดเจน ทำให้เกิดความเครียด

http://www.mew6.com/composer/art/line.php

4.นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับข้อความที่ว่า สีเป็นองค์ประกอบทัศนศิลป์ที่สำคัญที่สุดในงานจิตกรรม

ตอบ เห็นด้วย เพราะว่าถ้าเกิดว่าไม่สีดูรูปภาพเหมือนกับไม่มีความหมายเลยในภาพที่คุณวาด ทำให้ขาดความสมจริงยิ่งขึ้น

5. หลักการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง

ตอบ 1. การจัดองค์ประกอบดี วางตำแหน่งทิศทางของเส้นต่าง ๆ ให้สมดุล มีการให้สี แสง เงาที่ดี มีจุดสนใจโดยเน้นจุดสนใจให้เด่นชัด

2. สื่อความหมายได้ชัดเจน เมื่อผู้ดูดูแล้วจะได้ทราบถึงสิ่งที่ต้องการสื่อความหมาย

3. มีความตัดกันและคมชัด ภาพที่เน้นจุดสนใจจะทำให้ภาพแลดูน่าสนใจ มากกว่าภาพที่ไม่มีการเน้นส่วนสำคัญซึ่งจะทำให้ภาพดูไม่มีมิติ

4. ใช้วัสดุให้เหมาะสม โดยใช้ทรัพยากรอย่างมีคุณค่า ในการออกแบบเพื่อที่จะได้สื่อความหมายให้ตรงกับวัตถุประสงค์ ควรมีการวางแผนหรือวางโครงร่างคร่าว ๆ ก่อน

http://narissaraenglish.blogspot.com/2007/09/1.html

6 .การใช้ตัวอักษรและภาพประกอบในงานสิ่งพิมพ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจน ควรมีลักษณะอย่างไร

ตอบ ตัวอักษร

ความแตกต่างของตัวอักษร (Type Face)

Type Face ของตัวอักษรแบบพื้นฐาน มีอยู่ 5 แบบ คือ

1.ตัวอักษรแบบตัวบาง (Light Face) มีความหมายของตัวอักษรน้อยที่สุดในจำนวน 5 แบบ

2.ตัวอักษรที่มีเส้นน้ำหนักหนา (Bold Face)

3.ตัวอักษรที่เหมาะกับงานที่มีเนื้อที่จำกัด (Condenced) เพราะมีขนาดความกว้างแคบ

4.ตัวอักษรที่มีลักษณะเตี้ย แต่มีความกว้างมาก (Extended)

5.ตัวอักษรที่มีลักษณะตัวเอียง (Italic , Obligne)

นอกจากนี้ยังมีแบบของตัวอักษรอีกหลายร้อยแบบ แต่ละแบบอยู่ในลักษณะ 5 แบบ ที่กล่าวมาแล้วข้างต้นทั้งสิ้น เช่นแบบ Universe Bold - Face แบบ Universe Light - Face เป็นต้น Type Face อีกแบบหนึ่งก็คือ ltalicเป็นแบบตัวอักษรที่มีลักษณะเอนตัวไปทางขวา

สิ่งที่ต้องคำนึงถึงในการใช้ตัวอักษร

1. ช่องไฟ (World Spacing) เนื้อที่ว่างระหว่างคำ มีความสำคัญมากต่อการอ่าน ถ้าหากช่องไฟมีเนื้อที่มากหรือน้อยเกินไปจะทำให้ข้อความนั้นไม่สวยหรืออ่านยาก แต่ในบางครั้งการออกแบบก็สามารถใช้ช่องไฟห่าง ๆ ในการออกแบบ

การจัดช่องไฟของตัวอักษรในภาษาต่าง ๆ มักมี 3 ลักษณะ คือ

1.ระยะระหว่างตัวอักษร ควรมีระยะพอเหมาะไม่เบียดหรือชิดเกินไป

2.ระยะระหว่างคำ ในภาษาไทยอาจมีใช้น้อย แต่ในภาษาอังกฤษจำเป็น อยู่ห่างกันจะเกิดช่องสีขาว

3.ระยะระหว่างบรรทัด ส่วนใหญ่เรียกว่า Leading

การจัดช่องไฟตัวอักษรนี้ เป็นข้อควรคำนึงที่นักออกแบบต้องทราบเป็นอย่างดี เพราะการจัดช่องไฟของตัวอักษรจะต้องมีความสัมพันธ์กับขนาดรูปเล่ม จำนวนหน้า การจัดแบ่งคอลัมน์และรูปแบบ

2. ความห่างระหว่างบรรทัด (Leading) ขึ้นอยู่กับของตัวหนังสือ และความยาวของข้อความ การนำตัวอักษรแต่ละตัวหรือแต่ละคำมาเรียงกันเป็นบรรทัด อาจทำให้หลายแบบ ดังนี้

-เสมอหน้า ตัวอักษรจะเรียงชิดเส้นขอบหน้า ส่วนปลายบรรทัดด้านขวาจะขาดหรือเกินก็ได้

-เสมอหลัง ตัวอักษรเรียงชิดขอบด้านหลัง ส่วนปลายบรรทัดด้านซ้ายจะขาดหรือเกินก็ได้

-วางไม่สมดุล จะเรียงบรรทัดไหนอย่างไรก็ได้ แต่เมื่อดูรวม ๆ กันแล้ว ต้องให้เกิดความสมดุล

-วางรอบภาพประกอบ เป็นการจัดตัวอักษรรวมกับภาพประกอบวางในทิศทาง ต่าง ๆ เช่น วางเอียง วางทแยง วางเป็นเส้นตรง

การใช้ตัวอักษรในงานสิ่งพิมพ์โฆษณา (Design With Type)

การเลือกใช้ตัวอักษรมีความสำคัญมากในงานโฆษณา เป็นส่วนที่เกี่ยวข้องในการออกแบบโฆษณาและเกี่ยวข้องกับทุก ๆ องค์ประกอบ สิ่งที่ควรคำนึงถึงในการโฆษณาเกี่ยวกับตัวอักษรก็คือ ขนาดของตัวอักษร ซึ่งในที่นี้กล่าวถึงตัวอักษรภาษาอังกฤษเป็นส่วนใหญ่ ในงานโฆษณานั้นตัวอักษรภาษาอังกฤษแบ่งออกเป็น 2 ตัวอักษร พวกใหญ่ ๆ คือ

1. Upper Case ได้แก่ ตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวใหญ่ เช่น A, B, C, ฯลฯ

2. Lower Case ได้แก่ ตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวเล็ก a, b, c, d ฯลฯ

นอกจากนี้ ตัวอักษรภาษาอังกฤษยังมีลักษณะแตกต่างกันอยู่อีก คือ

1. ลักษณะพวกที่มี Serif คือ ขีดส่วนบนและล่างของ Upper case ซึ่งเกิดในสมัยโรมัน เพราะการจารึกในสมัยนั้นตัวโย้ไปโย้มา จึงต้องสร้าง Serif ขึ้นมาให้อยู่ในแนวเดียวกัน

2. ส่วนที่ไม่มี Serif เรียกว่า San Serif

2.1 Agate (ใช้เฉพาะงานหนังสือพิมพ์) 14 Agate = 1

2.2 EM = ขนาดของ Type ที่ใช้ประโยชน์ในการจัดช่องไฟ = 1EM ใช้ความสูง (x-Height) เป็นหลัก

2.3 EM = 12

ขนาด 5pt ขึ้นไปจะเห็นด้วยตัวเปล่า ในการวัดถ้าเกิน 5pt-96pt จะวัดเป็นนิ้วหรือเซนติเมตร ขนาดของตัวอักษร ถ้าเล็กกว่า 15 pt เรียกว่า Text Type ถ้าใหญ่เกินกว่า 15pt เรียกว่า

Display Type

การเปรียบเทียบลักษณะในการใช้ Type Face

1. Upper Case กับ Lower Case

Lower Case จะอ่านง่ายกว่า Upper Case และ Lower Case มีส่วนที่ยื่นออกมา (Assender และ Desender) จะเป็นตัวช่วยให้อ่านง่าย แต่ Upper Case ไม่มี Assender กับ Desender ทำให้อ่านได้ยากกว่า

2. Serif กับ San Serif ตัวอักษรที่มี Serif อ่านง่ายกว่าพวกที่ไม่มี San Serif เพราะ Serif เป็นตัวช่วยเสริมเส้นต่อตัวอักษรแต่ละตัว ทำให้ตัวอักษรอยู่ในแนวเดียวกัน ทำให้สะดวกต่อการอ่าน

3. Black On White กับ White On Black ตัวหนังสือดำบนพื้นขาว ให้ความรู้สึกเป็นธรรมชาติ ส่วนตัวหนังสือขาวบนพื้นดำ จะมีแสงสะท้อนเข้าตาได้น้อยทำให้อ่านได้ยากกว่า แต่มีความน่าสนใจกว่า เด่นกว่า พอใช้ได้กับข้อความที่ไม่ยาวนัก

4. Bold Face กับ light Face ตัวอักษรหนา Bold Face อ่านยากกว่า Light Face ตัวบาง เพราะอักษรตัวหนามีความหนาอ้วนของตัวอักษรทำให้อ่านยาก ดูหนากว่า ไม่มีรายละเอียดของตัวอักษรมากเหมือน Light Face

อารมณ์ความรู้สึกที่ได้รับจากการอ่านตัวอักษรคนละแบบ

ตัวอักษรแต่ละแบบจะให้อารมณ์ความรู้สึกในการอ่านแตกต่างกันออกไป การเลือกใช้ตัวอักษรจึงมีความสำคัญมากในการออกแบบสิ่งพิมพ์ เช่น ถ้าสินค้าเป็นผู้หญิง ใช้ตัวอักษรที่ นุ่มนวลอ่อนหวาน และอาศัยการจัดของผู้หญิง มาสร้างอารมณ์ให้กับงานโฆษณาของเรา การโฆษณาจะให้ผลสามารถดึงดูดสร้างอารมณ์กับผู้อ่าน กระตุ้นผู้อ่านให้เกิดการเลือกสินค้าหรือบริการได้ การใช้ความยาวของบรรทัดยาว ต้องการช่องว่างห่างมาก

Type Face ที่มีผลต่อการอ่าน

ในการใช้ตัวอักษร ควรคำนึงถึงความสะดวกในการอ่านเป็นสำคัญ ควรอ่านง่าย ไม่ ยุ่งยากมากนัก และไม่ทำให้คนอ่านเข้าใจความหมายผิด Type Face ที่เลือกควรมีความสบายในการอ่าน

ลักษณะของตัวอักษรที่มีผลต่อความรู้สึกในการอ่าน และเลือกประเภทของ Copy ที่ใช้ให้เหมาะสม ดังนี้

1. ให้ความรู้สึกเป็นผู้ชายเข้มแข็ง ควรเลือกใช้ตัวอักษรที่มี Serif และจัด Copy แบบเสมอหน้าปล่อยหลัง

2. ต้องการพลังงาน ความแข็งแกร่ง ควรเลือกตัวอักษร San Serif, และเป็นแบบ Bold ควรจัด Copy, แบบเสมอหน้าปล่อยหลัง

3. ต้องการให้ความรู้สึกเกิดเป็นผู้หญิง ควรเลือกตัวอักษรแบบ Light Face ทั้งหลายและควรเป็นอักษร Italic (ตัวเอียง) แบบ Light Face การจัด Copy จัดได้ 2 แบบ คือ แบบเสมอหน้า ปล่อยหลัง กับแบบเสมอหลัง หน้าปล่อย

4. ความรู้สึกตื่นเต้น สนุกสนาน ควรใช้ Type Face หลาย ๆ แบบผสมกัน การจัด Copy จัดแบบเสมอกลาง (Centered)

http://error1704.exteen.com/20080525/type

7.เพราะเหตุใดในการบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ควรใช้คำศัพท์ทางทัศนศิลป์ประกอบลงไปด้วย

ตอบ เพื่อสื่อให้ผู้ชมเข้าใจถึงผลงานและจะทำให้เกิดความชัดเจนของภาพที่บรรยายทำเกิดอารมณ์ศิลป์ต่อผู้ฟังและผู้บรรยายยิ่งขึ้น

นาย อุทัย แซ่เลี่ยง ม.4/1 เลขที่ 17

1 ทัศนธาตุหรือองค์ประกอบทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างไร

ตอบ กระบวนการถ่ายทอดผลงานทางศิลปะ การทำงานศิลปะอย่างมีจิตนาการความคิดสร้างสรรค์มีระบบระเบียบ

เป็นขั้นเป็นตอน การสร้างสรรค์งานอย่างมีประสิทธิภาพสวยงาม มีการปฏิบัติงานตามแผนและมีการพัฒนาผลงานให้ดีขึ้นต่อเนื่อง

2 การพิจารณผลงานชิ้นหนึ่งว่ามีความงามหรือไม่นั้นต้องพิจารณาจากอะไร

ตอบ ความสมดุลในการจัดวางรูปภาพ การลงสี ความคิดของผู้ที่วาด การลงเส้น

3 เส้นในแต่ละลักษณะให้ความรู้สึกต่อการมองเห็นแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ 1. เส้นตั้ง หรือ เส้นดิ่ง ให้ความรู้สึกทางความสูง สง่า มั่นคง แข็งแรง หนักแน่น เป็นสัญลักษณ์ของความซื่อตรง

2. เส้นนอน ให้ความรู้สึกทางความกว้าง สงบ ราบเรียบ นิ่ง ผ่อนคลาย

3. เส้นเฉียง หรือ เส้นทะแยงมุม ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหว รวดเร็ว ไม่มั่นคง

4. เส้นหยัก หรือ เส้นซิกแซก แบบฟันปลา ให้ความรู้สึก คลื่อนไหว อย่างเป็น จังหวะ มีระเบียบ ไม่ราบเรียบ น่ากลัว อันตราย ขัดแย้ง ความรุนแรง

5. เส้นโค้ง แบบคลื่น ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหวอย่างช้า ๆ ลื่นไหล ต่อเนื่อง สุภาพ อ่อนโยน นุ่มนวล

6. เส้นโค้งแบบก้นหอย ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว คลี่คลาย หรือเติบโตในทิศทางที่ หมุนวนออกมา ถ้ามองเข้าไปจะเห็นพลังความเคลื่อนไหวที่ไม่สิ้นสุด

7. เส้นโค้งวงแคบ ให้ความรู้สึกถึงพลังความเคลื่อนไหวที่รุนแรง การเปลี่ยนทิศทาง ที่รวดเร็ว ไม่หยุดนิ่ง

8. เส้นประ ให้ความรู้สึกที่ไม่ต่อเนื่อง ขาด หาย ไม่ชัดเจน ทำให้เกิดความเครียด

4 นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับข้อความที่ว่า สีเป็นองค์ประกอบทัศนศิลป์ที่สำคัญที่สุดในงานจิตกรรม

ตอบ เห็นด้วย เพราะ สิ่งที่ปรากฎอยู่ทั่้วไปรอบ ๆ ตัวเรา ไม่ว่าจะเป็นสีที่เกิดขึ้นเองในธรรมชาติ หรือ สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น

สีทำให้เกิดความรู้สึกแตกต่างมากมาย เช่น ทำให้รู้สึกสดใส ร่าเริง ตื่นเต้น หม่นหมอง หรือเศร้าซึมได้

5 หลักการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง

ตอบ 1. การจัดองค์ประกอบดี วางตำแหน่งทิศทางของเส้นต่าง ๆ ให้สมดุล มีการให้สี แสง เงาที่ดี มีจุดสนใจโดยเน้นจุดสนใจให้เด่นชัด

2. สื่อความหมายได้ชัดเจน เมื่อผู้ดูดูแล้วจะได้ทราบถึงสิ่งที่ต้องการสื่อความหมาย

3. มีความตัดกันและคมชัด ภาพที่เน้นจุดสนใจจะทำให้ภาพแลดูน่าสนใจ มากกว่าภาพที่ไม่มีการเน้นส่วนสำคัญซึ่งจะทำให้ภาพดูไม่มีมิติ

4. ใช้วัสดุให้เหมาะสม โดยใช้ทรัพยากรอย่างมีคุณค่า ในการออกแบบเพื่อที่จะได้สื่อความหมายให้ตรงกับวัตถุประสงค์ ควรมีการวางแผนหรือวางโครงร่างคร่าว ๆ ก่อน

6 การใช้ตัวอักษรและภาพประกอบในงานสิ่งพิมพ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจน ควรมีลักษณะอย่างไร

ตอบ การใช้ตัวอักษรในงานออกแบบสิ่งพิมพ์

• ใช้บอกกล่าวข้อความที่องค์ประกอบอื่นไม่สามารถสื่อออกมาได้

• ดึงดูดให้เกิดความสนใจด้วยขนาด สีสันและข้อความที่เร้าใจ

• จัดลำดับความสำคัญและบอกเล่ารายละเอียดโดยจัดทำหัวข้อหลัก หัวข้อรอง และเนื้อหา ฯลฯ

• สามารถจัดเรียงตัวอักษรประกอบเป็นภาพ หรือรูปทรงต่าง ๆ โดยใช้แบบอักษร ขนาด และสีสัน ที่ต่าง ๆ กัน

• สามารถจัดแบ่งเป็นกลุ่มก้อน จัดวางและใช้ช่องไฟ สีสันตลอดจนองค์ประกอบอื่นในการแบ่งแยกให้เป็นระเบียบ ง่ายต่อการสื่อสาร และดูสวยงาม

• ใช้ขยายความ หรืออธิบายภาพประกอบต่าง ๆ

7 เพราะเหตุใดในการบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ควรใช้คำศัพท์ทางทัศนศิลป์ประกอบลงไปด้วย

ตอบ เพราะจะทำให้เข้าใจมากยิ่งขึ้นและดูเป็นทางการมากกว่า

นายพงศ์พัทธ์ วงศไชย ม.4 เลขที่ 33

1 ทัศนธาตุหรือองค์ประกอบทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างไร

ตอบ ทัศนธาตุ(Visual Elements ) คือส่วนประกอบของผลงานทัศนศิลป์ที่มองเห็นได้ซึ่งได้แก่ จุด เส้น รูปร่างรูปทรง แสงเงา สี บริเวณว่าง และพื้นผิวซึ่งส่วนประกอบย่อย

2 การพิจารณผลงานชิ้นหนึ่งว่ามีความงามหรือไม่นั้นต้องพิจารณาจากอะไร

ตอบ องศ์ประกอบของภาพเเละการลงสีการระบายสี

3 เส้นในแต่ละลักษณะให้ความรู้สึกต่อการมองเห็นแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ 1. เส้นตั้ง หรือ เส้นดิ่ง ให้ความรู้สึกทางความสูง สง่า มั่นคง แข็งแรง หนักแน่น เป็นสัญลักษณ์ของความซื่อตรง

2. เส้นนอน ให้ความรู้สึกทางความกว้าง สงบ ราบเรียบ นิ่ง ผ่อนคลาย

3. เส้นเฉียง หรือ เส้นทะแยงมุม ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหว รวดเร็ว ไม่มั่นคง

4. เส้นหยัก หรือ เส้นซิกแซก แบบฟันปลา ให้ความรู้สึก คลื่อนไหว อย่างเป็น จังหวะ มีระเบียบ ไม่ราบเรียบ น่ากลัว อันตราย ขัดแย้ง ความรุนแรง

5. เส้นโค้ง แบบคลื่น ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหวอย่างช้า ๆ ลื่นไหล ต่อเนื่อง สุภาพ อ่อนโยน นุ่มนวล

6. เส้นโค้งแบบก้นหอย ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว คลี่คลาย หรือเติบโตในทิศทางที่ หมุนวนออกมา ถ้ามองเข้าไปจะเห็นพลังความเคลื่อนไหวที่ไม่สิ้นสุด

7. เส้นโค้งวงแคบ ให้ความรู้สึกถึงพลังความเคลื่อนไหวที่รุนแรง การเปลี่ยนทิศทาง ที่รวดเร็ว ไม่หยุดนิ่ง

8. เส้นประ ให้ความรู้สึกที่ไม่ต่อเนื่อง ขาด หาย ไม่ชัดเจน ทำให้เกิดความเครียด

4 นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับข้อความที่ว่า สีเป็นองค์ประกอบทัศนศิลป์ที่สำคัญที่สุดในงานจิตกรรม

ตอบ เห็นด้วย เพราะการวาดภาพนั้นหากขาดสีไปภาพก็จะดูจืดเเละดูไม่เหมือนจริง

5 หลักการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง

ตอบ 1. การจัดองค์ประกอบดี วางตำแหน่งทิศทางของเส้นต่าง ๆ ให้สมดุล มีการให้สี แสง เงาที่ดี มีจุดสนใจโดยเน้นจุดสนใจให้เด่นชัด

2. สื่อความหมายได้ชัดเจน เมื่อผู้ดูดูแล้วจะได้ทราบถึงสิ่งที่ต้องการสื่อความหมาย

3. มีความตัดกันและคมชัด ภาพที่เน้นจุดสนใจจะทำให้ภาพแลดูน่าสนใจ มากกว่าภาพที่ไม่มีการเน้นส่วนสำคัญซึ่งจะทำให้ภาพดูไม่มีมิติ

4. ใช้วัสดุให้เหมาะสม โดยใช้ทรัพยากรอย่างมีคุณค่า ในการออกแบบเพื่อที่จะได้สื่อความหมายให้ตรงกับวัตถุประสงค์ ควรมีการวางแผนหรือวางโครงร่างคร่าว ๆ ก่อน

6 การใช้ตัวอักษรและภาพประกอบในงานสิ่งพิมพ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจน ควรมีลักษณะอย่างไร

ตอบ องค์ประกอบต่าง ๆ ของการออกแบบสามารถนำมาใช้ประกอบกันเมื่อเริ่มคิดแบบและวางเลย์เอ้าท์ เป็นสิ่งที่ช่วยให้มีจุดยืนในการเริ่มต้นออกแบบ และเพิ่มความหลากหลายของงาน องค์ประกอบของการออกแบบ

การใช้ตัวอักษรในงานออกแบบสิ่งพิมพ์

• ใช้บอกกล่าวข้อความที่องค์ประกอบอื่นไม่สามารถสื่อออกมาได้

• ดึงดูดให้เกิดความสนใจด้วยขนาด สีสันและข้อความที่เร้าใจ

• จัดลำดับความสำคัญและบอกเล่ารายละเอียดโดยจัดทำหัวข้อหลัก หัวข้อรอง และเนื้อหา ฯลฯ

• สามารถจัดเรียงตัวอักษรประกอบเป็นภาพ หรือรูปทรงต่าง ๆ โดยใช้แบบอักษร ขนาด และสีสัน ที่ต่าง ๆ กัน

• สามารถจัดแบ่งเป็นกลุ่มก้อน จัดวางและใช้ช่องไฟ สีสันตลอดจนองค์ประกอบอื่นในการแบ่งแยกให้เป็นระเบียบ ง่ายต่อการสื่อสาร และดูสวยงาม

7. เพราะเหตุใดในการบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ควรใช้คำศัพท์ทางทัศนศิลป์ประกอบลงไปด้วย

ตอบ เพื่อจะได้อารมณ์ในงานศิลปะลึกซึ้งยิ่งขึ้น

น.ส ปริมผกา อังกนวรกุล ชั้น ม.4 เลขที่ 25

1 ทัศนธาตุหรือองค์ประกอบทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างไร

ตอบ.ทำให้ภาพที่เราทำดูสวยงามและทำให้ภาพที่เราวาดนั้นเหมือนจริงมากยิ่งขึ้น มีความสมดุล ว่าตรงนี้ควรวาดอย่างไรดี วาดแล้วเหมาะกับภาพหรือป่าว

2 การพิจารณผลงานชิ้นหนึ่งว่ามีความงามหรือไม่นั้นต้องพิจารณาจากอะไร

ตอบ การระบายสี ว่ามีการลงที่สมดุล หรือป่าว

3 เส้นในแต่ละลักษณะให้ความรู้สึกต่อการมองเห็นแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ เส้นตั้งตรง เหมือนคนยืน เหมือนต้นเสา ต้นไม้ เป็นสัญลักษณ์ของความมั่นคง เคร่งขรึม เอาจริงเอาจัง

เส้นตรงแนวนอน เป็นลักษณะของคนนอน ต้นไม้ล้ม หรือเส้นขอบฟ้า แสดงถึงอารมณ์ที่ราบเรียบ ผ่อนคลาย สงบเงียบ

เส้นทะแยงมุม เหมือนกับต้นไม้ใบหญ้าที่โอนเอนเมื่อถูกลมพัด ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหวที่รุนแรง และความมีชีวิตชีวา

เส้นโค้งคดเคี้ยว ที่ต่อเนื่องอย่างนุ่มนวล เป็นความสนุกสนาน ความกลมกลืน และความเป็นหนุ่มเป็นสาว

เส้นที่แตกเป็นแฉกแหลมๆ เหมือนเส้นสายฟ้า เป็นสัญลักษณ์ของความโกรธ ความตื่นเต้นระทึกใจ

เส้นที่ตั้งขึ้นแล้วโค้งลงเหมือนไม้เลื้อย ให้อารมณ์หม่นหมอง เศร้าสลด เช่นเดียวกับคนก้มหน้าร้องไห้

4 นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับข้อความที่ว่า สีเป็นองค์ประกอบทัศนศิลป์ที่สำคัญที่สุดในงานจิตกรรม

ตอบ เห็นด้วยเพราะ สีเป็นศิลป์ที่สำคัญต่อการวาดรูป

5 หลักการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง

ตอบ หลักการออกแบบ ซึ่งมีอยู่ 7 ประการคือ

1. เอกภาพ

2. ดุลยภาพ

3. ความกลมกลืน

4. ความขัดแย้ง

5. สัดส่วน

6. ช่วงจังหวะ

7. การเน้น

6 การใช้ตัวอักษรและภาพประกอบในงานสิ่งพิมพ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจน ควรมีลักษณะอย่างไร

ตอบ องค์ประกอบต่าง ๆ ของการออกแบบสามารถนำมาใช้ประกอบกันเมื่อเริ่มคิดแบบและวางเลย์เอ้าท์ เป็นสิ่งที่ช่วยให้มีจุดยืนในการเริ่มต้นออกแบบ และเพิ่มความหลากหลายของงาน องค์ประกอบของการออกแบบ

การใช้ตัวอักษรในงานออกแบบสิ่งพิมพ์

• ใช้บอกกล่าวข้อความที่องค์ประกอบอื่นไม่สามารถสื่อออกมาได้

• ดึงดูดให้เกิดความสนใจด้วยขนาด สีสันและข้อความที่เร้าใจ

• จัดลำดับความสำคัญและบอกเล่ารายละเอียดโดยจัดทำหัวข้อหลัก หัวข้อรอง และเนื้อหา ฯลฯ

• สามารถจัดเรียงตัวอักษรประกอบเป็นภาพ หรือรูปทรงต่าง ๆ โดยใช้แบบอักษร ขนาด และสีสัน ที่ต่าง ๆ กัน

• สามารถจัดแบ่งเป็นกลุ่มก้อน จัดวางและใช้ช่องไฟ สีสันตลอดจนองค์ประกอบอื่นในการแบ่งแยกให้เป็นระเบียบ ง่ายต่อการสื่อสาร และดูสวยงาม

• ใช้ขยายความ หรืออธิบายภาพประกอบต่าง ๆ

7 เพราะเหตุใดในการบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ควรใช้คำศัพท์ทางทัศนศิลป์ประกอบลงไปด้วย

ตอบ...

ทัศนศิลป์คือการรับรู้ทางจักษุประสาท โดยการมองเห็น สสาร วัตถุ และสรรพสิ่งต่าง ๆ ที่เข้ามากระทบ รวมถึงมนุษย์ และสัตว์ จะด้วยการหยุดนิ่ง หรือเครื่อนไหวก็ตาม หรือจะด้วยการปรุงแต่ง หรือไม่ปรุงแต่งก็ตาม ก่อให้เกิดปัจจัยสมมุติต่อจิตใจ และอารมณ์ของมนุษย์ อาจจะป็นไปในทางเดียวกันหรือไม่ก็ตาม

ทัศนศิลป์จึงต้องใช้ศัพท์ทางทัศนศิลป์เพื่อสื่อให้เห็น และเข้าใจยิ่งขึ้น ระหว่างผู้พูดกับผู้ฟัง

http://dek-d.com/board/view.php?id=1048341

นายพิสิฐ แซ่เลี่ยง ม.4 เลขที่19

1.ทัศนธาตุหรือองค์ประกอบทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างไร

ตอบ การรับรู้ทางจักษุประสาท โดยการมองเห็น สสาร วัตถุ และสรรพสิ่งต่าง ๆ ที่เข้ามากระทบ รวมถึงมนุษย์ และสัตว์ จะด้วยการหยุดนิ่ง หรือเคลื่อนไหวก็ตาม หรือจะด้วยการปรุงแต่ง หรือไม่ปรุงแต่งก็ตาม ก่อให้เกิดปัจจัยสมมุติต่อจิตใจ และอารมณ์ของมนุษย์ อาจจะป็นไปในทางเดียวกันหรือไม่ก็ตาม

2.การพิจารณผลงานชิ้นหนึ่งว่ามีความงามหรือไม่นั้นต้องพิจารณาจากอะไร

ตอบ การวิเคราะห์และการประเมินคุณค่าของงานศิลปะโดยทั่วไปจะพิจารณาจาก 3 ด้าน ได้แก่

1). ด้านความงาม

2). ด้านสาระ

3). ด้านอารมณ์ความรู้สึก

3.เส้นในแต่ละลักษณะให้ความรู้สึกต่อการมองเห็นแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ - เส้นนอน ให้ความรู้สึกกว้างขวาง เงียบสงบ นิ่ง ราบเรียบ ผ่อนคลายสายตา

- เส้นตั้ง ให้ความรู้สึกสูงสง่า มั่นคง แข็งแรง รุ่งเรือง

- เส้นเฉียง ให้ความรู้สึกไม่มั่นคง เคลื่อนไหว รวดเร็ว แปรปรวน

- เส้นโค้ง ให้ความรู้สึกอ่อนไหว สุภาพอ่อนโยน สบาย นุ่มนวล เย้ายวน

- เส้นโค้งก้นหอย ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว การคลี่คลาย ขยายตัว มึนงง

- เส้นซิกแซกหรือเส้นฟันปลา ให้ความรู้สึกรุนแรง กระแทกเป็นห้วง ๆ ตื่นเต้น สับสนวุ่นวาย และการขัดแย้ง

- เส้นประ ให้ความรู้สึกไม่ต่อเนื่อง ไม่มั่นคง ไม่แน่นอน

4.นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับข้อความที่ว่า สีเป็นองค์ประกอบทัศนศิลป์ที่สำคัญที่สุดในงานจิตกรรม

ตอบ เห็นด้วย เพราะสีเป็นสิ่งที่ทำให้เกินสีสันลายเส้น ทำให้เกิดมิติต่างๆ

5.หลักการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง

ตอบ 1). การจัดองค์ประกอบดี วางตำแหน่งทิศทางของเส้นต่าง ๆ ให้สมดุล มีการให้สี แสง เงาที่ดี มีจุดสนใจโดยเน้นจุดสนใจให้เด่นชัด

2). สื่อความหมายได้ชัดเจน เมื่อผู้ดูดูแล้วจะได้ทราบถึงสิ่งที่ต้องการสื่อความหมาย

3). มีความตัดกันและคมชัด ภาพที่เน้นจุดสนใจจะทำให้ภาพแลดูน่าสนใจ มากกว่าภาพที่ไม่มีการเน้นส่วนสำคัญซึ่งจะทำให้ภาพดูไม่มีมิติ

4). ใช้วัสดุให้เหมาะสม โดยใช้ทรัพยากรอย่างมีคุณค่า ในการออกแบบเพื่อที่จะได้สื่อความหมายให้ตรงกับวัตถุประสงค์ ควรมีการวางแผนหรือวางโครงร่างคร่าว ๆ ก่อน

6.การใช้ตัวอักษรและภาพประกอบในงานสิ่งพิมพ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจน ควรมีลักษณะอย่างไร

ตอบ องค์ประกอบต่าง ๆ ของการออกแบบสามารถนำมาใช้ประกอบกันเมื่อเริ่มคิดแบบและวางเลย์เอ้าท์ เป็นสิ่งที่ช่วยให้มีจุดยืนในการเริ่มต้นออกแบบ และเพิ่มความหลากหลายของงาน องค์ประกอบของการออกแบบได้แก่

การใช้เส้นในงานออกแบบสิ่งพิมพ์

• เป็นเส้นกรอบของรูปภาพหรือข้อความ

• สร้างกริด (Grid)

• จัดข้อมูลให้เป็นระเบียบ

• เน้นส่วนสำคัญ

• เชื่อมส่วนประกอบต่าง ๆ เข้าด้วยกัน

• สร้างกราฟหรือผังข้อมูล

• สร้างลวดลายด้วยเส้นสายรูปแบบต่าง ๆ

• นำสายตาผู้ดูไปยังจุดที่ต้องการ หรือสร้างความรู้สึกถึงการเคลื่อนไหว

• สร้างอารมณ์หรือโน้มนำความรู้สึก

7.เพราะเหตุใดในการบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ควรใช้คำศัพท์ทางทัศนศิลป์ประกอบลงไปด้วย

ตอบ เพื่อให้ผู้ชมได้รับความหมายที่ชัดเจนยิ่งขึ้น

อ้างอิง

http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=3170dd4952ba17f5

http://cheeranan.exteen.com/20071216/entry

http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?mul_content_id=882

http://narissaraenglish.blogspot.com/2007/09/1.html

http://www.supremeprint.net/index.php?lay=show&ac=article&Id=538976245

นาย โกศล จันทร์บุญพิทักษ์ ม.4 เลขที่ 30

1. ทัศนธาตุหรือองค์ประกอบทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างไร

ตอบ สำคัญอย่างยิ่งที่จะทำให้ภาพดูดี มีความสวยงาม น่าดูยิ่งขึ้น

2 การพิจารณผลงานชิ้นหนึ่งว่ามีความงามหรือไม่นั้นต้องพิจารณาจากอะไร

ตอบ พิจารณาจากความสมดุลความสวยงาม อารมณ์ของภาพซึ้งจะทำให้รู้ว่าผู้วาดมีความรู้สึกอย่างไร

3 เส้นในแต่ละลักษณะให้ความรู้สึกต่อการมองเห็นแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ 1. เส้นตั้ง 2. เส้นนอน 3. เส้นเฉียง 4. เส้นซิกแซก 5. เส้นโค้ง 6. เส้นคดเป็นคลื่น 7. เส้นหยักๆ แบบเปลือกหอยแครง

1. เส้นตั้ง (vertical line) เป็นเส้นที่ให้ความรู้สึก สูง สง่า มั่นคง แข็ง แข็งแรง สงบ ไม่เคลื่อนไหว

2. เส้นนอน (borizontal line) เป็นเส้นที่ให้ความรู้สึก สงบ ราบเรียบ ไม่มีที่สิ้นสุด หลับ ตาย

3. เส้นเฉียง (diagonal line) เป็นเส้นที่ให้ความรู้สึก ไม่มั่นคง จะล้ม อันตราย ห้าม ไม่ สมดุลย์ เคลื่อนไหว

4. เส้นซิกแซก (zigzag line) เป็นเส้นที่ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหว แหลมคม ทำลาย

5. เส้นโค้ง (curved line) เป็นเส้นที่ให้ความรู้สึก อ่อนช้อย อ่อนน้อม ยอม เศร้า อ่อนแอ

6. เส้นคดเป็นเคลื่อน (wavy line) เป็นเส้นที่ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหวอย่างนิ่มนวล เช่น ระลอกน้ำ

7. เส้นหยักๆ แบบเปลือกหอยแครง (scalloped line) เป็นเส้นที่ให้ความรู้สึกคล้ายเส้น ซิกแซก คือ ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหวอย่างมีจังหวะ

4 นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับข้อความที่ว่า สีเป็นองค์ประกอบทัศนศิลป์ที่สำคัญที่สุดในงานจิตกรรม

ตอบ เห็นด้วยเพราะสีเป็นสิ่งสำคัญที่ทำให้ภาพดูงามขึ้น

http://www.rbru.ac.th/courseware/human/2641602/lesson4/lesson4.2.html

5 หลักการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง

ตอบ การสร้างสรรค์ผลงานการออแบบทุกชนิด ทุกประเภท จะมีสิ่งสำคัญที่นำมาประกอบกันขึ้น สิ่งที่กล่าวถึงนั้นได้แก่ ส่วนประกอบของการออกแบบ (elements of design)

ในการออกแบบแต่ละครั้ง จะมีการนำเอาส่วนประกอบขงการออกแบบมาจัดร่วมกันลักษณะของการจัดจะแตกต่างกันไปตามความคิด ความเข้าใจ และความต้องการของผู้ออกแบบนั้นๆ ส่วนประกอบของการออแบบที่ใช้ออกแบบงานทางด้านทัศนศิลป์ มีดังต่อไปนี้

1. จุด

2. เส้น

3. ทิศทาง

4. รูปร่างและรูปทรง

5. ขนาดและส่วนสัด

6. มวลและบริเวณว่าง

7. ลักษณะผิว

8. สี

9. น้ำหนักสี

http://www.rbru.ac.th/courseware/human/2641602/lesson4/lesson4.1.html

6 การใช้ตัวอักษรและภาพประกอบในงานสิ่งพิมพ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจน ควรมีลักษณะอย่างไร

ตอบ ตัวอักษรควรตัวใหญ่พอที่จะเห็นได้ชัดๆ ไม่ควรมีสีสันสดหรือแสดเกินไป ภาพก็เอาภาพที่เกี่ยวกับงานสิ่งพิมพ์

7 เพราะเหตุใดในการบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ควรใช้คำศัพท์ทางทัศนศิลป์ประกอบลงไปด้วย

ตอบ เพราะจะทำให้ผู้ฟังมีความเข้าใจง่ายขึ้นและน่าฟัง และจะรู้ว่าผลงานนี้มีอารมณ์ศิลป์ยังไง

1.ทัศนธาตุหรือองค์ประกอบทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างไร

ตอบ ทัศนธาตุ ทัศนะ หมายถึง การเห็น สิ่งที่มองเห็น ธาตุ หมายถึง สิ่งที่ถือว่าเป็นส่วนสำคัญที่รวมกันเป็นรูปร่างของสิ่งทั้งหลาย

ทัศนธาตุ หมายถึง ส่วนสำคัญที่รวมกันเป็นรูปร่างของสิ่งทั้งหลายตามที่ตามองเห็น อันได้แก่

1. จุด (Dot)

2. เส้น (Line)

3. สี (Color)

4. รูปร่างและรูปทรง (Shape and Form)

5. น้ำหนัก (Value)

6. บริเวณว่าง (Space)

7. ลักษณะผิว (Texture)

จุด (Dot)

จุด หมายถึง รอยหรือแต้มที่มีลักษณะกลมๆ ปรากฏที่ผิวพื้น ไม่มีขนาด ความกว้าง ความยาว ความหนา เป็นสิ่งที่เล็กที่สุด และเป็นธาตุเริ่มแรกที่ทำให้เกิดธาตุอื่น ๆ ขึ้น

2.การพิจารณผลงานชิ้นหนึ่งว่ามีความงามหรือไม่นั้นต้องพิจารณาจากอะไร

ตอบ ความบาลานซ์ในการจัดวางรูปภาพ การลงสี ความคิดเห็นของผู้ที่วาด การลงเส้น น้ำหนักของภาพ

3.เส้นในแต่ละลักษณะให้ความรู้สึกต่อการมองเห็นแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ เส้น (Line)

เส้น คือ จุดหลาย ๆ จุดต่อกันเป็นสาย เป็นแถวแนวไปในทิศทางใดทิศทางหนึ่งเป็นทางยาวหรือจุดที่เคลื่อนที่ไปในทิศทางใดทิศทางหนึ่งด้วยแรงผลักดัน หรือรอยขูดขีดเขียนของวัตถุเป็นรอยยาว เส้นแบ่งเป็นลักษณะใหญ่ ๆ 2 ลักษณะ ดังนี้

1. เส้นตรง

2. เส้นโค้ง

ซึ่งเส้นแต่ละลักษณะจะมีความหมายในตัว เช่น

เส้นตรง

1. เส้นดิ่ง คือ เส้นตรงที่ตั้งฉากกับพื้นระดับให้ความรู้สึกมั่นคง แข็งแรง สง่า รุ่งเรือง สมดุล พุ่งขึ้น

2. เส้นนอน คือ เส้นตรงที่นอนราบไปกับพื้นระดับ ให้ความรู้สึกกว้างขวาง สงบเงียบ เยือกเย็น ผ่อนคลาย

3. เส้นเฉียง คือ เส้นตรงเอนไม่ตั้งฉากกับพื้นระดับให้ความรู้สึกไม่มั่นคง เคลื่อนไหว แปรปรวน ไม่สมบูรณ์

4. เส้นฟันปลา คือ เส้นตรงหลายเส้นต่อกันสลับขึ้นลงระยะเท่ากัน ให้ความรู้สึกรุนแรง กระแทก ตื่นเต้น อันตราย ขัดแย้ง

5. เส้นประ คือ เส้นตรงที่ขาดเป็นช่วง ๆ มีระยะเท่ากัน ให้ความรู้สึกต่อเนื่องขาดระยะใจหาย ไม่แน่นอน

เส้นโค้ง

1. เส้นโค้งลง คือ เส้นที่เป็นท้องกระทะคล้ายเชือกหย่อน ให้ความรู้สึกอ่อนโยน เคลื่อนไหวไม่แข็งแรง

2. เส้นโค้งขึ้น คือ เส้นที่โค้งเป็นหลังเต่าคล้ายคันธนูให้ความรู้สึกแข็งแรง เชื่อมั่น เคลื่อนไหว

3. เส้นคด คือ เส้นโค้งขึ้นโค้งลงต่อเนื่องกันคล้ายคลื่นในทะเล ให้ความรู้สึกเลื่อนไหล ต่อเนื่อง อ่อนช้อย นุ่มนวล

4. เส้นก้นหอย คือ เส้นโค้งต่อเนื่องกันวนเข้าเล็กลงเป็นจุดคล้ายก้นหอย ให้ความรู้สึกอึดอัด เคลื่อนไหวคลี่คลาย 5. เส้นโค้งอิสระ คือ เส้นโค้งต่อเนื่องกันไปไม่มีทิศทาง คล้ายเชือกพันกัน ให้ความรู้สึกวุ่นวาย ยุ่งเหยิง ไม่เป็นระเบียบ

4.นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับข้อความที่ว่า สีเป็นองค์ประกอบทัศนศิลป์ที่สำคัญที่สุดในงานจิตรกรรม

ตอบ เห็นด้วยกึ่งหนึ่ง เพราะเส้นก็สำคัญเช่นกัน แต่สีให้ความหมายบ่งบอกได้เช่น

ความหมายของสี

สีแดง = ตื่นเต้น เร้าใจ อันตราย พลัง อำนาจ รัก

สีส้ม = ตื่นตัว ตื่นเต้น เร้าใจ สนุกสนาน

สีเหลือง = สดใส ร่าเริง ฉลาด เปรี้ยว

สีเขียวอ่อน = สดชื่น ร่าเริง เบิกบาน

สีเขียวแก่ = สะอาด ปลอดภัย สดชื่น ธรรมชาติ ชรา

สีน้ำเงิน = สุภาพ เชื่อมั่น หนักแน่น ถ่อมตัว ผู้ชาย

สีฟ้า = ราบรื่น สว่าง วัยรุ่น ทันสมัย

สีม่วง = ฟุ่มเฟือย ลึกลับ ขี้เหงา

สีชมพู = ความรัก ผู้หญิง อ่อนหวาน นุ่มนวล หอม

สีขาว = ความบริสุทธิ์ สะอาด ปลอดภัย เด็กทารก

สีดำ = ทุกข์ ลึกลับ สืบสวน หนักแน่น

สีเทา = สุภาพ ขรึม

สีน้ำตาล = อนุรักษ์ โบราณ ธรรมชาติ

5.หลักการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง ?

ตอบ 1. จุด (Dot)

2. เส้น (Line)

3. สี (Color)

4. รูปร่างและรูปทรง (Shape and Form)

5. น้ำหนัก (Value)

6. บริเวณว่าง (Space)

7. ลักษณะผิว (Texture

6.ใช้ตัวอักษรและภาพประกอบในงานสิ่งพิมพ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจน ควรมีลักษณะอย่างไร

-อบ การใช้ตัวอักษรในงานออกแบบสิ่งพิมพ์

- ใช้บอกกล่าวข้อความที่องค์ประกอบอื่นไม่สามารถสื่อออกมาได้

-ดึงดูดให้เกิดความสนใจด้วยขนาด สีสันและข้อความที่เร้าใจ-

- จัดลำดับความสำคัญและบอกเล่ารายละเอียดโดยจัดทำหัวข้อหลัก หัวข้อรอง และเนื้อหา ฯลฯ

- สามารถจัดเรียงตัวอักษรประกอบเป็นภาพ หรือรูปทรงต่าง ๆ โดยใช้แบบอักษร ขนาด และสีสัน ที่ต่าง ๆ กัน-

- สามารถจัดแบ่งเป็นกลุ่มก้อน จัดวางและใช้ช่องไฟ สีสันตลอดจนองค์ประกอบอื่นในการแบ่งแยกให้เป็นระเบียบ ง่ายต่อการสื่อสาร และดูสวยงาม

- ใช้ขยายความ หรืออธิบายภาพประกอบต่าง ๆ

7.เพราะเหตุใดในการบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ควรใช้คำศัพท์ทางทัศนศิลป์ประกอบลงไปด้วย

ตอบ เพราะทำให้การบรรยายนั้นทำให้ผู้ฟังเข้าใจได้มากยิ่งขึ้น และดูเป็นทางการ

นาย พงศกร นฤนาทมิ่ง เลขที่12 ม4

1 ทัศนธาตุหรือองค์ประกอบทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างไร

ตอบ ทำให้ภาพดูดีสวยงามสมดุลขึ้น

2 การพิจารณผลงานชิ้นหนึ่งว่ามีความงามหรือไม่นั้นต้องพิจารณาจากอะไร

ตอบ ความสมดุลสีสันความสวยงาม ของสีแสงเงาการไล่สี

3 เส้นในแต่ละลักษณะให้ความรู้สึกต่อการมองเห็นแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ เส้น (Line) หมายถึง การนำจุดหลาย ๆ จุดมาเรียงต่อกันไปในทิศทางใดทิศทางหนึ่งเป็นทางยาว หรือสิ่งที่เกิดจากการขูด ขีด เขียน ลาก

ให้เกิดเป็นริ้วรอย

เส้นนอน ให้ความรู้สึกกว้างขวาง เงียบสงบ นิ่ง ราบเรียบ ผ่อนคลายสายตา

เส้นตั้ง ให้ความรู้สึกสูงสง่า มั่นคง แข็งแรง รุ่งเรือง

เส้นเฉียง ให้ความรู้สึกไม่มั่นคง เคลื่อนไหว รวดเร็ว แปรปรวน

เส้นโค้ง ให้ความรู้สึกอ่อนไหว สุภาพอ่อนโยน สบาย นุ่มนวล เย้ายวน

เส้นโค้งก้นหอย ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว การคลี่คลาย ขยายตัว มึนงง

เส้นซิกแซกหรือเส้นฟันปลา ให้ความรู้สึกรุนแรง กระแทกเป็นห้วง ๆ ตื่นเต้น สับสนวุ่นวาย และการขัดแย้ง

เส้นประ ให้ความรู้สึกไม่ต่อเนื่อง ไม่มั่นคง ไม่แน่นอน

http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/suttipong_p/visual_art/sec02p02.html

4 นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับข้อความที่ว่า สีเป็นองค์ประกอบทัศนศิลป์ที่สำคัญที่สุดในงานจิตกรรม

ตอบ เห็นด้วยเพราะสีทำให้เกิดความรู้สึกแตกต่างมากมาย เช่น ทำให้รู้สึกสดใส ร่าเริง ตื่นเต้น หม่นหมอง หรือเศร้าซึมได้ เป็นต้น

5 หลักการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง

ตอบ ความสมดุลของสิ่งที่ออกแบบสสันความสวยงามต่างๆ และสิ่งดึงดูดใจของผู้ดู

6 การใช้ตัวอักษรและภาพประกอบในงานสิ่งพิมพ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจน ควรมีลักษณะอย่างไร

ตอบ ใช้ตัวอัษรตัวใหญ่เล็กพอประมาณสีควรเป็นสีดำภาพควรเป็นภาพที่ดูง่ายเหมาะกับงาน

7 เพราะเหตุใดในการบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ควรใช้คำศัพท์ทางทัศนศิลป์ประกอบลงไปด้วย

ตอบ เพิ่อทำให้คนฟังเข้าใจง่ายขึ้นและทำให้รู้สึกถึงอารมณ์ศิลป์ของผู้พูด

หมดเวลาการส่งงาน ละ

แต่ส่งหลังจากปิดแล้วก็ได้นะ

แต่ได้ครึ่งราคา หรือ 0

นาย เเสงคำ เเซ่ย้า เลขที่45 ม.4

1 ทัศนธาตุหรือองค์ประกอบทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างไร

ตอบ มีความสำคัญต่อการวาดภาพทำให้ภาพที่วาดนั้นดูสวยงามและมีความเหมือนจริง

2 การพิจารณผลงานชิ้นหนึ่งว่ามีความงามหรือไม่นั้นต้องพิจารณาจากอะไร

ตอบ ความคิดสร้างสรรค์ การลงสี

3 เส้นในแต่ละลักษณะให้ความรู้สึกต่อการมองเห็นต่อการมองเห็นแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ 1. เส้นตั้ง หรือ เส้นดิ่ง ให้ความรู้สึกทางความสูง สง่า มั่นคง แข็งแรง หนักแน่น เป็นสัญลักษณ์ของความซื่อตรง

2. เส้นนอน ให้ความรู้สึกทางความกว้าง สงบ ราบเรียบ นิ่ง ผ่อนคลาย

3. เส้นเฉียง หรือ เส้นทะแยงมุม ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหว รวดเร็ว ไม่มั่นคง

4. เส้นหยัก หรือ เส้นซิกแซก แบบฟันปลา ให้ความรู้สึก คลื่อนไหว อย่างเป็น จังหวะ มีระเบียบ ไม่ราบเรียบ น่ากลัว อันตราย ขัดแย้ง ความรุนแรง

5. เส้นโค้ง แบบคลื่น ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหวอย่างช้า ๆ ลื่นไหล ต่อเนื่อง สุภาพ อ่อนโยน นุ่มนวล

6. เส้นโค้งแบบก้นหอย ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว คลี่คลาย หรือเติบโตในทิศทางที่ หมุนวนออกมา ถ้ามองเข้าไปจะเห็นพลังความเคลื่อนไหวที่ไม่สิ้นสุด

7. เส้นโค้งวงแคบ ให้ความรู้สึกถึงพลังความเคลื่อนไหวที่รุนแรง การเปลี่ยนทิศ

4 นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับข้อความที่ว่า สีเป็นองค์ประกอบทัศนศิลป์ที่สำคัญที่สุดในงานจิตกรรม

ตอบ เห็นด้วย เพราะสีเป็นหลักสำคัญของรูปภาพ และถ้าหากไม่มีสีรูปภาพก็ไม่สมจริง

5 หลักการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง

ตอบ1. การจัดองค์ประกอบดี วางตำแหน่งทิศทางของเส้นต่าง ๆ ให้สมดุล มีการให้สี แสง เงาที่ดี มีจุดสนใจโดยเน้นจุดสนใจให้เด่นชัด

2. สื่อความหมายได้ชัดเจน เมื่อผู้ดูดูแล้วจะได้ทราบถึงสิ่งที่ต้องการสื่อความหมาย

3. มีความตัดกันและคมชัด ภาพที่เน้นจุดสนใจจะทำให้ภาพแลดูน่าสนใจ มากกว่าภาพที่ไม่มีการเน้นส่วนสำคัญซึ่งจะทำให้ภาพดูไม่มีมิติ

4. ใช้วัสดุให้เหมาะสม โดยใช้ทรัพยากรอย่างมีคุณค่า ในการออกแบบเพื่อที่จะได้สื่อความหมายให้ตรงกับวัตถุประสงค์ ควรมีการวางแผนหรือวางโครงร่างคร่าว ๆ ก่อน

6 การใช้ตัวอักษรและภาพประกอบในงานสิ่งพิมพ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจน ควรมีลักษณะอย่างไร

ตอบ ตัวอักษร ต้องใช้ตัวอักษร ที่มีขนาดไม่เล็กและไม่ใหญ่เกินไป

7.เพราะเหตุใดในการบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ควรใช้คำศัพท์ทางทัศนศิลป์ประกอบลงไปด้วย

ตอบ จะทำให้เกิดความชัดเจนของภาพที่บรรยายทำเกิดอารมณ์ศิลป์ต่อผู้ฟังและผู้บรรยายยิ่งขึ้น

1 ทัศนธาตุหรือองค์ประกอบทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างไร

ตอบ ทำให้ภาพดูสมจริง

2 การพิจารณผลงานชิ้นหนึ่งว่ามีความงามหรือไม่นั้นต้องพิจารณาจากอะไร

ตอบ การลงสีของภาพ และความสร้างสรรค์

3 เส้นในแต่ละลักษณะให้ความรู้สึกต่อการมองเห็นแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ เส้นโค้งวงแคบ ให้ความรู้สึกถึงพลังความเคลื่อนไหวที่รุนแรง การเปลี่ยนทิศ

4 นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับข้อความที่ว่า สีเป็นองค์ประกอบทัศนศิลป์ที่สำคัญที่สุดในงานจิตกรรม

ตอบ ไม่เห็นด้วย เพราะ องค์ประกอบที่สำคัญที่สุดคือดินสอ

5 หลักการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง

ตอบ ความสมดุลของภาพ การลงสี และแรเงา

6 การใช้ตัวอักษรและภาพประกอบในงานสิ่งพิมพ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจน ควรมีลักษณะอย่างไร

ตอบ ตัวอักษร ต้องใช้ตัวอักษร ที่มีขนาดไม่เล็กและไม่ใหญ่เกินไป

7 เพราะเหตุใดในการบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ควรใช้คำศัพท์ทางทัศนศิลป์ประกอบลงไปด้วย

ตอบ ทำให้เกิดอารมณ์ในการบรรยายผู้ฟัง และผู้บรรยาย

นาย.นฤดม ติรวงศาโรจน์

1.ทัศนธาตุหรือองค์ประกอบทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างไร

ตอบ สำคัญอย่างยิ่งที่จะทำให้ภาพดูดี มีความสวยงาม น่าดูยิ่งขึ้น

2 การพิจารณผลงานชิ้นหนึ่งว่ามีความงามหรือไม่นั้นต้องพิจารณาจากอะไร

ตอบ พิจารณาจากความสมดุลความสวยงาม อารมณ์ของภาพซึ้งจะทำให้รู้ว่าผู้วาดมีความรู้สึกอย่างไร

3 เส้นในแต่ละลักษณะให้ความรู้สึกต่อการมองเห็นแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ 1. เส้นตั้ง 2. เส้นนอน 3. เส้นเฉียง 4. เส้นซิกแซก 5. เส้นโค้ง 6. เส้นคดเป็นคลื่น 7. เส้นหยักๆ แบบเปลือกหอยแครง

1. เส้นตั้ง (vertical line) เป็นเส้นที่ให้ความรู้สึก สูง สง่า มั่นคง แข็ง แข็งแรง สงบ ไม่เคลื่อนไหว

2. เส้นนอน (borizontal line) เป็นเส้นที่ให้ความรู้สึก สงบ ราบเรียบ ไม่มีที่สิ้นสุด หลับ ตาย

3. เส้นเฉียง (diagonal line) เป็นเส้นที่ให้ความรู้สึก ไม่มั่นคง จะล้ม อันตราย ห้าม ไม่ สมดุลย์ เคลื่อนไหว

4. เส้นซิกแซก (zigzag line) เป็นเส้นที่ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหว แหลมคม ทำลาย

5. เส้นโค้ง (curved line) เป็นเส้นที่ให้ความรู้สึก อ่อนช้อย อ่อนน้อม ยอม เศร้า อ่อนแอ

6. เส้นคดเป็นเคลื่อน (wavy line) เป็นเส้นที่ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหวอย่างนิ่มนวล เช่น ระลอกน้ำ

7. เส้นหยักๆ แบบเปลือกหอยแครง (scalloped line) เป็นเส้นที่ให้ความรู้สึกคล้ายเส้น ซิกแซก คือ ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหวอย่างมีจังหวะ

4 นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับข้อความที่ว่า สีเป็นองค์ประกอบทัศนศิลป์ที่สำคัญที่สุดในงานจิตกรรม

ตอบ เห็นด้วยเพราะสีเป็นสิ่งสำคัญที่ทำให้ภาพดูงามขึ้น

http://www.rbru.ac.th/courseware/human/2641602/lesson4/lesson4.2.html

5 หลักการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง

ตอบ การสร้างสรรค์ผลงานการออแบบทุกชนิด ทุกประเภท จะมีสิ่งสำคัญที่นำมาประกอบกันขึ้น สิ่งที่กล่าวถึงนั้นได้แก่ ส่วนประกอบของการออกแบบ (elements of design)

ในการออกแบบแต่ละครั้ง จะมีการนำเอาส่วนประกอบขงการออกแบบมาจัดร่วมกันลักษณะของการจัดจะแตกต่างกันไปตามความคิด ความเข้าใจ และความต้องการของผู้ออกแบบนั้นๆ ส่วนประกอบของการออแบบที่ใช้ออกแบบงานทางด้านทัศนศิลป์ มีดังต่อไปนี้

1. จุด

2. เส้น

3. ทิศทาง

4. รูปร่างและรูปทรง

5. ขนาดและส่วนสัด

6. มวลและบริเวณว่าง

7. ลักษณะผิว

8. สี

9. น้ำหนักสี

http://www.rbru.ac.th/courseware/human/2641602/lesson4/lesson4.1.html

6 การใช้ตัวอักษรและภาพประกอบในงานสิ่งพิมพ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจน ควรมีลักษณะอย่างไร

ตอบ ตัวอักษรควรตัวใหญ่พอที่จะเห็นได้ชัดๆ ไม่ควรมีสีสันสดหรือแสดเกินไป ภาพก็เอาภาพที่เกี่ยวกับงานสิ่งพิมพ์

7 เพราะเหตุใดในการบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ควรใช้คำศัพท์ทางทัศนศิลป์ประกอบลงไปด้วย

ตอบ เพราะจะทำให้ผู้ฟังมีความเข้าใจง่ายขึ้นและน่าฟัง และจะรู้ว่าผลงานนี้มีอารมณ์ศิลป์ยังไง

น.ส ขวัญนภา เจษฏาเกามวิมล ม.4 เลขที่27

1 ทัศนธาตุหรือองค์ประกอบทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างไร

ตอบ ทัศนศิลป์ คือ กระบวนการถ่ายทอดผลงานทางศิลปะ การทำงานศิลปะอย่างมีจิตนาการความคิดสร้างสรรค์มีระบบระเบียบ

เป็นขั้นเป็นตอน การสร้างสรรค์งานอย่างมีประสิทธิภาพสวยงาม มีการปฏิบัติงานตามแผนและมีการพัฒนาผลงานให้ดีขึ้นต่อเนื่อง

ทัศนศิลป์คือการรับรู้ทางจักษุประสาท โดยการมองเห็น สสาร วัตถุ และสรรพสิ่งต่าง ๆ ที่เข้ามากระทบ รวมถึงมนุษย์ และสัตว์ จะด้วยการหยุดนิ่ง หรือเครื่อนไหวก็ตาม หรือจะด้วยการปรุงแต่ง หรือไม่ปรุงแต่งก็ตาม ก่อให้เกิดปัจจัยสมมุติต่อจิตใจ และอารมณ์

ของมนุษย์ อาจจะป็นไปในทางเดียวกันหรือไม่ก็ตาม

ทัศนศิลป์เป็นการแปลความหมายทางศิลปะ ที่แตกต่างกันไปแต่ละมุมมอง ของแต่ละบุคคล ในงานศิลปะชิ้นเดียวกัน

ซึ่งไร้ขอบเขตทางจินตนาการ ไม่มีกรอบที่แน่นอน ขึ้นกับอารมณ์ของบุคคลในขณะนั้น

ทัศนศิลป์ เป็นส่วนหนึ่งของวิจิตรศิลป์ ซึ่งเป็นศิลปะที่เน้นคุณค่าทางด้านจิตใจและอารมณ์เป็นสำคัญ

ทัศนศิลป์ มีความหมายตรงกับภาษาอังกฤษว่า Visual Art หมายถึง ศิลปะที่มองเห็น หรือศิลปะที่สามารถสัมผัส รับรู้

ชื่นชมด้วยประสาทตา สัมผัสจับต้องได้ และกินเนื้อที่ในอากาศ

ทัศนศิลป์ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ จิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปัตยกรรม ตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์จนถึงสมัยปัจจุบัน เราพบเห็นความสามารถในผลงานของมนุษย์ ทั้งด้านความคิด ฝีมือ ที่ได้พยายาม

จินตนาการ คิดค้น เพื่อสนองความต้องการในการดำรงชีวิตประจำวัน ให้ทั้งประโยชน์ใช้สอย และสิ่งสวยงามประณีต เพื่อจรรโลง

ด้านจิตใจ ความเชื่อ ความศรัทธา ไว้ประดับโลก นอกจากนี้ยังต้องการให้ผู้พบเห็นเกิดความรู้สึกรับรู้ คล้อยตามชื่นชมไปด้วย

http://www.thaigoodview.com/node/17307

2 การพิจารณผลงานชิ้นหนึ่งว่ามีความงามหรือไม่นั้นต้องพิจารณาจากอะไร

ตอบ เราไม่สามารถตัดสินได้ว่างานชิ้นไหนดีหรือไม่ดีการเสพงานศิลปะนั้นเราใช้เพียงแต่ความรู้สึกในการทำความเข้าใจงานศิลปะดังนั้นความเข้าใจในงานศิลปะของแต่ละคนนั้นก็ขึ้นอยู่กับประสบการณ์และภูมิความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับศิลปะของแต่ละคนด้วยการเสพงานศิลปะนั้นก็ต้องใช้ประสาทสัมผัสในด้านต่าง ๆที่แตกต่างกันในการเลือกเสพงาน ซึ่งงานศิลปะส่วนใหญ่จะเป็นงานการเสพทางสายตาการมองเห็นเป็นประสาทสัมผัสหนึ่งที่ทำให้มนุษย์เห็นถึงความชัดเจนในการทำความเข้าใจสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้ง่ายเพราะในความคิดของแต่ละคนจะมีกรอบควมคิดหรือกรอบภาพจิตนาการสิ่งต่าง ๆไว้ในความคิดอยู่แล้วซึ่งได้รับมาจากประสบการณ์ของแต่ละคนจึงทำให้การรับรู้ความงามในศิลปะนั้นมีระดับที่แตกต่างกันหรือแม้แต่การใช้ประสาทรับรู้ที่แตกต่างกันก็ทำให้การเข้าถึงสุนทรียต่างกันด้วยเช่นกัน

http://getzophongraktham.exteen.com/20090820/entry

3 เส้นในแต่ละลักษณะให้ความรู้สึกต่อการมองเห็นแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ

1. เส้นตั้ง หรือ เส้นดิ่ง ให้ความรู้สึกทางความสูง สง่า มั่นคง แข็งแรง หนักแน่น เป็นสัญลักษณ์ของความซื่อตรง

2. เส้นนอน ให้ความรู้สึกทางความกว้าง สงบ ราบเรียบ นิ่ง ผ่อนคลาย

3. เส้นเฉียง หรือ เส้นทะแยงมุม ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหว รวดเร็ว ไม่มั่นคง

4. เส้นหยัก หรือ เส้นซิกแซก แบบฟันปลา ให้ความรู้สึก คลื่อนไหว อย่างเป็น จังหวะ มีระเบียบ ไม่ราบเรียบ น่ากลัว อันตราย ขัดแย้ง ความรุนแรง

5. เส้นโค้ง แบบคลื่น ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหวอย่างช้า ๆ ลื่นไหล ต่อเนื่อง สุภาพ อ่อนโยน นุ่มนวล

6. เส้นโค้งแบบก้นหอย ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว คลี่คลาย หรือเติบโตในทิศทางที่ หมุนวนออกมา ถ้ามองเข้าไปจะเห็นพลังความเคลื่อนไหวที่ไม่สิ้นสุด

7. เส้นโค้งวงแคบ ให้ความรู้สึกถึงพลังความเคลื่อนไหวที่รุนแรง การเปลี่ยนทิศทาง ที่รวดเร็ว ไม่หยุดนิ่ง

8. เส้นประ ให้ความรู้สึกที่ไม่ต่อเนื่อง ขาด หาย ไม่ชัดเจน ทำให้เกิดความเครียด

http://www.mew6.com/composer/art/line.php

4.นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับข้อความที่ว่า สีเป็นองค์ประกอบทัศนศิลป์ที่สำคัญที่สุดในงานจิตกรรม

ตอบ เห็นด้วย เพราะว่าถ้าเกิดว่าไม่สีดูรูปภาพเหมือนกับไม่มีความหมายเลยในภาพที่คุณวาด ทำให้ขาดความสมจริงยิ่งขึ้น

5. หลักการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง

ตอบ 1. การจัดองค์ประกอบดี วางตำแหน่งทิศทางของเส้นต่าง ๆ ให้สมดุล มีการให้สี แสง เงาที่ดี มีจุดสนใจโดยเน้นจุดสนใจให้เด่นชัด

2. สื่อความหมายได้ชัดเจน เมื่อผู้ดูดูแล้วจะได้ทราบถึงสิ่งที่ต้องการสื่อความหมาย

3. มีความตัดกันและคมชัด ภาพที่เน้นจุดสนใจจะทำให้ภาพแลดูน่าสนใจ มากกว่าภาพที่ไม่มีการเน้นส่วนสำคัญซึ่งจะทำให้ภาพดูไม่มีมิติ

4. ใช้วัสดุให้เหมาะสม โดยใช้ทรัพยากรอย่างมีคุณค่า ในการออกแบบเพื่อที่จะได้สื่อความหมายให้ตรงกับวัตถุประสงค์ ควรมีการวางแผนหรือวางโครงร่างคร่าว ๆ ก่อน

http://narissaraenglish.blogspot.com/2007/09/1.html

6 .การใช้ตัวอักษรและภาพประกอบในงานสิ่งพิมพ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจน ควรมีลักษณะอย่างไร

ตอบ ตัวอักษร

ความแตกต่างของตัวอักษร (Type Face)

Type Face ของตัวอักษรแบบพื้นฐาน มีอยู่ 5 แบบ คือ

1.ตัวอักษรแบบตัวบาง (Light Face) มีความหมายของตัวอักษรน้อยที่สุดในจำนวน 5 แบบ

2.ตัวอักษรที่มีเส้นน้ำหนักหนา (Bold Face)

3.ตัวอักษรที่เหมาะกับงานที่มีเนื้อที่จำกัด (Condenced) เพราะมีขนาดความกว้างแคบ

4.ตัวอักษรที่มีลักษณะเตี้ย แต่มีความกว้างมาก (Extended)

5.ตัวอักษรที่มีลักษณะตัวเอียง (Italic , Obligne)

นอกจากนี้ยังมีแบบของตัวอักษรอีกหลายร้อยแบบ แต่ละแบบอยู่ในลักษณะ 5 แบบ ที่กล่าวมาแล้วข้างต้นทั้งสิ้น เช่นแบบ Universe Bold - Face แบบ Universe Light - Face เป็นต้น Type Face อีกแบบหนึ่งก็คือ ltalicเป็นแบบตัวอักษรที่มีลักษณะเอนตัวไปทางขวา

สิ่งที่ต้องคำนึงถึงในการใช้ตัวอักษร

1. ช่องไฟ (World Spacing) เนื้อที่ว่างระหว่างคำ มีความสำคัญมากต่อการอ่าน ถ้าหากช่องไฟมีเนื้อที่มากหรือน้อยเกินไปจะทำให้ข้อความนั้นไม่สวยหรืออ่านยาก แต่ในบางครั้งการออกแบบก็สามารถใช้ช่องไฟห่าง ๆ ในการออกแบบ

การจัดช่องไฟของตัวอักษรในภาษาต่าง ๆ มักมี 3 ลักษณะ คือ

1.ระยะระหว่างตัวอักษร ควรมีระยะพอเหมาะไม่เบียดหรือชิดเกินไป

2.ระยะระหว่างคำ ในภาษาไทยอาจมีใช้น้อย แต่ในภาษาอังกฤษจำเป็น อยู่ห่างกันจะเกิดช่องสีขาว

3.ระยะระหว่างบรรทัด ส่วนใหญ่เรียกว่า Leading

การจัดช่องไฟตัวอักษรนี้ เป็นข้อควรคำนึงที่นักออกแบบต้องทราบเป็นอย่างดี เพราะการจัดช่องไฟของตัวอักษรจะต้องมีความสัมพันธ์กับขนาดรูปเล่ม จำนวนหน้า การจัดแบ่งคอลัมน์และรูปแบบ

2. ความห่างระหว่างบรรทัด (Leading) ขึ้นอยู่กับของตัวหนังสือ และความยาวของข้อความ การนำตัวอักษรแต่ละตัวหรือแต่ละคำมาเรียงกันเป็นบรรทัด อาจทำให้หลายแบบ ดังนี้

-เสมอหน้า ตัวอักษรจะเรียงชิดเส้นขอบหน้า ส่วนปลายบรรทัดด้านขวาจะขาดหรือเกินก็ได้

-เสมอหลัง ตัวอักษรเรียงชิดขอบด้านหลัง ส่วนปลายบรรทัดด้านซ้ายจะขาดหรือเกินก็ได้

-วางไม่สมดุล จะเรียงบรรทัดไหนอย่างไรก็ได้ แต่เมื่อดูรวม ๆ กันแล้ว ต้องให้เกิดความสมดุล

-วางรอบภาพประกอบ เป็นการจัดตัวอักษรรวมกับภาพประกอบวางในทิศทาง ต่าง ๆ เช่น วางเอียง วางทแยง วางเป็นเส้นตรง

การใช้ตัวอักษรในงานสิ่งพิมพ์โฆษณา (Design With Type)

การเลือกใช้ตัวอักษรมีความสำคัญมากในงานโฆษณา เป็นส่วนที่เกี่ยวข้องในการออกแบบโฆษณาและเกี่ยวข้องกับทุก ๆ องค์ประกอบ สิ่งที่ควรคำนึงถึงในการโฆษณาเกี่ยวกับตัวอักษรก็คือ ขนาดของตัวอักษร ซึ่งในที่นี้กล่าวถึงตัวอักษรภาษาอังกฤษเป็นส่วนใหญ่ ในงานโฆษณานั้นตัวอักษรภาษาอังกฤษแบ่งออกเป็น 2 ตัวอักษร พวกใหญ่ ๆ คือ

1. Upper Case ได้แก่ ตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวใหญ่ เช่น A, B, C, ฯลฯ

2. Lower Case ได้แก่ ตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวเล็ก a, b, c, d ฯลฯ

นอกจากนี้ ตัวอักษรภาษาอังกฤษยังมีลักษณะแตกต่างกันอยู่อีก คือ

1. ลักษณะพวกที่มี Serif คือ ขีดส่วนบนและล่างของ Upper case ซึ่งเกิดในสมัยโรมัน เพราะการจารึกในสมัยนั้นตัวโย้ไปโย้มา จึงต้องสร้าง Serif ขึ้นมาให้อยู่ในแนวเดียวกัน

2. ส่วนที่ไม่มี Serif เรียกว่า San Serif

2.1 Agate (ใช้เฉพาะงานหนังสือพิมพ์) 14 Agate = 1

2.2 EM = ขนาดของ Type ที่ใช้ประโยชน์ในการจัดช่องไฟ = 1EM ใช้ความสูง (x-Height) เป็นหลัก

2.3 EM = 12

ขนาด 5pt ขึ้นไปจะเห็นด้วยตัวเปล่า ในการวัดถ้าเกิน 5pt-96pt จะวัดเป็นนิ้วหรือเซนติเมตร ขนาดของตัวอักษร ถ้าเล็กกว่า 15 pt เรียกว่า Text Type ถ้าใหญ่เกินกว่า 15pt เรียกว่า

Display Type

การเปรียบเทียบลักษณะในการใช้ Type Face

1. Upper Case กับ Lower Case

Lower Case จะอ่านง่ายกว่า Upper Case และ Lower Case มีส่วนที่ยื่นออกมา (Assender และ Desender) จะเป็นตัวช่วยให้อ่านง่าย แต่ Upper Case ไม่มี Assender กับ Desender ทำให้อ่านได้ยากกว่า

2. Serif กับ San Serif ตัวอักษรที่มี Serif อ่านง่ายกว่าพวกที่ไม่มี San Serif เพราะ Serif เป็นตัวช่วยเสริมเส้นต่อตัวอักษรแต่ละตัว ทำให้ตัวอักษรอยู่ในแนวเดียวกัน ทำให้สะดวกต่อการอ่าน

3. Black On White กับ White On Black ตัวหนังสือดำบนพื้นขาว ให้ความรู้สึกเป็นธรรมชาติ ส่วนตัวหนังสือขาวบนพื้นดำ จะมีแสงสะท้อนเข้าตาได้น้อยทำให้อ่านได้ยากกว่า แต่มีความน่าสนใจกว่า เด่นกว่า พอใช้ได้กับข้อความที่ไม่ยาวนัก

4. Bold Face กับ light Face ตัวอักษรหนา Bold Face อ่านยากกว่า Light Face ตัวบาง เพราะอักษรตัวหนามีความหนาอ้วนของตัวอักษรทำให้อ่านยาก ดูหนากว่า ไม่มีรายละเอียดของตัวอักษรมากเหมือน Light Face

อารมณ์ความรู้สึกที่ได้รับจากการอ่านตัวอักษรคนละแบบ

ตัวอักษรแต่ละแบบจะให้อารมณ์ความรู้สึกในการอ่านแตกต่างกันออกไป การเลือกใช้ตัวอักษรจึงมีความสำคัญมากในการออกแบบสิ่งพิมพ์ เช่น ถ้าสินค้าเป็นผู้หญิง ใช้ตัวอักษรที่ นุ่มนวลอ่อนหวาน และอาศัยการจัดของผู้หญิง มาสร้างอารมณ์ให้กับงานโฆษณาของเรา การโฆษณาจะให้ผลสามารถดึงดูดสร้างอารมณ์กับผู้อ่าน กระตุ้นผู้อ่านให้เกิดการเลือกสินค้าหรือบริการได้ การใช้ความยาวของบรรทัดยาว ต้องการช่องว่างห่างมาก

Type Face ที่มีผลต่อการอ่าน

ในการใช้ตัวอักษร ควรคำนึงถึงความสะดวกในการอ่านเป็นสำคัญ ควรอ่านง่าย ไม่ ยุ่งยากมากนัก และไม่ทำให้คนอ่านเข้าใจความหมายผิด Type Face ที่เลือกควรมีความสบายในการอ่าน

ลักษณะของตัวอักษรที่มีผลต่อความรู้สึกในการอ่าน และเลือกประเภทของ Copy ที่ใช้ให้เหมาะสม ดังนี้

1. ให้ความรู้สึกเป็นผู้ชายเข้มแข็ง ควรเลือกใช้ตัวอักษรที่มี Serif และจัด Copy แบบเสมอหน้าปล่อยหลัง

2. ต้องการพลังงาน ความแข็งแกร่ง ควรเลือกตัวอักษร San Serif, และเป็นแบบ Bold ควรจัด Copy, แบบเสมอหน้าปล่อยหลัง

3. ต้องการให้ความรู้สึกเกิดเป็นผู้หญิง ควรเลือกตัวอักษรแบบ Light Face ทั้งหลายและควรเป็นอักษร Italic (ตัวเอียง) แบบ Light Face การจัด Copy จัดได้ 2 แบบ คือ แบบเสมอหน้า ปล่อยหลัง กับแบบเสมอหลัง หน้าปล่อย

4. ความรู้สึกตื่นเต้น สนุกสนาน ควรใช้ Type Face หลาย ๆ แบบผสมกัน การจัด Copy จัดแบบเสมอกลาง (Centered)

http://error1704.exteen.com/20080525/type

7.เพราะเหตุใดในการบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ควรใช้คำศัพท์ทางทัศนศิลป์ประกอบลงไปด้วย

ตอบ เพื่อสื่อให้ผู้ชมเข้าใจถึงผลงานและจะทำให้เกิดความชัดเจนของภาพที่บรรยายทำเกิดอารมณ์ศิลป์ต่อผู้ฟังและผู้บรรยายยิ่งขึ้น

กัญญา แซ่เยี่ยง ชั้น ม.4/1 เลขที่ 34

1. เส้นในแต่ละลักษณะให้ความรู้สึกต่อการมองเห็นแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ แสง (Light)

เป็นจุดเริ่มต้นของการมองเห็น มีความสำคัญต่องานออกแบบทัศนศิลป์ เพราะถ้าปราศจากแสง ก็จะไม่เห็นภาพใด ๆ และถ้าไม่เห็นภาพ ก็ไม่มีศิลปะที่มองเห็นได้ (Visual Art) ผลของแสง จะทำให้มนุษย์ รับรู้สิ่งต่าง ๆ เช่น สี เส้น รูปร่าง รูปทรง น้ำหนัก พื้นผิว อันเป็นส่วนประกอบของการ ออกแบบทัศนศิลป (Element of Art) และที่สำคัญที่สุด ก็คือ แสงเป็นแหล่งกำเนิดของสี ที่นำไปสู่ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องมากมาย แสงและสี จะมีความสัมพันธ์กันตลอดเวลา การศึกษาเรื่องสี ต้องศึกษาเรื่องแสง ประกอบด้วย

น.ส.อรวรรณ แซ่โล้ ชั้นม.4 เลขที่ 29

1  ทัศนธาตุหรือองค์ประกอบทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างไร

ตอบ กระบวนการถ่ายทอดผลงานทางศิลปะ การทำงานศิลปะอย่างมีจิตนาการความคิดสร้างสรรค์มีระบบระเบียบ

เป็นขั้นเป็นตอน การสร้างสรรค์งานอย่างมีประสิทธิภาพสวยงาม มีการปฏิบัติงานตามแผนและมีการพัฒนาผลงานให้ดีขึ้นต่อเนื่อง

2  การพิจารณผลงานชิ้นหนึ่งว่ามีความงามหรือไม่นั้นต้องพิจารณาจากอะไร

ตอบ พิจารณาจากความสมดุลความสวยงาม อารมณ์ของภาพซึ้งจะทำให้รู้ว่าผู้วาดมีความรู้สึกอย่างไร

3 เส้นในแต่ละลักษณะให้ความรู้สึกต่อการมองเห็นแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ 1. เส้นตั้ง หรือ เส้นดิ่ง ให้ความรู้สึกทางความสูง สง่า มั่นคง แข็งแรง หนักแน่น เป็นสัญลักษณ์ของความซื่อตรง
2. เส้นนอน ให้ความรู้สึกทางความกว้าง สงบ ราบเรียบ นิ่ง ผ่อนคลาย
3. เส้นเฉียง หรือ เส้นทะแยงมุม ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหว รวดเร็ว ไม่มั่นคง
4. เส้นหยัก หรือ เส้นซิกแซก แบบฟันปลา ให้ความรู้สึก คลื่อนไหว อย่างเป็น จังหวะ มีระเบียบ ไม่ราบเรียบ น่ากลัว อันตราย ขัดแย้ง ความรุนแรง
5. เส้นโค้ง แบบคลื่น ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหวอย่างช้า ๆ ลื่นไหล ต่อเนื่อง สุภาพ อ่อนโยน นุ่มนวล
6. เส้นโค้งแบบก้นหอย ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว คลี่คลาย หรือเติบโตในทิศทางที่ หมุนวนออกมา ถ้ามองเข้าไปจะเห็นพลังความเคลื่อนไหวที่ไม่สิ้นสุด
7. เส้นโค้งวงแคบ ให้ความรู้สึกถึงพลังความเคลื่อนไหวที่รุนแรง การเปลี่ยนทิศทาง ที่รวดเร็ว ไม่หยุดนิ่ง
8. เส้นประ ให้ความรู้สึกที่ไม่ต่อเนื่อง ขาด หาย ไม่ชัดเจน ทำให้เกิดความเครียด

http://www.mew6.com/composer/art/line.php

4  นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับข้อความที่ว่า สีเป็นองค์ประกอบทัศนศิลป์ที่สำคัญที่สุดในงานจิตกรรม

ตอบ เห็นด้วย เพราะ หากงานวาดรูปไม่มีสีจะทำให้งานศิลปะนั้นไม่สวยงาม ไม่มีความสมจริง

5  หลักการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง

ตอบ การออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้
1. การจัดองค์ประกอบดี วางตำแหน่งทิศทางของเส้นต่าง ๆ ให้สมดุล มีการให้สี แสง เงาที่ดี มีจุดสนใจโดยเน้นจุดสนใจให้เด่นชัด
2. สื่อความหมายได้ชัดเจน เมื่อผู้ดูดูแล้วจะได้ทราบถึงสิ่งที่ต้องการสื่อความหมาย
3. มีความตัดกันและคมชัด ภาพที่เน้นจุดสนใจจะทำให้ภาพแลดูน่าสนใจ มากกว่าภาพที่ไม่มีการเน้นส่วนสำคัญซึ่งจะทำให้ภาพดูไม่มีมิติ
4. ใช้วัสดุให้เหมาะสม โดยใช้ทรัพยากรอย่างมีคุณค่า ในการออกแบบเพื่อที่จะได้สื่อความหมายให้ตรงกับวัตถุประสงค์ ควรมีการวางแผนหรือวางโครงร่างคร่าว ๆ ก่อน
หลักการที่ทำให้การออกแบบสามารถดึงดูด ความสนใจของผู้ดูมีหลักการดังต่อไปนี้
1. ความง่าย ( Simplify ) หมายถึง ง่ายต่อการสื่อความหมายสามารถเข้าใจได้ทัน ง่ายในการอ่าน และง่ายต่อการนำไปใช้
2. เป็นเอกภาพ ( Unity ) หมายถึง มีความกลมกลืนกัน ไม่ว่าจะเป็นรูปร่าง สี หรือช่องว่าง
3. การเน้น ( Emphasis ) หมายถึง ออกแบบให้มีแนวความคิดเดียวหรือจุดสนใจเดียว
4. ความสมดุล ( Balance ) หมายถึง น้ำหนักทางซ้ายและขวา จะเท่า ๆ กัน ซึ่งความสมดุลแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ
4.1 ความสมดุลตามแบบ ( Formal balance ) คือลักษณะทั้งสองข้างจะเท่ากัน
4.2 ความสมดุลไม่ตามแบบ,สมดุลด้วยสายตา ( Informal balance ) คือลักษณะทั้งสองข้างจะไม่เหมือนกัน แต่ความรู้สึกเหมือนสมดุลกัน เช่น ภาพใหญ่สีอ่อน จะสมดุลกับภาพเล็กสีเข้ม ในการออกแบบภาพประกอบการสอน การออกแบบแผ่นใส หรือการจัดองค์ประกอบภาพ สามารถใช้องค์ประกอบทางศิลปะเป็นแนวทางได้
http://narissaraenglish.blogspot.com/2007/09/1.html

6  การใช้ตัวอักษรและภาพประกอบในงานสิ่งพิมพ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจน ควรมีลักษณะอย่างไร

ตอบ การใช้ภาพประกอบ

ภาพประกอบของสื่อเป็นสิ่งที่ช่วยเร้าความสนใจ และทำให้สิ่งพิมพ์หน้าสนใจมากยิ่งขึ้น เพราะผู้ดูจะให้ความสนใจในเบื้องแรกต่อภาพมากกว่าข้อความที่ต้องอ่านเพราะใช้เวลาในการทำความเข้าใจน้อยกว่า ฉะนั้นหากภาพที่ใช้ประกอบในการออกแบบมีคุณภาพ สามารถสื่อคามหมายได้ดี และมีความเหมาะสมกับเนื้อหาและวัตถุประสงค์ของการใช้สื่อสิ่งพิมพ์นั้นๆแล้ว จะทำให้สิ่งพิมพ์ได้ประโยชน์ตรงตามความต้องการยิ่งขึ้น

หลักในการใช้ภาพประกอบ

1.1 การคัดเลือกภาพ เพื่อใช้ในการประกอบแบบนั้น ต้องพิจารณาถึงเนื้อหา ข่าวสาร เนื้อความที่สำคัญ และองค์อื่นที่จะช่วยให้เกิดการรับรู้ของผู้อ่านได้ดีขึ้น ไม่ควรคำนึงถึงความรู้สึกของช่างภาพมากเกินไปว่าเขาจะรู้สึกอย่างไรที่ไม่ใช้ภาพที่เขาถ่ายมา เพราะการฝืนเลือกใช้ภาพที่ไม่มีความเหมาะสมจะทำให้สิ่งพิมพ์นั้นลดคุณค่าลงไป

1.2 ภาพที่คมชัด สวยงาม ไม่จำเป็นต้องเป็นภาพที่เหมาะสมกับการออกแบบเสมอไปหากไม่เข้ากับเนื้อเรื่อง ภาพที่ตรงกับเรื่องและสามารถอธิบายหรือเสริมเนื้อเรื่องได้จะเป็นภาพที่เหมาะสมในการนำมาใช้มากที่สุด แต่อย่างไรก็ตามในกรณีที่ได้ภาพที่คมชัดสวยงามมาแล้วและยังไม่มีโอกาสที่จะใช้ก็ควรเก็บรักษาไว้และจัดระบบการจัดเก็บให้ดี เพื่อสามารถนำมาใช้ได้ในโอกาสต่อไป

1.3 ภาพคุณภาพต่ำ บางครั้งอาจมีความจำเป็นที่จะต้องใช้ภาพที่มีคุณภาพต่ำอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ก็อาจใชเทคนิคการออกแบบมาช่วยโดยการจัดให้ภาพนั้นอยู่ทางด้านล่างของหน้าและไม่พยายามเน้นหรือทำให้เป็นจุดสนมากเกินไป และใช้ตัวอักษรพาดหัวที่มีขนาดใหญ่เพื่อหันเหความสนใจออกไป หรือใช้สกรีนแบบต่างๆที่แปลกออกไปมาใช้ในการทำภาพให้ดูแปลกตามากขึ้น

1.4 การบังภาพ (cropping) ในบางกรณีภาพถ่ายที่ได้มาเป็นภาพที่ถ่ายในระยะไกลเกินไป ทำให้ครอบคลุมส่วนอื่นๆที่ไม่ต้องการติดตามมาด้วย ฉะนั้นจึงจำเป็นต้องปิดหรือบังส่วนที่ไม่ต้องการออกไป แล้วนำภาพนั้นมาขยายเฉพาะส่วนที่ต้องการเท่านั้น ซึ่งเป็นความจำเป็นที่จำต้องทำเช่นนี้เพราะส่วนอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องนั้น บางครั้งกลายเป็นสิ่งที่ลดความสนใจของผู้อ่านลงไปเพราะเมื่อดูภาพนั้นแล้วหาจุดที่เป้นจุดเด่นของภาพไม่ได้ ถึงแม้ว่าการบังภาพจะทำให้ขนาดของภาพเล็กลงแต่จะได้รายละเอียดของภาพมากขึ้น

1.5 การคัดเลือกภาพ การคัดเลือกภาพเพื่อใช้ประกอบการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์นั้นจะต้องคิดอยู่เสมอว่างานที่เรากำลังทำอยู่นั้น คือ การเลือกภาพใช้ภาพเพื่อธุรกิจของการพิมพ์มิใช่การพิจารณาว่าภาพนั้นมีศิลปะหรือมีความสวยงามในแง่ของภาพนั้นมากน้อยเพียงไร นั่นคือ ภาพนั้นจะต้องให้ผลดีต่อเนื้อเรื่องที่จะพิมพ์เป็นสำคัญ ถึงแม้บางครั้งภาพที่ได้จะมิใช่ภาพที่ดีในแง่ของศิลปะการถ่ายภาพก็ตามในกรณีที่มีภาพที่มีคุณภาพดีให้เลือกหลายภาพ เกณฑ์การตัดสินใจก็คือ เลือกภาพที่มีความหมายตรงกับเนื้อความ และเสริมเนื้อหามากที่สุด

1.6 การทำให้ภาพน่าสนใจขึ้นโดยการจัดเรียงภาพ การใช้ภาพเดี่ยวในบางกรณีอาจดูไม่น่าสนใจ หากใช้ภาพที่มีความสัมพันธ์ต่อเนื่องมาจัดเรียงลำดับกันขึ้นจะทำให้ภาพนั้นดูสะดุดตา และน่าสนใจ ซึ่งอาจจัดเรียงในลักษณะใดก็ได้ เช่น เรียงตามลำดับไปอย่างปกติ เรียงซ้อนเหลื่อมกัน เรียงในแนวทแยง เป็นต้น

1.7 การจัดภาพขนาดเล็กให้รวมกันเป็นกลุ่มการใช้ ภาพขนาดเล็กสอดแทรกอยู่ในเนื้อความทั่วไป อาจไม่เป็นที่น่าสนใจเท่าที่ควร จึงอาจพิจารณาจัดให้ภาพเหล่า
นั้นอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ในรูปทรงที่น่าสนใจ ซค่งจะทำให้เรียกความสนใจได้มากกว่า แต่ต้องคำนงด้วยว่า การจัดเป็นกลุ่มอาจทำได้หลายวิธีต่างๆเช่น
1)จัดวางภาพทั้งหมดไว้บนแบรคกราวด์เดียวกัน
2)จัดให้ภาพทั้งหมดอยู่ในกรอบที่ปิดทุกด้าน
3)จัดวางบนเส้นตารางห่างๆ
4)จัดเรียงภาพให้มีลักษณะรูปร่างเดียวกันซ้ำๆกันทั้งกลุ่ม
5)จับคู่ภาพที่มีความต่อเนื่องกันหรือใกล้เคียงกันเข้ากัน

1.8 การเร้าความสนใจโดยการทำภาพให้มีความต่อเนื่อง บ่อยครั้งการใช้
ภาพเพียงภาพเดียวไม่สามารถอธิบายเรื่องราวได้ทั้งหมด ไม่ว่าภาพที่ใช้จะเป็นภาพที่ดี
เพียงใดก็ตาม จึงจำเป็นต้องใช้ภาพหลายภาพมาจัดเรียงไว้ในลักษณะคล้ายกับการจัดลำดับเป็นระยะๆแต่ไม่ต่อเนื่องบนหน้าเดียวกัน เป็นการสร้างความสัมพันธ์ให้เกิดขึ้น และพัฒนาความคิดของผู้อ่านตามลำดับซึ่งในการพิจารณาใช้ภาพมาประกอบมาสร้างความคิอให้เกิดเป็นลำดับ จะต้องพิจาณาภาพให้ดีและต้องอธิบายเหตุผลของการใช้ภาพแต่ละภาพได้เสมอทำไมถึงได้ใช้ภาพนั้นๆ ต้องแน่ใจว่ามีความสอดคล้องและสร้างเสริมความเข้าใจเนื้อหาได้มากกว่า และที่สำคัญต้องไม่ใช่ภาพมากเกินไป ควรใช้ภาพให้มากที่สุดเท่าที่จะน้อยได้

http://www.weplusprint.com/sitemap/knowledge/k8-pic-trick.html

7  เพราะเหตุใดในการบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ควรใช้คำศัพท์ทางทัศนศิลป์ประกอบลงไปด้วย

ตอบ เพื่อสื่อให้ผู้ชมเข้าใจถึงผลงานและจะทำให้เกิดความชัดเจนของภาพที่บรรยายทำเกิดอารมณ์ศิลป์ต่อผู้ฟังและผู้บรรยายยิ่งขึ้น

น.ส ฐิตาพร นัตราพงษ็

1.ทัศนธาตุหรือองค์ประกอบทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างไร

ตอบ การรับรู้ทางจักษุประสาท โดยการมองเห็น สสาร วัตถุ และสรรพสิ่งต่าง ๆ ที่เข้ามากระทบ รวมถึงมนุษย์ และสัตว์ จะด้วยการหยุดนิ่ง หรือเคลื่อนไหวก็ตาม หรือจะด้วยการปรุงแต่ง หรือไม่ปรุงแต่งก็ตาม ก่อให้เกิดปัจจัยสมมุติต่อจิตใจ และอารมณ์ของมนุษย์ อาจจะป็นไปในทางเดียวกันหรือไม่ก็ตาม

2.การพิจารณผลงานชิ้นหนึ่งว่ามีความงามหรือไม่นั้นต้องพิจารณาจากอะไร

ตอบ การวิเคราะห์และการประเมินคุณค่าของงานศิลปะโดยทั่วไปจะพิจารณาจาก 3 ด้าน ได้แก่

1). ด้านความงาม

2). ด้านสาระ

3). ด้านอารมณ์ความรู้สึก

3.เส้นในแต่ละลักษณะให้ความรู้สึกต่อการมองเห็นแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ - เส้นนอน ให้ความรู้สึกกว้างขวาง เงียบสงบ นิ่ง ราบเรียบ ผ่อนคลายสายตา

- เส้นตั้ง ให้ความรู้สึกสูงสง่า มั่นคง แข็งแรง รุ่งเรือง

- เส้นเฉียง ให้ความรู้สึกไม่มั่นคง เคลื่อนไหว รวดเร็ว แปรปรวน

- เส้นโค้ง ให้ความรู้สึกอ่อนไหว สุภาพอ่อนโยน สบาย นุ่มนวล เย้ายวน

- เส้นโค้งก้นหอย ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว การคลี่คลาย ขยายตัว มึนงง

- เส้นซิกแซกหรือเส้นฟันปลา ให้ความรู้สึกรุนแรง กระแทกเป็นห้วง ๆ ตื่นเต้น สับสนวุ่นวาย และการขัดแย้ง

- เส้นประ ให้ความรู้สึกไม่ต่อเนื่อง ไม่มั่นคง ไม่แน่นอน

4.นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับข้อความที่ว่า สีเป็นองค์ประกอบทัศนศิลป์ที่สำคัญที่สุดในงานจิตกรรม

ตอบ เห็นด้วย เพราะสีเป็นสิ่งที่ทำให้เกินสีสันลายเส้น ทำให้เกิดมิติต่างๆ

5.หลักการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง

ตอบ 1). การจัดองค์ประกอบดี วางตำแหน่งทิศทางของเส้นต่าง ๆ ให้สมดุล มีการให้สี แสง เงาที่ดี มีจุดสนใจโดยเน้นจุดสนใจให้เด่นชัด

2). สื่อความหมายได้ชัดเจน เมื่อผู้ดูดูแล้วจะได้ทราบถึงสิ่งที่ต้องการสื่อความหมาย

3). มีความตัดกันและคมชัด ภาพที่เน้นจุดสนใจจะทำให้ภาพแลดูน่าสนใจ มากกว่าภาพที่ไม่มีการเน้นส่วนสำคัญซึ่งจะทำให้ภาพดูไม่มีมิติ

4). ใช้วัสดุให้เหมาะสม โดยใช้ทรัพยากรอย่างมีคุณค่า ในการออกแบบเพื่อที่จะได้สื่อความหมายให้ตรงกับวัตถุประสงค์ ควรมีการวางแผนหรือวางโครงร่างคร่าว ๆ ก่อน

6.การใช้ตัวอักษรและภาพประกอบในงานสิ่งพิมพ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจน ควรมีลักษณะอย่างไร

ตอบ องค์ประกอบต่าง ๆ ของการออกแบบสามารถนำมาใช้ประกอบกันเมื่อเริ่มคิดแบบและวางเลย์เอ้าท์ เป็นสิ่งที่ช่วยให้มีจุดยืนในการเริ่มต้นออกแบบ และเพิ่มความหลากหลายของงาน องค์ประกอบของการออกแบบได้แก่

การใช้เส้นในงานออกแบบสิ่งพิมพ์

• เป็นเส้นกรอบของรูปภาพหรือข้อความ

• สร้างกริด (Grid)

• จัดข้อมูลให้เป็นระเบียบ

• เน้นส่วนสำคัญ

• เชื่อมส่วนประกอบต่าง ๆ เข้าด้วยกัน

• สร้างกราฟหรือผังข้อมูล

• สร้างลวดลายด้วยเส้นสายรูปแบบต่าง ๆ

• นำสายตาผู้ดูไปยังจุดที่ต้องการ หรือสร้างความรู้สึกถึงการเคลื่อนไหว

• สร้างอารมณ์หรือโน้มนำความรู้สึก

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท