"Positioning for the Future and the Present" is the capture 9 of "Necessary Revolution" และทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียงเปรียบเทียบกับ 8K's ของอาจารย์เรื่อง Sustainability Capital ว่ามีอะไรแตกต่างหรือเหมือนกัน


เป็นเรื่องน่าอัศจรรย์อย่างยิ่งที่ “ทฤษฎี 8K’s และ 5K’s ของอาจารย์ ศ.ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์ และ “ทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง” ของในหลวงของเรา สามารถตอบทุก ๆ เรื่องที่เป็นปัญหายาก ๆ และแก้ได้ด้วยหลักการที่เข้าใจได้ง่าย ๆ หรือที่ฝรั่งชอบพูดว่า “Simple”
34. tanapol kortana
เมื่อ ส. 18 ก.ค. 2552 @ 10:43
1418138 [ลบ] [แจ้งลบ]

เรียนอาจารย์ ศ.ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์

คำตอบข้อ 3 "Positioning for the Future and the Present" is the capture 9 of "Necessary Revolution" และทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียงเปรียบเทียบกับ 8K's ของอาจารย์เรื่อง Sustainability Capital ว่ามีอะไรแตกต่างหรือเหมือนกัน

คำตอบ By Tanapol Kortana Ph.D.3 SSRU 081-840-6444

     สืบเนื่องจาก "Necessary Revolution" Capture1 ซึ่งกล่าวถึง Change or Necessary Revolution การเปลี่ยนขนาดใหญ่ในทุก ๆ ด้านอยู่ตลอดเวลาไม่ว่าจะเรื่องต้นทุนต่าง ๆ เช่น คน วัตถุดิบ การขนส่ง การจัดการ การดูแลหลังการขาย การสื่อสารรวดเร็ว ล้วนแล้วแต่มีผลทำให้การอยู่รอดของธุรกิจยากลำบากมากยิ่งขึ้นทุกที ๆ ๆ ๆ ดังนั้นในบทนี้จะกล่าวถึงการคิดเพื่อความอยู่รอดในด้านของผู้ลงทุน สังคม สิ่งแวดล้อมแบบยั่งยืนต้องคำนึงถึงปัจจัยอะไรบ้าง

     เมื่อนำมาเปรียบเทียบกับทฤษฎี 8K'S ของอาจารย์แล้วจะตรงกับ Sustainability Capital แต่เราจะมองลึกลงไปจะเห็นได้อย่างชัดเจนว่า ถ้าต้องการความอยู่รอดขององค์กร หรือของธุรกิจขนาดใหญ่ ขนาดกลางและขนาดย่อม ก็ต้องเข้าใจและนำไปปฏิบัติให้ได้ถึงทุน(Capital)ต่าง ๆ เหล่านี้คือ

• Human Capital ทุนมนุษย์

• Digital Capital ทุนทางปัญญา

• Creativity Capital ทุนแห่งการสร้างสรรค์

• Innovation Capital ทุนทางนวัตกรรม

• Cultural Capital ทุนทางวัฒนธรรม

     สิ่งเหล่านี้คือความเหมือนแต่สิ่งที่สำคัญและแตกต่าง คืออาจารย์จีระพยายามสอนและสร้างให้มนุษย์ หรือผู้นำทั้งหลาย (Leadership) ควรตระหนักและต้องมีทุนตัวที่สำคัญคือ Ethical Capital ทุนทางจริยธรรม และเขาเหล่านั้นจะได้มี Happiness Capital ทุนแห่งความสุขอย่างแท้จริง

      นอกจากนี้แล้วความสุดยอดที่แตกต่าง ของ “ทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง” จาก “Positioning for the Future and the Present" is the capture 9 of "Necessary Revolution" คือ นอกจาก “ทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง” สอนให้คนรู้จัก เข้าใจ เข้าถึง เรียนรู้และพัฒนา แล้วยังเน้นอย่างมาก ๆ ที่จะสอนให้คนไม่ประมาท ซึ่งหนังสือ “Leading Change” by John p. Kotter ก็ได้กล่าวไว้ว่า “Declaring Victory to soon” ซึ่งมีความหมายเหมือนกัน และยังมีมากกว่านั้นอีกก็คือ “ทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง” ยังสอนให้คนรู้จักประเมินตัวเองเพื่อให้รู้จัก “ทำหรือลงทุนให้เหมาะสมกับความรู้ ความสามารถ อย่าทำอะไรเกินตัว”

      ซึ่งตรงกับอาจารย์จีระ ในหัวข้อ “Talented Capital ทุนทางความรู้ ทักษะและทัศนคติ” และยังตรงกับ ทฤษฎี “ Strategic Thinking as Balance Thinking”

     เป็นเรื่องน่าอัศจรรย์อย่างยิ่งที่ “ทฤษฎี 8K’s และ 5K’s ของอาจารย์ ศ.ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์ และ “ทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง” ของในหลวงของเรา สามารถตอบทุก ๆ เรื่องที่เป็นปัญหายาก ๆ และแก้ได้ด้วยหลักการที่เข้าใจได้ง่าย ๆ หรือที่ฝรั่งชอบพูดว่า “Simple”

     ความคิดเห็นข้างต้นนี้เป็นความคิดเห็นด้วย ความบริสุทธิ์ใจเพื่อตอบข้อสอบของลูกศิษย์อาจารย์ ศ.ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์

     By Tanapol Kortana Ph.D.3 SSRU 081-840-6444

หมายเลขบันทึก: 277665เขียนเมื่อ 18 กรกฎาคม 2009 10:49 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2012 08:02 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

ผมตอบคำถามด้วยความดีใจและภูมิใจในตัวอาจารย์จีระ หงส์ลดารมภ์ และเทอดทูลในหลวงของเราถึงความปรีชาสามารถอย่างหาที่เปรียบมิได้ครับ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท