โปรแกรมสำนักงาน (ไมโครซอฟท์) ลิขสิทธิ์กับฟรีแวร์


ใครกันแน่ที่ดีกว่า!!! โปรแกรมสำนักงาน (ไมโครซอฟท์) ลิขสิทธิ์กับฟรีแวร์

โปรแกรมสำนักงาน (ไมโครซอฟท์) ลิขสิทธิ์กับฟรีแวร์

ประเด็นคำถามสำคัญข้อหนึ่งในปัจจุบันสำหรับผู้ใช้หรือครูผู้สอนให้ใช้หรือผู้เขียนโปรแกรมสำนักงาน (Office) ที่ได้ถูกผู้รู้ทั้งหลายถามอยู่เสมอมา ก็คือ ทำไมไม่ใช้โปรแกรมสำนักงานที่เป็นฟรีแวร์

นั่นไม่ใช่คำถามที่ยากหรือมีคำตอบที่แน่นอนอะไร จริง ๆ แล้วมันได้สื่อไปถึงผู้ตั้งคำถามว่าถามมาเพื่อต้องการคำตอบอะไรมากกว่า

หากวิเคราะห์กันง่าย ๆ ต้องพิจารณาประเด็นสำคัญ (ประสิทธิภาพ) มาเปรียบเทียบกัน ก็คือ

  1. โปรแกรมสำนักงาน (ไมโครซอฟท์) ที่มีลิขสิทธิ์ กับฟรีแวร์  ใครดีกว่ากัน (ไม่ต้องดูวัตถุประสงค์ของการใช้)
  2. ถ้าดูวัตถุประสงค์ของการใช้ โปรแกรม โปรแกรมใครสนับสนุนวัตถุประสงค์นั้น ๆ
  3. ประโยชน์หรือความคุ้มค่าที่ได้รับกับต้นทุนค่าลิขสิทธิ์ที่เสียไป

และถ้าวิเคราะห์รายละเอียดกันต่อไป ก็มีประเด็นในการพิจารณา (ตลาด) ก็คือ

  1. จำนวนผู้ใช้โปรแกรมสำนักงาน (ไมโครซอฟท์) ที่มีลิขสิทธิ์ กับฟรีแวร์  ใครมากกว่ากัน
  2. จำนวนผู้ใช้โปรแกรมสำนักงาน (ไมโครซอฟท์) ที่ไม่มีลิขสิทธิ์ กับฟรีแวร์  ใครมากกว่ากัน (เป็นสถานการณ์จริงในหลายประเทศรวมทั้งไทยเราด้วย)
  3. ความต้องการให้ผู้ใช้ ๆ งานโปรแกรมสำนักงานเป็นและประยุกต์ใช้ในงาน เพื่อประโยชน์ในการบริหารองค์กรกับต้นทุนค่าลิขสิทธิ์ที่เสียไป
  4. ความพอใจยินดีหรือสนับสนุนในการใช้โปรแกรมสำนักงาน (ไมโครซอฟท์) ที่มีลิขสิทธิ์

นอกจากนี้ ยังต้องพิจารณาถึงนโยบายของรัฐบาล และนโยบายของเจ้าของโปรแกรมฟรีแวร์ ก็คือ

  1. นโยบายการสนับสนุนในโปรแกรมฟรีแวร์ของรัฐบาลมีความจริงจัง หรือพัฒนาของตนเองขึ้นมาใช้ หรือไม่
  2. โปรแกรมฟรีแวร์ต่าง ๆ มีประเด็นข้อกฎหมาย ข้อบังคับปลีกย่อยที่กำหนดเงื่อนไขต่าง ๆ ที่ต้องศึกษาให้ละเอียดเป็นอย่างดี บางโปรแกรมอาจจะเป็นลิขสิทธิ์ซ่อนอยู่ เช่น ใครก็ได้สามารถเข้ามาพัฒนา แต่ผลของการพัฒนายังเป็นลิขสิทธิ์ของเจ้าของเดิมอยู่ หรือเมื่อพัฒนาจนคิดว่าสมบูรณ์แล้ว อาจจะนำไปจดทะเบียนลิขสิทธิ์ไม่เป็นฟรีแวร์ต่อไป เป็นต้น ซึ่งมีตัวอย่างให้เห็นกันอยู่ในปัจจุบัน

ดังนั้น จากเหตุผลในประเด็นต่าง ๆ เหล่านี้ คงพอที่จะช่วยหาคำตอบให้กับผู้ที่ถูกถามหรือตัวผู้ถามคำถามดังกล่าวได้เป็นอย่างดี และเพื่อสนับสนุนประเด็นต่าง ๆ ผู้เขียนจึงได้รวบรวมข้อมูลบางส่วนที่หาได้จากอินเทอร์เน็ต ดังต่อไปนี้

จำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั่วโลก จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ปัจจุบัน จำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั่วโลกโดยประมาณ 1.463 พันล้านคน (ข้อมูล ณ เดือน มิถุนายน 2551) โดยเมื่อเปรียบเทียบในทวีปต่างๆ พบว่าทวีปที่มีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตมากที่สุดคือ ทวีปเอเชีย คิดเป็นร้อยละ 39.5 รองลงมาได้แก่ ทวีปยุโรป ร้อยละ 26.3 และอเมริกาเหนือ ร้อยละ 17.0 แต่หากจัดลำดับจำนวนผู้ใช้ตามประเทศ ประเทศที่มีประชากรผู้ใช้อินเทอร์เน็ตมากที่สุดคือประเทศจีน คิดเป็นจำนวน 253 ล้านคน

INTERNET USAGE STATISTICS
The Internet Big Picture

World Internet Users and Population Stats


 

 

 

WORLD INTERNET USAGE AND POPULATION STATISTICS 

World Regions 

Population
( 2009 Est.)

Internet Users
Dec. 31, 2000

Internet Users
Latest Data

Penetration
(% Population)

Growth
2000-2009

Users %
of Table

Africa

991,002,342

4,514,400

65,903,900

6.7 %

1,359.9 %

3.9 %

Asia

3,808,070,503

114,304,000

704,213,930

18.5 %

516.1 %

42.2 %

Europe

803,850,858

105,096,093

402,380,474

50.1 %

282.9 %

24.2 %

Middle East

202,687,005

3,284,800

47,964,146

23.7 %

1,360.2 %

2.9 %

North America

340,831,831

108,096,800

251,735,500

73.9 %

132.9 %

15.1 %

Latin America/Caribbean

586,662,468

18,068,919

175,834,439

30.0 %

873.1 %

10.5 %

Oceania / Australia

34,700,201

7,620,480

20,838,019

60.1 %

173.4 %

1.2 %

WORLD TOTAL

6,767,805,208

360,985,492

1,668,870,408

24.7 %

362.3 %

100.0 %

NOTES: (1) Internet Usage and World Population Statistics are for June 30, 2009. (2) CLICK on each world region name for detailed regional usage information. (3) Demographic (Population) numbers are based on data from the US Census Bureau . (4) Internet usage information comes from data published by Nielsen Online, by the International Telecommunications Union, by GfK, local Regulators and other reliable sources. (5) For definitions, disclaimer, and navigation help, please refer to the Site Surfing Guide. (6) Information in this site may be cited, giving the due credit to www.internetworldstats.com. Copyright © 2001 - 2009, Miniwatts Marketing Group. All rights reserved worldwide.

 

 

 

 

 


 


 

 



 

 


Internet Usage in Asia

Internet Users & Population Statistics
for 35 countries and regions in Asia

 

 

INTERNET USERS AND POPULATION STATISTICS FOR ASIA

ASIA REGION

Population
( 2009 Est. )

% Pop.
of World

Internet Users,
Latest Data 

Penetration
(% Population)
 

User Growth
( 2000-2009 )
 

Users %
of World

Asia Only

3,808,070,503

56.3 %

704,213,930

18.5 %

516.1 %

42.2 %

Rest of the World

2,959,734,705

43.7 %

964,656,478

32.6 %

291,1 %

57.8 %

WORLD TOTAL

6,767,805,208

100.0 %

1,668,870,408

24.7 %

362.3 %

100.0 %

NOTES: (1) Asiatic Internet Usage and Population Statistics were updated for June 30, 2009. (2) Population numbers are based on data from the US Census Bureau. (3) The most recent usage comes mainly from data published by Nielsen Online , ITU , official country statistics and other trustworthy local sources. (4) Data on this site may be cited, giving due credit and establishing an active link back to Internet World Stats . (5) For definitions and help, see the site surfing guide. Copyright © 2009, Miniwatts Marketing Group. All rights reserved.

 

 

 

 

 

 

 


Telecommunications and Broadband in Asia - Special Reports.

 

 

ASIA INTERNET USAGE AND POPULATION

ASIA

Population
( 2009 Est.)

Internet Users,
(Year 2000)

Internet Users,
Latest Data

Penetration
(% Population)

User Growth
( 2000-2009 )

Users (%)
in Asia

Afganistan

28,395,716

1,000

500,000

1.8 %

49,900.0 %

0.1 %

Armenia

2,967,004

30,000

172,800

5.8 %

476.0 %

0.0 %

Azerbaijan

8,238,672

12,000

1,500,000

18.2 %

12,400.0 %

0.2 %

Bangladesh

156,050,883

100,000

500,000

0.3 %

400.0 %

0.1 %

Bhutan

691,141

500

40,000

5.8 %

7,900.0 %

0.0 %

Brunei Darussalem

388,190

30,000

187,900

48.4 %

526.3 %

0.0 %

Cambodia

14,494,293

6,000

70,000

0.5 %

1,066.7 %

0.0 %

China *

1,338,612,968

22,500,000

338,000,000

25.3 %

1,402.2 %

48.2 %

Georgia

4,615,807

20,000

360,000

7.8 %

1,700.0 %

0.1 %

Hong Kong *

7,055,071

2,283,000

4,878,713

69.2 %

113.7 %

0.7 %

India

1,156,897,766

5,000,000

81,000,000

7.0 %

1,520.0 %

11.6 %

Indonesia

240,271,522

2,000,000

25,000,000

10.4 %

1,150.0 %

3.6 %

Japan

127,078,679

47,080,000

94,000,000

74.0 %

99.7 %

13.4 %

Kazakhstan

15,399,437

70,000

1,900,600

12.3 %

2,615.1 %

0.3 %

Korea, North

22,665,345

--

--

--

--

0.0 %

Korea, South

48,508,972

19,040,000

37,475,800

77.3 %

96.8 %

5.3 %

Kyrgystan

5,431,747

51,600

750,000

13.8 %

1,353.5 %

0.1 %

Laos

6,834,345

6,000

100,000

1.5 %

1,566.7 %

0.0 %

Macao *

559,846

60,000

238,000

42.5 %

296.7 %

0.0 %

Malaysia

25,715,819

3,700,000

16,902,600

65.7 %

356.8 %

2.4 %

Maldives

396,334

6,000

71,700

18.1 %

1,095.0 %

0.0 %

Mongolia

3,041,142

30,000

320,000

10.5 %

966.7 %

0.0 %

Myanmar

48,137,741

1,000

40,000

0.1 %

3,900.0 %

0.0 %

Nepal

28,563,377

50,000

397,500

1.4 %

695.0 %

0.1 %

Pakistan

174,578,558

133,900

18,500,000

10.6 %

13,716.3 %

2.6 %

Philippines

97,976,603

2,000,000

24,000,000

21.1 %

932.5 %

2.9 %

Singapore

4,657,542

1,200,000

3,104,900

66.7 %

158.7 %

0.4 %

Sri Lanka

21,324,791

121,500

1,148,300

5.4 %

845.1 %

0.2 %

Taiwan

22,974,347

6,260,000

15,143,000

65.9 %

141.9 %

2.2 %

Tajikistan

7,349,145

2,000

484,200

6.6 %

24,110.0 %

0.1 %

Thailand

65,998,436

2,300,000

13,416,000

20.3 %

483.3 %

1.9 %

Timor-Leste

1,131,612

-

1,500

0.1 %

0.0 %

0.0 %

Turkmenistan

4,884,887

2,000

70,000

1.4 %

3,400.0 %

0.0 %

Uzbekistan

27,606,007

7,500

2,416,000

8.8 %

32,113.3 %

0.3 %

Vietnam

88,576,758

200,000

21,524,417

24.3 %

10,662.2 %

3.1 %

TOTAL ASIA

3,808,070,503

114,304,000

704,213,930

18.5 %

516.1 %

100.0 %

NOTES: (1) The Asian Internet Statistics were updated for June 30, 2009. (2) CLICK on each country name to see detailed data for individual countries and regions. (3) The demographic (population) numbers are based on data contained in Census Bureau. (4) The usage numbers come from various sources, mainly from data published by Nielsen Online , ITU , and other trustworthy sources. (5) Data may be cited, giving due credit and establishing an active link to Internet World Stats. (6) For definitions and help, see the site surfing guide . (*) For statistical purposes, China figures do not include SAR Hong Kong and SAR Macao which are reported separately. © Copyright 2009, www.miniwatts.com , Miniwatts Marketing Group. All rights reserved.

 

 

 

 

 

อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยเริ่มขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2530 โดยการเชื่อมต่อมินิคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) ไปยังมหาวิทยาลัยเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย แต่ในครั้งนั้นยังเป็นการ เชื่อมต่อโดยผ่านสายโทรศัพท์ ซึ่งสามารถส่งข้อมูลได้ช้าและไม่เป็นการถาวร จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2535 ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ได้ทำการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์กับมหาวิทยาลัย 6 แห่ง ได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ(NECTEC), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เข้าด้วยกันเรียกว่า "เครือข่ายไทยสาร"

การให้บริการอินเทอร์เน็ตในประเทศไทยได้เริ่มต้นขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อ เดือน มีนาคม พ.ศ. 2538 โดยความร่วมมือของรัฐวิสาหกิจ 3 แห่ง คือ การสื่อสารแห่งประเทศไทย องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย และสำนักงานส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยให้บริการในนาม บริษัท อินเทอร์เน็ต ประเทศไทย (Internet Thailand) เป็นผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิชย์รายแรกของประเทศไทย [1]

จำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย จำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงดังนี้ ปี 2534 (30คน) ปี 2535 (200 คน) ปี 2536 (8,000 คน) ปี 2537 (23,000 คน).... ในปี 2550 จากจำนวนประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปประมาณ 59.97 ล้านคน พบว่า มีผู้ใช้คอมพิวเตอร์ 16.04 ล้านคน คิดเป็น ร้อยละ 26.8 และมีผู้ใช้อินเทอร์เน็ต 9.32 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 15.5 เมื่อพิจารณาตามภาคพบว่า กรุงเทพฯ มีผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ร้อยละ 40.2 และอินเทอร์เน็ต ร้อยละ 29.9 รองลงมาคือ ภาคกลางมีผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ร้อยละ 27.5 และอินเทอร์เน็ต ร้อยละ 15.7 ภาคเหนือมีผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ร้อยละ 26.0 และอินเทอร์เน็ต ร้อยละ 15.6 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ร้อยละ 22.9 และอินเทอร์เน็ต ร้อยละ 11.9 ภาคใต้มีผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ร้อยละ 25.2 และอินเทอร์เน็ต ร้อยละ 12.7[2]

 

โอเพนออฟฟิศดอตอ็อก  จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

โอเพนออฟฟิศดอตอ็อก (อังกฤษ: OpenOffice.org หรือ OO.o) เป็นชุดซอฟต์แวร์สำนักงานเสรีทำงานบนหลายระบบปฏิบัติการ ซึ่งใช้เตรียมเอกสาร และงานทั่วไปในสำนักงาน นอกจากนี้ โอเพนออฟฟิศดอตอ็อก ก็ยังเป็นชื่อขององค์กรที่ตั้งขึ้นมา เพื่อดูแลและพัฒนาซอฟต์แวร์ตัวนี้อีกด้วย

ในภาษาพูด โดยทั่วไปนิยมเรียกซอฟต์แวร์ตัวนี้ว่า "โอเพนออฟฟิศ" แต่ในการเขียนนั้น ต้องใช้คำว่า "โอเพนออฟฟิศดอตอ็อก" (OpenOffice.org) หรือย่อว่า OO.o (หรือ OOo) และไม่ใช้ OpenOffice เนื่องจากปัญหาเกี่ยวกับเครื่องหมายการค้า

โอเพนออฟฟิศดอตอ็อกตั้งแต่รุ่น 2.0 จะจัดเก็บเอกสารตามมาตรฐาน OpenDocument ซึ่งเป็นมาตรฐานเอกสารแบบเปิด และไม่ขึ้นกับโปรแกรมใดโปรแกรมหนึ่ง

ในประเทศไทย เคยมีการนำ โอเพนออฟฟิศดอตอ็อกมาพัฒนาต่อเพื่อให้ใช้งานภาษาไทยได้ โดยสองตัวหลักที่เป็นที่รู้จักกันในวงกว้าง คือ ปลาดาวออฟฟิศ ที่สนับสนุนโดย ซัน ไมโครซิสเต็มส์ (ประเทศไทย) และ ออฟฟิศทะเล ที่พัฒนาโดยเนคเทค [ต้องการแหล่งอ้างอิง]

ประวัติ

ในปีค.ศ. 1999 ซันไมโครซิสเต็มส์ได้ซื้อซอฟต์แวร์ สตาร์ออฟฟิศ จากบริษัทซอฟต์แวร์ของเยอรมนีชื่อ สตาร์ดิวิชัน ซันได้อนุญาตให้ใช้สตาร์ออฟฟิศ เวอร์ชัน 5.2 ได้โดยไม่มีค่าใช้จ่าย ในปีค.ศ. 2000 ซันได้เผยแพร่ซอร์สโค้ดของสตาร์ออฟฟิศภายใต้สัญญาอนุญาต LGPL และ Sun Industry Standards Source License (SISSL) เพื่อจะสร้างชุมชนโอเพนซอร์ส โครงการใหม่ที่ตั้งขึ้นมีชื่อว่า OpenOffice.org เว็บไซต์ของโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกเริ่มเปิดใช้งานในเดือนตุลาคม ปี 2000 โอเพนออฟฟิศดอตอ็อก 1.0 เปิดตัวในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2002[2]

ซันประกาศยุติการใช้งาน SISSL ในปี ค.ศ. 2005 โครงการโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกจึงใช้เพียงสัญญาอนุญาตแบบ LGPL ในเวอร์ชันหลังจากนั้นมา โอเพนออฟฟิศดอตอ็อกเปิดตัวโปรแกรมเวอร์ชัน 2.0 ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2005 โดยใช้รูปแบบไฟล์ OpenDocument แทน OpenOffice.org XML

โอเพนออฟฟิศดอตอ็อก 3.0 เปิดตัวในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2008 โดยสามารถเปิดเอกสารในรูปแบบ Office Open XML ได้ และรองรับรูปแบบไฟล์ OpenDocument 1.2

ซันไมโครซิสเต็มส์ยังคงทำตลาดสตาร์ออฟฟิศเป็นซอฟต์แวร์เชิงพานิชย์ โดยใช้โอเพนออฟฟิศดอตอ็อกเป็นฐาน และเพิ่มความสามารถบางอย่างเข้าไป

[แก้] โปรแกรมในชุด

โปรแกรม 

หมายเหตุ 

ไรเตอร์ (Writer)

โปรแกรมประมวลคำคล้ายกับไมโครซอฟท์ เวิร์ด หรือเวิร์ดเพอร์เฟกต์ สามารถนำเข้าเอกสาร DOC ของเวิร์ดได้ สามารถส่งออกเป็นเอกสาร PDF โดยไม่ต้องใช้ซอฟต์แวร์เพิ่มเติม และสามารถใช้เป็นโปรแกรมแก้ไขแบบ WYSIWYG สำหรับสร้างเว็บเพจ

แคลก์ (Calc)

โปรแกรมแผ่นตารางทำการคล้ายกับไมโครซอฟท์ เอกซ์เซล หรือโลตัส 1-2-3 สามารถนำเข้าเอกสาร XLS ของเอกซ์เซลได้ Calc มีคุณลักษณะหลายอย่างที่ไม่มีในเอกซ์เซล รวมทั้งระบบที่สามารถกำหนดลำดับกราฟโดยอัตโนมัติ ขึ้นอยู่กับข้อมูลของผู้ใช้ในตาราง และ Calc ก็สามารถส่งเอกสารออกเป็น PDF ได้เช่นกัน

อิมเพรส (Impress)

โปรแกรมนำเสนอคล้ายกับไมโครซอฟท์ เพาเวอร์พอยต์ หรือแอปเปิล คีย์โน้ต สามารถส่งออกการนำเสนอเป็นไฟล์ของอะโดบี แฟลช (SWF) ซึ่งสามารถทำให้สามารถเล่นแฟลชได้บนเครื่องที่ได้ติดตั้งแฟลชเพลเยอร์ สามารถส่งออกเป็นเอกสาร PDF และสามารถนำเข้ารูปแบบไฟล์ PPT ของเพาเวอร์พอยต์ได้ Impress ขาดแม่แบบการออกแบบเบื้องต้นที่พร้อมใช้งาน อย่างไรก็ตาม แม่แบบเหล่านั้นสามารถดาวน์โหลดได้จากอินเทอร์เน็ต [3][4][5]

เบส (Base)

โปรแกรมจัดการฐานข้อมูลคล้ายกับไมโครซอฟท์ แอ็กเซส Base สามารถสร้างและจัดการแก้ไขฐานข้อมูล สร้างแบบฟอร์มและรายงานเพื่อให้สามารถใช้งานได้ง่ายจากผู้ใช้ทั่วไป Base สามารถใช้เป็นส่วนหน้าของระบบฐานข้อมูลที่แตกต่างได้หลายชนิด รวมทั้งฐานข้อมูลแอ็กเซส (JET), แหล่งข้อมูล ODBC, และ MySQL/PostgreSQL Base เริ่มเข้ามาเป็นโปรแกรมในชุดตั้งแต่รุ่น 2.0 เป็นการดัดแปลงมาจาก HSQL ในขณะที่ Base สามารถเป็นส่วนหน้าของฐานข้อมูลใด ๆ ดังที่กล่าวไว้ โปรแกรมไม่จำเป็นต้องติดตั้งอะไรเพิ่มเติม เพียงแค่ส่งผ่านคำสั่ง SQL หรือใช้งานผ่านส่วนต่อประสานกราฟิกหากต้องการ

ดรอว์ (Draw)

โปรแกรมสร้างและแก้ไขเวกเตอร์กราฟิกส์และเครื่องมือสร้างแผนภูมิ คล้ายกับไมโครซอฟท์ วิซิโอ มีคุณลักษณะเทียบได้กับรุ่นก่อนของคอเรลดรอว์ สามารถสร้างจุดเชื่อมต่อระหว่างรูปร่างและเส้นที่อยู่ใกล้เคียง เพื่อการวาดแผนภูมิให้ง่ายขึ้นเช่นโฟลวชาร์ต โปรแกรมนี้มีคุณลักษณะคล้ายซอฟต์แวร์ประเภท Desktop publishing อาทิ <a href="http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=Scribus&action=edit&redlink=1" title="Scrib

หมายเลขบันทึก: 330479เขียนเมื่อ 24 มกราคม 2010 11:02 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 มิถุนายน 2012 11:59 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท