การจัดการองค์ความรู้ KM (5)


++วันจันทร์ที่ 24 พฤษภาคม 2553++

หลังจากที่ห่างหายไปหลายวัน  วันนี้อาจารย์สอนเรื่องทฤษฎีการสร้างความรู้ (Knowledge creation) โดยมี concept การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างระดับการบริหารดังนี้

1. กลางกับสูง  เป็นการโต้แย้งเพื่อแก้ปัญหาเชิงวัตถุประสงค์  นโยบาย  แนวทางการปฏิบัติ
2. กลางกับต่ำ  เป็นการโต้แย้งโดยใช้เหตุผล

โดยมีหลักการพัฒนาควมรู้ให้สำเร็จลุล่วง  ต้องอาศัยหลักการดังนี้
1) ต้องนำความรู้ประสบการณ์ทั้งหมดเท่าที่จำเป็นมารวมกัน
2) ให้มีความเป็นอิสระทางความคิดแก่คณะทงำานที่สร้างความรู้
3) ต้องอาศัยสถานการณ์หรือปญหาอุปสรรคในลักษณะสร้างสรรค์
4) กระตุ้นให้การสนับสนุนคณะทำงานพัฒนาความรู้ใหม่

กระบวนการ 5 ขั้นตอนในการสร้างความรู้
โดยเริ่มตั้งแต่ความรู้ที่อยู่ในบุคคลภายในองค์กรที่มีการทำงานร่วมกันระหว่างบุคคลที่มีประสบการณ์เหมือนกัน
1. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในตัวบุคคลร่วมกัน (Tacit Knowledge)
2. สร้างหลักการในการจัดการ (Creating Knowledge)
3. การทด เดี๋ยวมาต่อ

โดยอาจารย์ได้ให้แต่ละกลุ่มคิดคำขวัญ  ซึ่งกลุ่มได้ร่วมกันคิดดังนี้
1. รู้ลึกรู้ไกล ฉับไวบริการ
2. รวดเร็วทันสมัย เต็มใจบริการ
3. ถูกต้องก้าวไกล อัยการไทยอินเทรนด์
4. ถูกต้อง  ถูกใจกับอัยการไทยโมเดิร์น
5. KM อัยการ  ครอบคลุมทุกเนื้อหา
6. ทุกปัญหาปรึกษา KM
7. Less paper
8. ทุกปัญหาแก้ไขด้วย KM
9. แก้ปัญหาได้ ใช้ปฏิบัติดี ต้องมี KM

ในที่ประชุมเห็นร่วมกันว่า จะใช้คำขวัญของกลุ่มคือ  "แก้ปัญหาได้  ใช้ปฏิบัติดี  ต้องมี KM" 

concept Cross  มีดังนี้
1. Easy & Rich
2. Home Bakery
    - ง่ายต่อการเข้าถึง
    - Best practis
    - รวบรวมเป็นระบบ
    - เนื้อหาตรงกับความต้องการ
3. Human Electronics
    - LO (Leanning Organization)
    - คุ้มค่าและประหยัด
    - สะดวกในการใช้ รวดเร็วและปลอดภัย
    - ธรรมาภิบาล
    - Less paper

 โจทย์ปัญหา  คือ
1. ขาดความรู้ ความเชี่ยวชาญ
2. ขาดวินัยในการใช้งาน ทำให้เครื่องมีปัญหา
3. ขาดอุปกรณ์
4. ระบบล้มเหลว ช้า ไม่สนองต่อการทำงาน

 Tacit
1. ความรู้ด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับไอที
2. ความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
3. ความรู้ในกระบวนงานอัยการ

คำสำคัญ (Tags): #แวดวง it
หมายเลขบันทึก: 361091เขียนเมื่อ 24 พฤษภาคม 2010 17:20 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2012 14:18 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)
อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท