สรุปผลการไปประชุมวิชาการ ณ เมือง Acapulco, Mexico


สรุปผลการไปประชุมวิชาการ ณ เมือง Acapulco, Mexico , The 8th international pediatric pain MAr 7-11, 2010

สรุปผลการไปประชุมวิชาการ ณ เมือง Acapulco, Mexico 

ระหว่างวันที่  7-11 มีนาคม 2553

1. เหตุผลในการไป

               นำเสนอผลงานวิจัย แบบ โปสเตอร์ และได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ความคิดเห็นและเพิ่มพูนความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีความปวด ซึ่งเป็น Sharing Knowledge with all cultures  ครั้งที่ 8

Prevalence of Pediatric Pain in Hospitals in Northeastern (Isan) Thailand นำเสนอโดย

นางสุชีลา เกษตรเวทิน

Health Professionals’ Attitudes, Beliefs & Approach to Pediatric Pain Practice Change in Northeastern Thailand.  นำเสนอโดย นางสาวเกศนี บุณยวัฒนางกุล

2. วัตถุประสงค์ในการไป

                 2.1 เพื่อเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์เรื่องการดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีความปวด

                 2.2 เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และความคิดเห็นงานด้านการดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีความปวด

                 2.3 เพื่อเชื่อมความสัมพันธ์กับเครือข่ายระดับนานาชาติเรื่องการดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีความปวด

                 2.4 เพื่อพัฒนาตนเองและนำความรู้ประสบการณ์ที่ได้มาพัฒนาการดูแลเด็กที่มีความปวดโรงพยาบาลศรีนครินทร์

3. กิจกรรมในการไป

               3.1 ร่วม Education day   workshop วันอาทิตย์ที่ 7 มีนาคม  2553 เวลา 8.30- 17.15 น. และร่วมกิจกรรม  Welcome reception  19.00-21.00 น. ที่ Olmeca pool area ภายใน Fairmont Acapulco Princess

               3.2 ร่วมประชุม Main Conference Fairmont Acapulco Princess 7-11 มีนาคม  2553 เรื่องที่เกี่ยวข้องการจัดการความปวดในเด็ก Evidence based ใหม่ๆ  เช่น การใช้ sucrose ลดความปวดในทารก การใช้ nitrous oxide กับหัตถการที่เจ็บปวดในเด็ก เช่น เจาะหลัง เจาะไขกระดูก รวมทั้ง palliative care

4. ผลสำเร็จในการไป

               บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

5. แผนการนำมาใช้ในหน้าที่

              พัฒนารูปแบบ/ระบบการดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีความปวดในแผนกการพยาบาลกุมารเวชกรรม

ภาพบรรยากาศการประชุม

 

Dsc04185

 

Dsc03779

Dsc03791

Dsc03777

ผู้เข้าประชุมกว่า 400 คน

Dsc03856

ท่านอาจารย์สมบูรณ์ หัวหน้าทีมวิจัยจากขอนแก่น

Dsc03807

Dsc03810

Dsc03863

Professor Patric McGrath (Outstanding contributor award, ท่านพูด The past and future of pediatric pain เห็นภาพพัฒนาการการจัดการความปวดในเด็กของประเทศตะวันตกที่ดีมาก, Mar 8, 2010), Canada, พี่นิด, เกด

Dsc040441

Paula, นำเสนอ Poster งาน ป. เอกของเธอ อยู่ในทีมวิจัยความปวดในเด็ก ไทย-แคนาดา เช่นกัน (เรามาติดโปสเตอร์แต่เช้า)

Dsc040416

Dsc040531

เรา (พี่นิด สุชีลา เกษตรเวทิน และฉัน)ก็มาติดโปสเตอร์แต่เช้าค่ะ

Dsc03911

เจอ Vivian พึ่งจบ ป. เอก ได้ทุน Pich จากแคนาดา และฉันจะไปเจอวิเวียนอีก 11-19 เมย. ที่บราซิล เราจะไปประชุมและร่วมจัด Workshop ที่นั่นค่ะ เมือง RIBEIRAO PRETO

Dsc03912

Dsc04072

คุณหมอชาวบราซิลทำเรื่อง Nitrous oxide outcome ดี แต่คนทำต้องผ่านการ train ไม่มี ผลข้างเคียงกับเด็ก โปสเตอร์ติดอยู่บนเครื่อง ต้อง print A4 มาติดบอร์ด

Dsc044451

Professor G Allen Finley,  ศ. นพ. สมบูรณ์ เทียนทอง (  2 ท่านพูด Working across And within boarders) 

และอาจารย์ Allen พูดถึง ChildKind: A global initiatve to reduce pain in children 

Dsc04511

Dr Stefan Friedrichsdorf, MD พูดหลายหัวข้อ เกี่ยวกับ pain กับpalliative ในเด็ก เช่น Pediatric  pain medicine & palliative care-common approaches in the West and Middle-East?

Medical Director Pain and Palliative Care Program, Children’s Hospitals and Clinics of Minnesota กำลังพูดกับท่าน Professor Allen เรื่อง Wrkshop The pain master class ที่ Minneapolis, USA, JUNE 12-18, 2010 ดูที่นี่ค่ะ http://www.childrensmn.org/web/hospice/189529.pdfฉันมีโอกาสจะได้เข้า Workshop นี้ด้วยค่ะ (ดีใจมากที่จะได้เข้า WS นี้ เคยไป MN เมื่อปี 2003 เรื่องPalliative care ในเด็กค่ะ)

Dsc04510

Dr Stefan  เป็น Medical director Pain and Palliative Care Program, Children’s Hospitals and Clinics of Minnesota ซึ่งฉันเคยไปดูงานที่นั่น 4 เดือน 10 วัน

Dsc04509

พี่นิด,เกด, Lonnie Zaltzer,MD, G. Allen Finley (Executive committee 2008-2011)

Dsc036431

Lunchoen symposium

Dsc036401

วันแรก WS Education day, Mar 7, 2010 ฉันได้แชร์เรื่องการใช้เครื่องมือ pain ในเด็กที่ศรีนครินทร์ใช้ว่าเป็นอย่างไร

Dsc04475

Dr Leora Kuttner speaker from Canada, sharing เรื่อง Hypnosis

Dsc040301

Good morning  กับ Speakers from Canadaเก่งมากทั้ง 2 ท่าน พูดเรื่อง Evidence based กับ pain, Mar 9, 2010

Dsc041761

Dsc041841

Boris Zernikow, Germany speaker หลายหัวข้อ และยังประชาสัมพันธ์ ประชุม Palliative Apr 11-16 ที่เยอรมัน

Dsc04189

Dsc041911

Dsc041901

อีกท่านที่พูดได้สนุกติดตลกCharles Jennissen,USA,  พูด Variations in EBP pediatric pain management in Rural Emergency department (การจัดการความปวดที่ห้องฉุกเฉิน)

Dsc04637

Say good bye Mar 12, 2010 Thanks so much Canada team ค่ะ

Dsc040311

 

หมายเหตุ การจัดการความปวดในเด็กของต่างประเทศพัฒนาไกลกว่าบ้านเรามาก ขยายไปสู่ความปวดในเด็กทารก ในโรงเรียน (Chronic pain) การใช้ EBP ที่อาจนำมาใช้ในบ้านเราได้เลย เช่น sucrose, nitrous oxide มีงานวิจัยที่เป็น systematic review การจัดการความปวดในเด็กหลายๆ ประเด็น (มีชาวต่างชาติมาอ่านโปสเตอร์ที่เรามานำเสนอ ชื่นชมแต่บอกว่ามีอะไรที่จะต้องทำอีกเยอะ เหมือน UK หรือ Canada เมื่อ 29 ปีก่อน เห็นไหมคะเขามองเราว่าห่างจากเขาเกือบ 30 ปี ซึ่งความจริงก็น่าจะเป็นเช่นนั้น แต่ในเมืองไทยทุกที่ก็ตื่นตัวและสนใจเรื่องการจัดการความปวดในเด็กค่ะ)

Kesanee, updated The 8th international pediatric pain, Acapulco, Mexico, 2010..00:09 am

 

 

 

 

 

 

 

 

 

หมายเลขบันทึก: 347646เขียนเมื่อ 28 มีนาคม 2010 00:34 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 22:39 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

สวัสดีค่ะ

แวะมาเรียนรู้ด้วยนะคะ

ขอบคุณค่ะ^__^

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท