รวมภาพอุโมงค์ลับพม่า (ตอน1)


 

...

 [ DVB ]

ภาพที่ 1:  > การก่อสร้างทางเข้าอุโมงค์มอน ปยิน ทางตะวันออกรัฐฉาน (ไทยใหญ่) > Thank [ DVB ]

โปรดสังเกตว่า คนที่หันหลังให้ถอดรองเท้านอกบ้าน ซึ่งเป็นกริยาที่ปกติชาวพม่าจะไม่ทำ ยกเว้นเข้าเขตวัด พระเจดีย์ มีการทำพิธีกรรม หรือมี "พระมหากษัตริย์" อยู่ข้างล่าง

...

มีความเป็นไปได้ว่า มีการทำพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา ความเชื่ออื่นๆ (ชาวพม่าส่วนใหญ่นับถือความเชื่อหลายอย่าง ทั้งนัทหรือเจ้าที่ ผีบ้าน โหร หมอดู และอะไรๆ อีกมากมาย) มีพระอยู่ด้านล่าง หรือมีผู้นำประเทศ-นายทหารอยู่ในอุโมงค์ตอนถ่ายภาพ

...

 [ DVB ]

ภาพที่ 2: ทางเข้าอุโมงค์โมนปยิน > Thank [ DVB ]

...

 

ภาพที่ 3: ทางเข้าอุโมงค์นาน ซาน / 24 ตุลาคม 2547 > Thank [ DVB ]

...

 

ภาพที่ 4: ทางเข้าอุโมงค์นาน ซาน / 24 ตุลาคม 2547 > Thank [ DVB ]

...

 

ภาพที่ 5: ภายในอุโมงค์ / 10 ตุลาคม 2547 > Thank [ DVB ]

...

 

ภาพที่ 6: ทางเข้าอุโมงค์ / 1 กันยายน 2548 > Thank [ DVB ]

...

 

ภาพที่ 7: ทางเข้าอุโมงค์ปิง ลอง รัฐฉาน (ไทยใหญ่) / 22 กันยายน 2546 > Thank [ DVB ]

...

 

ภาพที่ 8: ทางเข้าอูโมงค์ตองจี รัฐฉาน (ไทยใหญ่) / 8 กุมภาพันธ์ 2547 > Thank [ DVB ]

...

 

ภาพที่ 9: ด้านในอุโมงค์ตองจี รัฐฉาน (ไทยใหญ่) / 8 กุมภาพันธ์ 2547 > Thank [ DVB ]

...

 

ภาพที่ 10: ด้านในอุโมงค์ตี จิต ถ่ายตอนใกล้เสร็จ / 17 มกราคม 2547 > Thank [ DVB ]

...

 

ภาพที่ 11: ผู้เชี่ยวชาญเกาหลีเหนือให้คำแนะนำเจ้าหน้าที่พม่า / 26 มิถุนายน 2549  > Thank [ DVB ] 

...

 

ภาพที่ 12: ทหารพม่า (ชุดเขียว) และผู้เชี่ยวชาญเกาหลีเหนือ ให้คำแนะนำเทคนิคการลดคานขวาง (ด้านบนของอุโมงค์) / 29 พฤษภาคม 2549 > Thank [ DVB ] 

...

 

ภาพที่ 13: ภาพคนงานเริ่มต้นสร้างอุโมงค์กะลอว์ / 2 มิถุนายน 2546 > Thank [ DVB ] 

โปรดสังเกตเครื่องผสมปูนเป็นแบบที่ใช้ในการก่อสร้างบ้านจัดสรร ซึ่งน่าจะมีส่วนทำให้คอนกรีตที่ได้มีความแข็งแรงไม่มากเท่าเครื่องผสมปูนมาตรฐาน เช่น ของ CPAC ฯลฯ

...

 

ภาพที่ 14: ทางเข้าอุโมงค์กะลอว์ / 17 ธันวาคม 2546 > Thank [ DVB ] 

เครื่องเทปูนในภาพนี้เป็นแบบที่ผู้รับเหมาขนาดเล็กใช้เช่นกัน โปรดสังเกตว่า ถึงแม้อุโมงค์จะใหญ่แต่ผนังเป็นแบบ "อย่างบาง" หนาประมาณ 2-36 เท่าฝาผนังบ้านจัดสรรราคาปานกลางในไทย

...

โครงสร้างอุโมงค์แบบนี้เหมาะกับการใช้เป็น 'war room' หรือห้องบัญชาการทหารมาก เนื่องจากเก็บเสียง ป้องกันการดักฟังได้ดี

ขนาดด้านในอุโมงค์กว้างพอที่รถบรรทุก 6 ล้อจะเข้าออกได้ก็จริง แต่ถ้าเป็นรถติดจรวดเรียงกันเป็นแพน่าจะเข้าออกไม่สะดวก หรือเข้าออกไม่ได้

... 

ส่วนจรวดขนาดสกั๊ดแบบที่ท่านซัดดัม ฮุสเซน เจ้าพ่อแห่งอุโมงค์ ให้สัมภาษณ์ก่อนสงครามอิรักว่า มีมากมายมหาศาล และหายไปไหนหมดไม่ทราบ ซึ่งอาจจะไม่มีจริง หรือถูกดินถล่มหมดไปแล้วก็เป็นได้ นั้น "อุโมงค์พม่าแบบนี้เล็กเกินไป"

คนไทยไม่ควรมองพม่าในแง่ร้าย ขอให้มองพม่าในแง่ดี รู้เขารู้เรา ศึกษาหาความรู้กันต่อไป

...

...................................................................................................

 

ภาพข่าวนี้มาจาก DVB ซึ่งเป็นฝ่ายต่อต้านรัฐบาลพม่า อาจจะเป็นการใส่ร้ายป้ายสี หรือทำขึ้นปลอมก็ได้

ทางที่ดีคือ อย่าเพิ่งเชื่อ แต่ควรหาข้อมูล ตรวจสอบข้อเท็จจริง หาพิกัดอุโมงค์ให้ได้ ซึ่งทำได้ไม่ยากจากภาพถ่ายดาวเทียมย้อนหลัง

... 

คนไทยควรมองพม่าในด้านดี ไม่ใช่มองแต่ด้านร้าย... พม่ากับไทยพึ่งพาอาศัยกันมากกว่าชาติอื่นๆ ในอาเซียน

ถ้าพม่า-ไทยร่วมมือกัน... สองประเทศนี้จะเป็นทางผ่านการค้า (transit) และการลงทุนที่ใหญ่ที่สุดในอาเซียนได้ภายใน 5-10 ปี

...

ถึงตรงนี้... ขอให้พวกเรามีสุขภาพดีไปนานๆ ครับ > ชมวิดีโอได้ที่นี่ > [ DVB ]

... 

 > Thank DVB

ที่มา                                                                      

  • นพ.วัลลภ พรเรืองวงศ์ โรงพยาบาลห้างฉัตร ลำปาง สงวนลิขสิทธิ์. ยินดีให้นำไปเผยแพร่โดยอ้างอิงที่มาได้. ห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า >   > 30 มิถุนายน 2552.
  • ข้อมูล ทั้งหมดเป็นไปเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ ไม่ใช่วินิจฉัยหรือรักษาโรค ท่านที่มีโรคประจำตัวหรือความเสี่ยงต่อโรคสูงจำเป็นต้องปรึกษาหมอที่ดูแล ท่านก่อนนำข้อมูลไปใช้.

หมายเลขบันทึก: 272248เขียนเมื่อ 30 มิถุนายน 2009 14:42 น. ()แก้ไขเมื่อ 21 มิถุนายน 2012 18:56 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

ไม่อนุญาตให้แสดงความเห็น
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท